การอบรมเชิงปฏิบัติการ: การจัดกระบวนการเรียนรู้ “เพศศึกษา

Download Report

Transcript การอบรมเชิงปฏิบัติการ: การจัดกระบวนการเรียนรู้ “เพศศึกษา

การอบรมเชิงปฏิบตั ิ การ : การเตรียมความพร้อมครู
การจัดการเรียนรู้ “เพศศึกษารอบด้าน”
ระบบการเรียนรู้ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบกิจกรรม
วันที่ ๑ – ๔ เมษายน ๒๕๕๕
ณ โรงแรมเอสดีอเวนิว กทม.
ทบทวนวันวาน
๑ แลกน้า
๒ ดูหนัง ๑ วัน ชีวิตบวก และ หลักการ QQR
๓. ณัฐกับเมย์ และทางเลือกของผูห้ ญิงท้องไม่พร้อม
๔ เลือกข้าง และ เติมข้อมูลเรื่องเพศ
๕ ดูหนัง “ทางเลือก”(Up To Me)
๑. ได้เรียนรูอ้ ะไรใหม่ๆ จากกิจกรรมเมื่อวาน?
๒. จะนาไปปรับใช้อย่างไร?
แลกน้า
•
•
•
•
• เผยแพร่ความรู้ส่นู ักเรียน
HIV เป็ นเรื่องใกล้ตวั
โอกาสเสี่ยงเกิดได้กบั ทุกคน • จัดกิจกรรมเรื่องโรคเอดส์ให้
ผูต้ ิ ดเชื้อดูไม่ออกด้วยตาเปล่า เด็กด้วยกิจกรรมแลกน้า
ได้เรียนรู้ด้วยการลงมือทาเอง
หนึ่ งวันชีวิตบวก และหลักการ QQR
• รู้หลักการ QQR (โอกาส
การติดเชื้อ)
• คุณสมบัติ HIV เกาะอยู่ที่
เม็ดเลือดขาว
• รู้ว่าการติดต่อเป็ นได้ยาก
• คนอยู่ร่วมกับผูต้ ิ ดเชื้อได้
อย่างปลอดภัย
• ผูต้ ิ ดเชื้อก็เหมือนคนทัวไป
่
•
•
•
•
บอกข้อมูลที่ถกู ต้องได้
จัดกิจกรรมได้ถกู ต้อง
สะท้อนมุมมองเด็กได้
บอกต่อคนรอบข้าง ชุมชน ให้
ทราบเกี่ยวกับข้อมูลเอดส์ /
HIV เช่น ตอนประชุม
ผูป้ กครอง
ณัฐกับเมย์ และทางเลือกของผูห้ ญิงท้องไม่พร้อม
• การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ทาให้ร้วู ่าแต่ละคนมีความคิด
หลากหลาย แตกต่างกัน
• สถานการณ์แบบนี้ มีอยู่จริง
• ปรับใช้กบั สถานการณ์จริง
• ให้อภัย ให้โอกาส โดยเริ่มที่ตวั
เราก่อน
เลือกข้าง และ เติมข้อมูลเรื่องเพศ
• การให้คณ
ุ ค่า ทัศนะ เรื่องเพศ
ในสังคมไทย
• วิถีชีวิตเปลี่ยนไป ทาให้มี
พฤติกรรมใหม่ ๆ เพิ่มขึน้
• การคุมกาเนิดแบบต่าง ๆ
• ได้เห็นทัศนะที่แตกต่าง เพราะ
การเลี้ยงดูต่างกัน
ประสบการณ์ต่าง
• ปรับสอนเด็ก ๆ ให้ถกู ต้อง
เพื่อให้ปลอดภัยเพิ่มขึน้
• บูรณาการร่วมกับชัวโมง
่
กิจกรรม โดยให้ความรู้กบั ครู
ทัง้ รร.
