บทที่ 6

Download Report

Transcript บทที่ 6

บทที่ 6
การเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
การนาเสนอผลการศึกษาค้ นคว้ าด้ วยวาจา


คือ การพูดให้คนฟังอย่างรู ้เรื่ อง เข้าใจ ซึ่งผูน้ าเสนอจะต้องมีการเตรี ยม
ตัวอย่างมาก ทั้งเตรี ยมตนเอง เตรี ยมเนื้อหา เตรี ยมวิธีการนาเสนอ ฯลฯ
ดังนั้นผูพ้ ดุ จึงควรศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับหัวข้อต่อไปนี้
การพูด หมายถึง พฤติกรรมในการสื่ อความหมายของมนุษย์ โดยการ
ใช้สญ
ั ลักษณ์ต่าง ๆ เช่น เสี ยง ภาษา อากัปกิริยาท่าทาง เพือ่ ถ่ายทอด
ความรู ้ ความคิดเห็น และความรู ้สึกจากผูพ้ ดู ไปสู่ผฟู ้ ัง
องค์ ประกอบของการพูด





1. ผูพ้ ดู
2. ผูฟ้ ัง
3. คาพูดหรื อเนื้อเรื่ อง
4. สื่ อหรื อเครื่ องมือในการสื่ อสาร
5. ผลที่เกิดจากการพูด
ศิลปะการพูด

1. ตัวผูพ้ ดู
- รู ปลักษณะ --- ควรแต่งกายสุ ภาพ เหมาะสมกับวัย รู ปร่ าง สี ผวิ
อาชีพ และกาลเทศะ
- อิริยาบถและท่วงที --- การยืน การเดิน การนัง่ การแสดงท่าทาง
สี หน้า
- การใช้สายตา --- “ดวงตาเป็ นหน้าต่างของดวงใจ”
- เสี ยง --- ดังพอสมควร แจ่มใส นุ่มนวล ชวนฟัง ปรับให้เหมาะ
กับโอกาส มีสูง-ต่า เน้นหนัก-เบา ออกเสี ยงให้ถุกต้องตามพยัญชนะ
วรรณยุกต์ คาควบกล้ า
แบบฝึ กการออกเสี ยง
โรงเรี ยน เรี ยบร้อย รุ งรัง ราบรื่ น รี บร้อน รวบรัด รุ นแรง
ลอยลม เลื่อนลับ ลวนลาม ลุล่วง ลวดลาย หลักแหลม เลอเลิศ
เรี ยนลัด แรงลม ลอดรั้ว โรงเลื่อย รายล้อม ร้อยลิ้น ล่องเรื อ
แบบฝึ กการออกเสี ยง (ต่ อ)
กลบเกลื่อน กลมกล่อม กลับกลอก กลัดกลุม้ กล้ ากลืน เกลี้ยกล่อม
ควายขวิด ขวักไขว่ ขว้างขวาน ขวนขวาย ขวากหนาม ครวญคราง
คว้าไขว่ เคว้งคว้าง ควัน่ อ้อย ควานหา คว่าขัน ควาญช้าง
แบบฝึ กการออกเสี ยง (ต่ อ)
ใครครวญครางอยูใ่ นครัว
นายกรุ งชอบปลากรอบข้าวเกรี ยบ
ไฟไหม้ฝาครัวไฟพัง
เขากลัวควายขวดจนขวัญแขวน
แม่ครัวนัง่ ไขว่หา้ งโขลกน้ าพริ ก
ฉันจะจูงควายข้ามแควอย่าขวางทาง
ผมฝันว่าเขามีไฝอยูแ่ ก้มขวา
กานันขวัญคว้าขวานทุบหัวควาย
ศิลปะการพูด (ต่ อ)
- ภาษา --- ควรเลือกใช้ภาษาให้เหมาะแก่กาลเทศะ และกลุ่มผูฟ้ ัง
1) ใช้คาให้ถูกต้อง เช่น การใช้ลกั ษณะนาม การใช้คาสันธาน การ
ใช้คาบุพบท ใช้คาให้ถูกต้องตรงตามความหมาย เช่น เข้าพบ-เข้าหา
ขัดขวาง-กีดขวาง หนาแน่น-แน่นหนา ราด-ลาด ข่มขืน-ขื่นขม
เข้มแข็ง-แข็งแรง โล่ง-โปร่ ง
2) ใช้คาให้เหมาะสมงดงาม เช่นการใช้คาราชาศัพท์ คาสุ ภาพ
สรรพนาม ไม่ควรใช้ศพั ท์วิชาการ หรื อตัวย่อ หรื อคาต่างประเทศมาก
เกินไป
ภาษา (ต่ อ)

