ชี้แจงวัยทำงาน-โรคจิต-โรคซึมเศร้า-27-พย-57

Download Report

Transcript ชี้แจงวัยทำงาน-โรคจิต-โรคซึมเศร้า-27-พย-57

การดาเนินงานสุขภาพจิ ตเครือข่าย
ในเขตสุขภาพที1่ 0 ปี งบประมาณ 2558
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิ ตและจิ ตเวช
วัตถุประสงค์ : เพือ่ ให้ประชาชนได้รบั การดูแลและเข้าถึงบริการ
สุขภาพจิ ตทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤติ
ประเด็น: งานบริการโรคจิ ตเวชทีส่ าคัญ
1.เพิม่ การเข้าถึงผูป้ ่ วยโรคจิ ตในพื้ นทีแ่ ละได้รบั การดูแล
อย่างต่อเนือ่ ง
2. เพิม่ การเข้าถึงผูป้ ่ วยโรคซึมเศร้า
เพิม่ การเข้าถึงผูป้ ่ วยโรคจิ ตในพื้ นที่
และได้รบั การดูแลอย่างต่อเนือ่ ง
• ผูป้ ่ วยโรคจิ ต หมายถึง ประชาชนที่ป่วยได้ รับการวินิจฉัยว่าเป็ นโรคจิต
หมวด F 20-29
• การเข้าถึงบริการเพิม่ ขึ้ น หมายถึง ผู้ท่ไี ด้ รับการวินิจฉัยว่าเป็ นโรคจิต ได้ รับการ
ดูแลรักษาด้ วยวิธกี ารแพทย์ จิตบาบัด เภสัชบาบัด การรักษาด้ วยไฟฟ้ า
• การได้รบั การดูแลต่อเนือ่ งเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการรักษา หมายถึง ผู้ป่วยโรค
จิตที่รักษาอาการสงบแล้ วตามฐานข้ อมูลในพื้นที่ ได้ รับการติดตามดูแล เรื่อง การ
กินยา การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้ กลับเป็ นซา้ เฝ้ าระวังและจัดการ
อาการที่บ่งว่ากาเริบซา้
แนวทางการดาเนินงาน
1. กาหนดอาเภอนาร่อง 1 อาเภอต่อ 1 จังหวัด คือ
1. มุกดาหาร : อาเภอหนองสูง
2. ศรีสะเกษ : อาเภอขุขนั ธ์
3. ยโสธร
: อาเภอมหาชนะชัย
4.อานาจเจริญ : อาเภอหัวตะพาน
5.อุบลราชธานี : อาเภอเดชอุดม
แนวทางการดาเนินงาน
2. ผู้รับผิดชอบสารสนเทศ รพ พศ./ สสจ./ รพท/รพช นาร่อง ค้ นหา
ข้ อมูลผู้มารับบริการ รพ จิตเวช และบันทึกใน Data center เพื่อเป็ น
ฐานข้ อมูลโรคจิตก่อนดาเนินโครงการนาร่อง
3.จัดประชุมชี้แจงการดาเนินโครงการในพื้นที่นาร่อง กับผู้รับผิดชอบงาน
ใน รพช/รพท สสอ รพสต.
4. สร้ างระบบบัญชียาและจัดเตรียมระบบรับส่งยาในพื้นที่นาร่อง
5.แจ้ งชื่อเพื่อจัดทาเนียบผู้รับผิดชอบ ได้ แก่ แพทย์ พยาบาลนักวิชาการ
เจ้ าพนักงานสาธารณสุข ที่ผ่านการอบรมเรื่องโรคจิต (Psy2/58)
แนวทางการดาเนินงาน
6. จัดกิจกรรมรณรงค์ การเข้าถึงโรคจิ ต เช่นรณรงค์การคัดกรอง
7. การดาเนินงาน
7.1 รพสต.คัดกรองประชาชน โดย อสม. ใช้แบบคัดกรอง ถ้าเสีย่ งหรือ
Positive ส่งต่อรพสต. เพือ่ ประเมินซ้ า
7.2 รพสต ประเมินซ้ าถ้า Positive ส่งต่อแพทย์ผูร้ บั ผิดชอบในรพร/รพช
ตรวจวินิจฉัยโรคและบาบัดรักษาตามมาตรฐานวิชาชีพ และแนวปฏิบตั ิ
หรือส่งต่อ
7.3 รพร/รพช สร้างระบบการรับยาเดิม และติดตามผูป้ ่ วยที่ขาดยาเกิน 3
เดือน
7.4 ลงบันทึกข้ อมูล 43 แฟ้ ม เพื่อประมวลผลเพิ่มการเข้ าถึงโรคจิต
เป้ าหมายทั้งเขต ร้ อยละ 45
เป้ าหมายโครงการเพิ่มขึ้น ≥ ร้ อยละ 5
7.5 การรวบรวมผลการดาเนินงาน ในแบบบันทึก
-ทะเบียนรายชื่อผู้ป่วยโรคจิต ในพื้นที่นาร่อง (Psy 3/58)
-ทะเบียนรายชื่อ และการติดตามดูแลผู้ป่วยที่ขาดยาเกิน 3 เดือน
(Psy 4/58)
7.6 เครื่องมือ สื่อที่ใช้
แบบคัดกรองโรคจิต
การคานวณผู้ป่วยโรคจิต
จังหวัด
มุกดาหาร
ศรีสะเกษ
ยโสธร
อานาจเจริญ
อุบลราชธานี
ปชก กลางปี
ความชุกคาดว่าจะ การเข้าถึง
ป่ วย
ปี 2557
2. เพิม่ การเข้าถึงผูป้ ่ วยโรคซึมเศร้า
การดาเนินงาน
1. ทบทวนข้ อมูลการเข้ าถึงโรคซึมเศร้ าจังหวัดที่ยังไม่บรรลุเป้ าหมายปี
2558 ร้ อยละ37 และเพิ่มการเข้ าถึงใน จังหวัดที่บรรลุเป้ าหมายจาก
2. สารวจบุคลากรสาธารณสุขในหน่วยงานที่ยังไม่ผ่านการพัฒนา
ศักยภาพด้ านโรคซึมเศร้ า และลงในทาเทียบให้ เป็ นปัจจุบัน
3. เข้ ารับการพัฒนาศักยภาพในผู้ท่ยี ังไม่ผ่าน
4. จัดให้ มีการคัดกรอง ผู้มารับบริการในกลุ่มเสี่ยง เช่นกลุ่มสูงอายุ ncd
สุรา สารเสพติด ด้ วย 2 Q 9Q
2. เพิม่ การเข้าถึงผูป้ ่ วยโรคซึมเศร้า
5. ส่งพบแพทย์เพื่อการวินิจฉัยโรค และให้ การบาบัดรักษาตามแนวทาง
ปฏิบัติ CNPG
6. การดูแลต่อเนื่อง และติดตามประเมินผลการรักษา หรือส่งต่อตาม
เกณฑ์
7.บันทึกข้ อมูล ในโปรแกรม