ดูหนัง “ทางเลือก” (Up To Me)
• เห็นมุมมอง ทัศนะของวัยรุ่น
• เห็นความสับสนของวัยรุ่น
• บุคลิกภาพและบทบาทของครูมี
หลากหลาย และมีทศั นะเชิงลบต่อ
เด็ก (บางคน) ซึ่งเด็กดูออก
• ต้องเปิดโอกาสให้เด็กได้ตดั สินใจ
• พฤติกรรมวัยรุ่น มีทงั ้ ดี และไม่ดี
• ครูมกั ตัดสินใจแทนเด็ก
• นาไปใช้จดั กิจกรรมกับเด็กได้
• เป็ นตัวอย่างให้ ครู ได้ปรับ
ทัศนะ
กรอบแนวคิดในการเตรียมความพร้อมผูจ้ ดั การเรียนรู้ เพศศึกษา
เพศวิถี
Sexuality
เยาวชน
แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*:
๑. พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development)
๒. สัมพันธภาพ (Relationship)
๓. ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills)
๔. พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior)
๕. สุขภาพทางเพศ (Sexual Health)
๖. สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture)
กระบวนการเรียนรู้
แนวทางการให้การศึกษาเรือ่ ง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา” กรมวิ ชาการ กระทรวงศึกษาธิ การ, ๒๕๔๓ และ
A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force
กระบวนการเรียนรู้ผา่ นประสบการณ์ (Experiential Learning)
Do
มี/ผ่านประสบการณ์
Reflect
สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้
Apply
วางแผนประยุกต์ใช้
Analyze/Synthesis
คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์
เชือ่ มร้อยกับประสบการณ์ เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จาลอง” ในการเรียนรู้
วัน
เช้า (๐๘.๓๐-๑๒๐๐)
๑  ชี้แจงโครงการ/วัตถุประสงค์
 รู้จกั กัน & ความคาดหวัง
 ความไว้วางใจ/ข้อตกลง
บ่าย (๑๓.๐๐-๑๗.๐๐)
(๑๙.๐๐๒๐.๓๐)
 วิ เคราะห์สถานการณ์ ของวัยรุ่นในเรื่องเพศและการ
จัดการเรียนรู้เพศศึกษา (สถานี ร้เู ขารู้เรา)
 เพศวิ ถีและเพศศึกษารอบด้าน (เส้นชีวิต)
ดูหนัง
 ธรรมชาติ วยั รุ่น/เข้าใจความเป็ นวัยรุ่น (ย้อนรอยวัยรุ่น)
๒
 ประเมิ นโอกาสเสี่ยงในการรับเชื้อเอดส์ในวิ ถีชีวิตทางเพศ
(แลกน้า)
 ข้อมูลเรื่องเอดส์ + ดูหนัง “หนึ่ งวันชีวิตบวก
 ศักยภาพและการมีส่วนร่วมในการตัดสิ นใจของเยาวชน
(ณัฐกับเมย์)
 ทางเลือกกรณี ท้องไม่พร้อม + แหล่งส่งต่อ
 ทัศนคติ และวัฒนธรรมในเรื่องเพศของสังคมไทย (เลือกข้าง)
 คาถามเรื่องเพศ
๓  ประสบการณ์การปรึกษา และ
 ทักษะการถาม
คุณสมบัติผใ้ ู ห้คาปรึกษา (คนกับ  สาธิตการให้การปรึกษา
ต้นไม้)
 การตัดสินคุณค่าและผลกระทบ
 ทักษะการฟัง + การสะท้อน
(อนุมาน)
(การบ้านเตรียมฝึ กให้การปรึกษา)
๔  ฝึ กทักษะการให้การปรึกษา
 อภิ ปราย ซักถาม
 สรุปกระบวนการ
 ชี้แจงการหนุนเสริ ม/ติ ดตามโครงการ
 เดิ นทางกลับ (๑๕.๐๐ น.)
ดูหนัง
คน กับ ต้นไม้
คน กับ ต้นไม้
• หยิบฉลากคนละ ๑ ลูก
• นึ กถึงความลับตามฉลากสีที่หยิบได้
• สีแดง = ลับสุดยอด
• สีเหลือง = ลับปานกลาง
• สีเขียว = ลับน้ อย เปิดเผยได้
การจัดระดับความลับส่งผล?
คน กับ ต้นไม้
• หยิบฉลากคนละ ๑ ลูก
• นึ กถึงความลับตามฉลากสีที่หยิบได้
• หากจะให้เปิดเผยความลับนัน้ จะเลือก
เปิดเผยกับอะไรระหว่าง “คน” กับ
“ต้นไม้” เพราะอะไร?
เลือกจะบอกความลับกับคน/ต้นไม้ เพราะ...
•
•
•
•
•
หาทางออก
อยากได้คาปรึกษา
แลกเปลี่ยนมุมมอง
ระบายความรู้สึก
ได้กาลังใจ
•
•
•
•
•
ต้นไม้เถียงไม่ได้
ได้ระบาย
ความลับยังคงเป็ นความลับ
ไม่เสริมเติมแต่ง
ไม่ต้องการหาทางออก
ลักษณะคนที่จะเราจะเล่าความลับ / ปรึกษา
• เชื่อใจได้
• ไว้ใจได้
• ดูแล้วอบอุ่น
• เก็บความลับได้
• ให้คาปรึกษาได้
ความหมายของ “ความลับ”
1.
2.
3.
4.
ลอกข้อสอบเพื่อน
เคยขโมยเงินพ่อแม่
เคยใช้ยาเสพติดแบบฉี ดเข้าเส้น
เคยมีเพศสัมพันธ์กบั แฟนเพื่อน
ความหมายของความลับ
• การเปิดเผยข้อมูลไม่ได้
การจัดระดับความลับส่งผลอะไรบ้าง?
• ความรู้สึกของผูข้ อรับคาปรึกษา
• ฆ่าตัวตาย
คุณลักษณะที่ปรึกษาที่ดี
- ใจดี เข้าใจเด็ก
- มีความตั้งใจในการสอน
-รักลูกศิษย์ / เอื้ออาทรกับศิษย์ เสียสละเวลาให้ผเู้ รียน
- ไม่ดดุ ่าโดยไม่มีเหตุผล
เอาใจใส่ผเู้ รียน
-ให้ความเป็ นกันเอง
สอนวิธีคิด ค.ว.ย.
-เปิดใจกว้าง รับฟังความคิดเห็นเด็ก รูส้ ึกปลอดภัย
-ให้คาปรึกษา
สอนเนื้ อหาชัดเจน เข้าใจ
- ตรงเวลา
ง่าย
- มีความยืดหยุ่น
ครู
ท
่
ี
อ
ยากเห็
น
?
- มีวิธีการสอนที่หลากหลาย
ปัญหาเกิดขึน้ ได้ตลอดชีวิต
การให้คาปรึกษาเกิดขึน้ ได้
ตลอดเวลา ไม่จากัดสถานที่
ผูใ้ ห้การปรึกษา
จาเป็ นต้องเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญ
ในการให้การปรึกษา
หรือ
มีวฒ
ุ ิ ทางจิตวิทยาโดยตรง?
www.teenpath.net
www.lovecarestation.com
โทร. 085-3400043
16.00 – 24.00 น.
เลือกจะบอกความลับ/ปรึกษากับคน/ต้นไม้ เพราะ...
•
•
•
•
•
หาทางออก
อยากได้คาปรึกษา
แลกเปลี่ยนมุมมอง
ระบายความรู้สึก
ได้กาลังใจ
•
•
•
•
•
ต้นไม้เถียงไม่ได้
ได้ระบาย
ความลับยังคงเป็ นความลับ
ไม่เสริมเติมแต่ง
ไม่ต้องการหาทางออก
การฟัง
การฟัง
จับคู่ (เวลา ๒ นาที)
ผูพ้ ดู (๑) – เป็ นคนเล่าเรือ่ งไม่หยุด และ
ฟั งว่าผูฟ้ ั งนับถึงเลขเท่าไหร่
ผูฟ้ ัง (๒) – นับเลขไปเรือ่ ยๆและฟังให้
ได้มากทีส่ ดุ
ข้อสังเกตจากการฟัง
•
•
•
•
•
ต้องมีสมาธิในการฟัง
ทา 2 อย่างในเวลาเดียวกันได้ผลไม่เต็มร้อย
การสบตาช่วยให้ร้วู ่าตัง้ ใจ
ถ้าตัง้ ใจฟังจะจับประเด็นได้
แม้มีอปุ สรรค ก็ยงั ฟังได้บา้ ง
“การฟัง”
• ศักยภาพการฟัง
• ประสิทธิภาพการฟัง
การฟังอย่างตัง้ ใจ
(Listen Actively)
สไตล์เราเป็ นแบบไหนในการฟัง
•
•
•
•
•
ในฐานะครู
ในฐานะพ่อแม่
ในฐานะหัวหน้ า
ในฐานะลูกน้ อง
ในฐานะเพื่อนร่วมงาน
เราเป็ นฝ่ ายฟังมากกว่าพูด หรือเราเป็ นผูพ้ ดู มากกว่าเป็ นผูฟ้ ัง
เราฟั งอย่างไร ?
• ถ้าลูกชายพูดขึ้นมาว่า ..ร้อนเป็ นบ้า ใครจะอยากเดินออกไป
ปากซอย...
จะตอบลูกชายว่า
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
เดินตอนแดดเปรีย้ งก็ไม่สนุกนักหรอก
ร้อนเดี๋ยวก็หาย
ถ้าไม่ไปตอนนี้ จะไปตอนไหน
กาลังหาข้ออ้างจะไม่ออกไปซื้อของให้พ่อใช่ใหม
ถ้าแม่เป็ นหนู แม่กจ็ ะรีบๆ ไปซะให้เสร็จ
เราฟั งอย่างไร ?
• ถ้าเพื่อนพูดว่า ..เบือ่ เหลือเกิน สอนวิชานี้ มาห้ารอบแล้ว
อยากหลับตาพูด ๆ ให้จบเร็วๆ...
จะตอบ เพือ่ นว่า...
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
ทาไมเธอสอนเยอะจัง
เลื่อนไปก่อนมัย้ แล้วค่อยนัดมาสอนซ่อม
สอนขนาดนี้ คณ
ุ คงเบือ่ น่ าดู
ไม่เป็ นไรน่ า ใคร ๆ ก็มีเรื่องน่ าเบือ่ ทัง้ นัน้
ถ้ายอมจัดตารางแบบที่บอกแต่แรก มันก็ไม่เป็ นอย่างนี้ หรอก
เราฟั งอย่างไร ?
• ถ้าแฟนพูดว่า ..ไม่ร้จู ะทาอะไรก่อน นายเพิม่ งานมาให้อีกสองช้ ิ น
งานเดิมก็ท่วมหัวอยู่แล้ว จะเอาเวลาทีไ่ หนไปทาทัน....
จะตอบแฟนว่า
๑.
ถามนายดีมยั ้ ว่าอยากได้งานชิ้นไหนก่อน
๒.
ดูคณ
ุ เครียดกับงานและเวลาที่มีน้อยนะ
๓.
ตกลงคุณจะทาอะไรก่อนดี
๔.
คุณก็ขีก้ งั วลแบบนี้ เสมอเลย
๕.
เอาเถอะ บางทีกต็ ้องมีงานยุ่ง ๆ อย่างนี้ แหละ เดี๋ยวก็ทาเสร็จ
เรา “ฟงั ” แบบไหน
•
•
•
•
•
ฟังแล้วชอบสังสอน
่
(directing)
ฟังแล้วตัดสิน (judgmental)
ฟังแล้วซักไซร้ (probing)
ฟังแบบเออออ (smoothing)
ฟังแบบรับรู้ – เข้าใจ (empathetic)
เรา “ฟัง” แบบไหน
แบบแผน
การฟัง
ฟังแล้วสังสอน
่
ความสนใจ
ความคิดตัวเอง
ขึ้นกับการมุมมองใน เนื้ อหา
เรื่องนัน้
“เชื่อเหอะ ฉันรู้เรื่องนี้ ดี
ว่า...”
ฟั งแล้วตัดสิน
ความคิดตัวเอง
ชี้ควร-ไม่ควร
ถูก-ผิด
เนื้ อหา
“แบบนี้ ผิด ต้องทาอย่าง
...”
ฟังแล้วซักไซร้
ความคิดผู้พดู
หรือตัวเอง
ซักไซร้ไล่เลียง
เนื้ อหา
ไม่อดทนฟัง มุง่ เจาะ
ประเด็นที่สนใจ
ฟังแบบเออออ
ความรู้สึกผู้พดู
ละเลยตัวปัญหา
อารมณ์
ปลอบประโลม ให้กาลังใจ
ยอมรับ ให้กาลังใจ
เนื้ อหาและ
อารมณ์
ใส่ใจฟัง สังเกตอาการ
สะท้อน จับประเด็นเรื่อง
และความรู้สึก
ฟังแบบรับรู้และ ความคิดและ
ความรู้สึกผู้พดู
เข้าใจ
การตอบสนอง
คาตอบ
มุ่งไปที่
ทัศนะและท่าที
จะตอบลูกชายว่า
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
เดินตอนแดดเปรีย้ งก็ไม่สนุกนักหรอก = รับรู้ เข้าใจ
ร้อนเดี๋ยวก็หาย = เออออ
ถ้าไม่ไปตอนนี้ จะไปตอนไหน = ซักไซร้
กาลังหาข้ออ้างจะไม่ออกไปซื้อของให้พ่อใช่ไหม = ตัดสิน
ถ้าแม่เป็ นหนู แม่กจ็ ะรีบๆ ไปซะให้เสร็จ = สังสอน
่
จะตอบเพื่อนว่า
๑. ทาไมเธอสอนเยอะจัง = ซักไซ้
๒. เลื่อนไปก่อนมัย้ แล้วค่อยนัดมาสอนซ่อม = สังสอน
่
๓. สอนขนาดนี้ คณ
ุ คงเบือ่ น่ าดู = รับรู้ เข้าใจ
๔. ไม่เป็ นไรน่ า ใคร ๆ ก็มีเรื่องน่ าเบือ่ ทัง้ นัน้ = เออออ
๕. ถ้ายอมจัดตารางแบบที่บอกแต่แรก มันก็ไม่เป็ นอย่างนี้
หรอก = ตัดสิน
จะตอบแฟนว่า
๑. ถามนายดีมยั ้ ว่าอยากได้งานชิ้นไหนก่อน = สังสอน
่
๒. ดูคณ
ุ เครียดกับงานและเวลาที่มีน้อยนะ = รับรู้ เข้าใจ
๓. ตกลงคุณจะทาอะไรก่อนดี = ซักไซร้
๔. คุณก็ขีก้ งั วลแบบนี้ เสมอเลย = ตัดสิน
๕. เอาเถอะ บางทีกต็ ้องมีงานยุ่ง ๆ อย่างนี้ แหละ เดี๋ยวก็ทา
เสร็จ = เออออ
ฝึ ก การฟัง
• การฝึ กฟังอย่างตัง้ ใจ
• การฝึ กฟังและการสะท้อน
• การฝึ กฟังและตัง้ คาถาม
การฟังอย่างตัง้ ใจ ฟังอย่างมีสติ
ผูฟ้ ัง” ต้องเตรียมตัวอย่างไร
การเตรียมตัวในการฟั งอย่างตัง้ ใจ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ท่าทีสบาย(มีระยะห่างพอเหมาะใกล้ๆ)
ไม่พดู แทรก
การจดบันทึก(สัน้ ๆ)
สมาธิ
การสบตา ท่าทีตอบสนอง
ไม่ตดั สิน
เปิดใจ
ตัง้ คาถาม
จับประเด็น
ฟังให้มากกว่าพูด
การฟังอย่างตัง้ ใจ/การฟังอย่างมีสติ
•
•
•
•
จับคู่ เราจะผลัดกันฟัง และผลัดกันเล่า
คนฟัง ฟังอย่างเดียว ห้ามถาม
คนละ ๕ นาที
หัวข้อ: ให้เล่าถึง “
“ก. ความภาคภูมิใจในงาน”
“ข. ข้อดีของงานที่ทาในปัจจุบนั ๓ ข้อ
และความท้าทาย/ปัญหา ๑ เรื่อง”
ข้อสังเกต การฟังอย่างตัง้ ใจ (โดยไม่ถาม)
•
•
•
•
คล้อยตาม มีอารมณ์ร่วม
เพลิน
อยากถาม อึดอัด
เรื่องที่ฟังคล้ายคลึงกับเรา
ทาให้อยากฟังต่อ/
แลกเปลี่ยน
• เรื่องที่ฟังเป็ นเรื่อง
เหลือเชื่อ
• สามารถเล่าได้ตอ่ เนื่อง
• เห็นเขาคล้อยตามเวลาเราเล่า
รูส้ ึกดี อยากเล่าต่อ
• มีความสุข
• ได้ระบาย ภูมิใจ
สิ่งที่ได้เรียนรู ้
• ได้รายละเอียดเพิ่มขึ้น
• การแลกเปลี่ยนได้ขอ้ มูลเพิ่มขึ้น
การฟังอย่างตัง้ ใจ และการสะท้อน
• สะท้อน
–เนื้ อหา
–ความรู้สึก
การสะท้อน
• ตรวจสอบความ
เข้าใจว่าตรงกันไหม
• เช็คความถูกต้องของ
เนื้ อหาที่คยุ
• เช็คดูว่าเขาต้องการ
สื่อสารแบบไหน
• ช่วยทบทวนตัวผูพ้ ดู
ได้แยกแยะข้อมูล
การสะท้อน
• เพื่อให้ผเู้ ล่าได้ทบทวนตัวเอง เพื่อคิดวิเคราะห์
• เช็คความเข้าใจให้ตรงกันระหว่างผูพ้ ดู และผูฟ
้ ัง
• จัดหมวดหมู่/ ประเด็น
การฟังอย่างตัง้ ใจ และการสะท้อน
• จับคู่
• หัวข้อ: ให้เล่าถึง
“สิ่งที่เป็ นความกลัว/ความกังวลใจใน
ชีวิตตอนนี้ ”
• ให้เวลา ๕ นาที
• สลับกัน
ข้อสังเกต/สิ่งที่ได้เรียนรู้ : การฟังและการสะท้อน
• สงสาร
• อยากช่วย / เห็นใจ
• เข้าใจ เข้าถึงอารมณ์เขา
เพิ่มขึน้
• มีการสื่อสารกัน เข้าใจขึน้
• กังวลเหมือนกัน
• คิดตาม
• เล่าเรื่องจริงจึงสนใจฟัง
•
•
•
•
•
•
ทาให้มั ่นใจขึ้น
คลายกังวล
ดีใจที่เขาสนใจ
อยากถ่ายทอดเพิ่มขึ้น
จาได้มากขึ้น
เนื้อหา ภาษากาย
ข้อสังเกต/สิ่งที่ได้เรียนรู้ : การฟังและการสะท้อน (เดิม)
•
•
•
•
•
มีการโต้ตอบ
เป็ นกันเอง
มีส่วนร่วมในเรื่องที่เล่า
เรื่องเร้าใจ
อยากช่วยเหลือ/เห็นใจ
• ความตัง้ ใจในการฟัง
• ประเด็นสะท้อนเกิดจาก
การฟัง/จับประเด็น
• การสะท้อนไม่ควรปน
กับทัศนะส่วนตัวของ
ผูฟ้ ัง
ลักษณะของคาถามเปิด/คาถามเพื่อสร้างการเรียนรู้
• ต้องเริ่มจากการฟั งให้จบ และตัง้ คาถามเป็ น
ระยะ (ต้น-กลาง-ปลาย)
• ตอบได้กว้าง,หลากหลายและมีทางเลือก
• เป็ นการให้ความสนใจกับผูเ้ ล่า ไม่ตดั สิน และ
ค้นหาคาตอบด้วยตัวเอง
• ไม่มีการตัดสินถูกผิด เป็ นการแสดงความ
คิดเห็น
ลักษณะของคาถามที่ดี
•
•
•
•
•
ชัดเจน ตรงประเด็น
มีคาถามเดียว ไม่เป็ นคาถามซ้อนคาถาม
ไม่กากวม
ไม่เป็ นคาถามปลายปิด
เปิดกว้างให้คนฟั งมีทางเลือกตอบ
เปรียบเทียบคาถาม
• ทาไม อ. เจษ ไม่อ่านบทความ
• อะไรทาให้ อ. เจษ ไม่ได้อ่านบทความเมื่อคืนนี้
คาถาม “เปิด”
คาถาม (ที่ถกู ทาให้ร้สู ึกถูก) “ตัดสิน”
คาถามเปิด
• ไม่มีชดุ คาตอบที่ถกู ต้อง
• มีจดุ ประสงค์ในการถาม แต่ไม่ได้มีธงคาตอบในใจ
• สร้างโอกาสให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วม สะท้อนความรูส้ ึก ร่วม
แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนประสบการณ์ชีวิต
• เปิดโอกาสการสนทนา”
• เป็ นคาถามที่กระตุ้นให้เราคิด และหาคาตอบ
• ทาให้ได้ยินมุมมอง ความเห็นหลากหลายสร้างสรรค์
• นาไปสู่การเรียนรู้
คาถามจากกลุ่ม
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
นศ.หน้ าตาดีไหม
แฟนของเด็กมี 2 คนใช่ไหม
อาจารย์ดแู ลเป็ นกรณี พิเศษใช่ไหม
ผลการเรียน พฤติกรรมเด็กไปทิศทางเดียวกันไหม
นศ.มีแผลเป็ นเยอะไหม (ร่องรอยทาร้ายตนเอง)
ถ้าหน้ าตาไม่สวยจะดูแลเป็ นพิเศษไหม
ชอบเด็กคนนี้ หรือไม่
ตอนที่ร้วู ่าเริ่มมีปัญหา (อยู่แบบสามีภรรยา) แจ้งผูป้ กครองไหม
ใครให้เบอร์โทรศัพท์ใครก่อน
หลังจากแจ้งผูป้ กครอง เขาว่าไงบ้าง
คาถามจากกลุ่ม (ต่อ)
•
•
•
•
•
•
ที่ดแู ลเป็ นพิเศษ ได้บอก อ. ท่านอื่นไหม
อะไรทาให้คิดว่า เด็กจะหลอกล่อไป
หลังจากทราบว่าเด็กคิดกับ อ.เชิงชู้สาว คิดเห็นอย่างไร
ตอนสามทุ่ม อ.โผนอยู่กบั ใคร / ลาดับที่เท่าไร
ครอบครัว อ.โผน รู้ไหม
รับทีมงานเพิ่มไหม
คาถามจากกลุ่ม รอบ 2
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
อ.โผน คิดแก้ไขปัญหาอย่างไร
ถ้าจาเป็ นต้องไป คิดจะชวนใครไปเป็ นเพื่อนไหม
หลังจากแจ้งผูป้ กครอง มีวิธีแก้ไขปัญหาอย่างไร
หลังจากรับโทรศัพท์ แก้ไขปัญหาอย่างไร
เด็กมีที่ปรึกษาท่านอื่นไหม
เด็กมีเพื่อนสนิทเป็ นพิเศษไหม / ทาไมเด็กไม่ปรึกษาเพื่อน
ถ้าเด็กบอกว่าจะฆ่าตัวตาย จะทาอย่างไร
ถ้าเด็กยังยืนยันว่าจะให้มา จะทาอย่างไร
ปรึกษาผูบ้ ริหารไหม
นักศึกษาเรียน อ.โผน ว่ายังไง
ตกลง อ.โผน ไปไหม
อ.เคยไปที่พกั นศ.ไหม
คาถามจากกลุ่ม รอบ 3
•
•
•
•
•
อะไรทาให้ตดั สินใจไปหาเด็ก
เมื่อเจอเด็กแล้ว ทาอย่างไรต่อไป
ที่เด็กเล่าไม่เป็ นความจริงใช่ไหม
ความรู้สึกตอนเห็นสภาพเด็กทาอย่างไรต่อไป
หลังเกิดเรื่อง ได้แจ้งใครต่อไปไหม
สิ่งที่ได้เรียนรู้
•
•
•
•
•
ต้องถามให้ตรงประเด็น
ธรรมชาติความเป็ นจริง อยากรู้เรื่องอื่นมากกว่าเป้ าหมายที่
ต้องการ
กรณี ศึกษาทาให้เข้าใจวิธีการซักถาม / สอบสวน เพื่อช่วยเหลือ
และเพื่อป้ องกันการผิดวินัยของครู
ต้องรับฟัง มีสติ
อย่าใช้ความรู้สึก ประสบการณ์ในการตัดสินใจ
การฟั งอย่างตัง้ ใจ การสะท้อน และการตัง้ คาถาม
• จับคู่
• คนฟัง ให้ตงั ้ ใจฟัง สะท้อน และตัง้ คาถาม
• หัวข้อ: ให้เล่าถึง “
“ความยุ่งยากใจในงาน และวิธีที่จะ
จัดการกับความยุ่งยากนัน้ ”
ข้อสังเกต/สิ่งที่ได้เรียนรู้: ฟัง/สะท้อน/ถาม
• เปิดใจในการพูดคุยกันมากขึน้ ทาให้ร้สู ึกสนุกในการพูดคุย
• เกิดการสื่อสารสองทาง (ฟัง/ถาม) โดยการโต้ตอบกัน ทาให้บรรยากาศดีทงั ้ สอง
ฝ่ าย
• มีคนรับฟังปัญหา และปัญหาไม่ใช่อยู่ที่เราคนเดียว
• รู้สึกเวลาผ่านไปเร็ว ถ้าเทียบกับรอบอื่นๆ
• การพูดคุยทาให้มีกาลังใจและคลี่คลายปัญหาได้ (การมีคนรับฟัง, แนะวิธีการ)
• ได้เห็นทางเลือกที่ตวั เองคิดและเกิดการต่อยอดในทางเลือกได้มากขึน้
• กัลยาณมิตร และเห็นปัญหาจากประสบการณ์ใกล้เคียง
• ปัญหามีไว้แก้ และช่วยกันคลายปม
สาธิตบทบาทสมมุติ role playการให้การปรึกษา
• ให้สงั เกตบทบาทของผูใ้ ห้การปรึกษา
ว่ามีจดุ อ่อนที่ควรปรับปรุงในเรือ่ งใด
ประเด็นที่พบจากบทบาทสมมุติ role play
•
•
•
•
การปรับประยุกต์หลักการสู่การปฏิบตั ิ เป็ นเรื่องยาก
การคุยตัวต่อตัวยากกว่าแบบอื่น
เมื่อใดทีรขู ้อมูลมาก เราจะฟังน้ อยลง
ไม่ควรวินิจฉัยอาการโดยเรา
สิ่งที่ผใู้ ห้การปรึกษาไม่ควรทา
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ท่าทีไม่สนใจ / เออออไปเรื่อย / ไม่สบตา /
คาพูดซา้ เติม / ตีตรา
ไม่มีการให้โอกาส / พูดเหมือนขอไปที
ตัดสินใจแทน
สร้างความร้าวฉานให้ครอบครัว
การยืน เป็ นอุปสรรค
ท่าทีเหมือนไม่ทกุ ข์ร้อนกับผูท้ ี่มาปรึกษา
ไม่มีทางเลือก
ลักษณะไม่เอื้ออาทร
คาถามที่ถามกลับ ทาร้ายความรู้สึก
สิ่งที่สาคัญสาหรับผูใ้ ห้การปรึกษา
ฝึ กปฏิบตั ิ การให้คาปรึกษา
• กรณี ศึกษา ๑
นิด (ผูห้ ญิง) อายุ ๑๖ ปี เรียน
ปวช. ๒ขณะนี้ ตงั ้ ครรภ์ได้ ๘
สัปดาห์ กับคู่ที่เพิ่งคบกันได้
ประมาณ ๓ เดือน และยังไม่
สามารถติดต่อได้ในขณะนี้ มี
เพียงเพื่อนสนิทสนิทที่ร้เู รื่องนี้
ในเบือ้ งต้นเมื่อรับรู้ว่าท้อง ก็
รู้สึกหนักใจมากและคิดถึงการ
ทาแท้ง
• กรณี ศึกษา ๒
หนุ่ม อายุ ๑๘ ปี มีแฟนเป็ น
เพื่อนต่างสถาบัน เพิ่งคบกันได้
สองเดือน มีเพศสัมพันธ์กนั
ตลอด โดยไม่ใช้ถงุ ยาง แต่ใช้
การหลังข้
่ างนอกทุกครัง้ เมื่อ
สัปดาห์ก่อนแฟนมาบอกว่า
เมนส์ไม่มา หนุ่มกังวลใจมาก
กลัวแฟนจะท้อง เพราะกาลัง
เรียนอยู่ ปวช.๓ และพ่อแม่กย็ งั
ไม่ได้รบั รู้การมีแฟนของหนุ่ม
ฝึ กปฏิบตั ิ การให้คาปรึกษา
• กรณีศกึ ษา ๓
มายด์ ผูห้ ญิงหน้ าตาดี เรียนปวช. ๒ ติด
เชื้อเอชไอวีมาตัง้ แต่เกิด กินยาต้าน
ไวรัสทุกวัน ตอนนี้ สขุ ภาพแข็งแรง ไม่มี
ใครรู้ว่ามายด์ติดเชื้อเอชไอวี นอกจาก
ปู่ กับย่า ที่ผา่ นมาปู่ กับย่าพูดตลอดว่า
อย่าไปมีแฟน มันเป็ นบาป เรามีกรรม
มายด์ร้สู ึกอึดอัด คับแค้นใจว่าทาไม
ต้องต่างจากคนอื่น อยากใช้ชีวิต
เหมือนเพื่อนคนอื่นๆ และตอนนี้ อยาก
ไปเที่ยวกับเพื่อนๆ ที่ต่างจังหวัดมีทงั ้
เพื่อนผูช้ ายและผูห้ ญิง แต่ปกัู่ บย่าไม่
อนุญาต จะทายังไงดี
• กรณีศกึ ษา ๔
กอล์ฟ อายุ ๑๖ ปี เรียนอยู่ ปวช.๑
สาขาการโรงแรม แต่ที่บ้านทา
กิจการร้านขายและซ่อม
เครื่องใช้ไฟฟ้ า พ่ออยากให้
กอล์ฟเรียนช่างไฟฟ้ า เพราะหวัง
จะให้กลับมาช่วยงานที่บ้านเมื่อ
จบแล้ว กอล์ฟยังไม่กล้าบอกพ่อ
ว่าไม่ได้เลือกเรียนช่างไฟฟ้ า
อย่างที่พ่อหวัง มีเพียงแม่ที่รบั รู้
และคอยช่วยเหลืออยู่ แต่กย็ งั ไม่
กล้าที่จะบอกพ่อ กอล์ฟไม่อยาก
ปิดบังพ่อ แต่แม้แต่แม่กย็ งั ไม่
กล้าที่จะบอกพ่อเลย... จะทา
ยังไงดี??
“บริการสุขภาพที่เป็ นมิตร” สาหรับเยาวชน
– การรักษาความลับ/ส่วนตัว
– ไม่เกิดการตีตรา
– ได้มาตรฐาน
– ครบวงจร
– ฟรีหรือจ่ายน้อยทีส่ ดุ
– ทีต่ งั ้ หน่วยบริการเหมาะสม
– เอือ้ ต่อวิถชี วี ติ ของผูใ้ ช้บริการ
เช่นเวลาทาการ
– บรรยากาศแห่งความเข้าใจ
– การบอกบริการเชิงรุก
บริการสุขภาพทางเพศที่เป็ นมิตรกับวัยรุน่
•
•
•
•
ตรวจเลือดหาการติดเชือ้ เอชไอวีและซิฟิลสิ
ตรวจรักษาโรคติดเชือ้ ทางเพศสัมพันธ์
ตรวจหามะเร็งปากมดลูก
บริการฟรี
คุมกาเนิด
สอบถามข้อมูล: 08-5340-0043
คลีนิคออนไลน์ -แช็ตกับพยาบาล/หมอ
ความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
หลักสูตรเพศศึกษาและ
การพัฒนาทักษะการดาเนินชีวิต
คู่มือเพศศึกษา ม. ๑- ม.๖