3) หลีกเลี่ยงการใช้คาประเภทต่อไปนี้
- คาหยาบ คาแสลง คาภาษาถิ่น คาภาษาหนังสื อพิมพ์ คาที่ใช้ในคา
ประพันธ์ คาที่ใช้ในการโฆษณา คาว่า เอ่อ อ่า แบบว่า ...
4) ใช้คาที่มีน้ าหนัก และมีพลังทางจิตวิทยา เช่น
- พวกท่านทั้งหลาย
- พวกเราทั้งหลาย
- เสื้ อตัวนี้ราคาเพียง 199 บาท
- คุณสุ จิตราค่อนข้างสมบูรณ์
ประเภทของการพูดเพือ่ นาเสนอผลการศึกษาค้ นคว้า

1. การบรรยาย
- การอธิบาย / การเล่าเรื่ องราว / การยกตัวอย่าง / การอ้างสถิติ/การ
ลาดับความ / การยกหลักฐานอ้างอิง / การเปรี ยบเทียบ / การกล่าวซ้ าหรื อ
กล่าวย้า / การให้คาจากัดความ / การใช้โสตทัศนูปกรณ์
2. การอภิปราย
การอภิปรายกลุ่ม / การอภิปรายในที่ประชุมชน
การวิจารณ์ และการประเมินผลการพูด

หลักเกณฑ์ในการวิจารณ์หรื อการประเมินผลการพูด
1. บุคลิกภาพของผูพ้ ดุ
2. เสี ยงและการออกเสี ยง
3. ภาษา
4. อากัปกิริยาท่าทาง
5. เนื้อหาสาระ
6. การประมวลเรื่ อง
การนาเสนอผลการศึกษาค้ นคว้ าด้ วยลายลักษณ์ อักษร

ความหมายและประเภทของบทนิพนธ์
1. รายงาน
2. ภาคนิพนธ์
3. ปริ ญญานิพนธ์
ส่ วนประกอบของรายงาน

1. ส่ วนประกอบตอนต้น
- หน้าปกนอก
- ใบรองปก --- เป็ นกระดาษเปล่า 1 แผ่น
- หน้าปกใน --- เหมือนหน้าปกนอกทุกประการ
- คานา
- สารบัญ
- บัญชีตารางและบัญชีภาพประกอบ
ตัวอย่ างปกรายงาน
การฝึ กโยคะ
นายประพันธ์ รายงานดี
รหัส 501263105 โปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร์
รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่ งของการศึกษาวิชา 1500101 ภาษาไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏศรี สะเกษ
ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2550
ส่ วนประกอบของรายงาน (ต่ อ)
2. ส่ วนเนื้อหา เป็ นส่ วนที่สาคัญที่สุดของรายงาน
- ใช้กระดาษคุณภาพดี
- ใช้เพียงด้านเดียว พิมพ์ขนาดมาตรฐาน หมึกสี ดา ไม่มีการขีดฆ่า ลบ
ให้สกปรก หรื อเติมข้อความอย่างไม่เป็ นระเบียบ
- การเว้นขอบกระดาษ บนและซ้าย ให้เว้นเข้ามา 1.5 นิ้ว ล่างและขวา
ให้เว้นเข้ามา 1 นิ้ว
- ย่อหน้าประมาณ 7-9 ตัวอักษร
- การเขียนเลขหน้า เป็ นเลขไทยหรื ออารบิกก็ได้ ตาแหน่งเลขหน้า
ส่ วนประกอบของรายงาน (ต่ อ)
อาจอยูต่ รงกลาง หรื อมุมบนขวาของหน้า ยกเว้นหน้าแรกของแต่ละบท
หรื อหน้าแรกของบรรณานุกรม ภาคผนวก อภิธานศัพท์ เหล่านี้ไม่ตอ้ ง
ใส่ เลขหน้า
- บทที่ หรื อหน่วยที่ และชื่อบท ควรมีเลขกากับ บทที่ให้เขียนไว้
ตรงกลาง ตอนบนของหน้า
- หัวข้อใหญ่ในแต่ละบท จะเขียนหรื อพิมพ์ชิดแนวขอบเขียนด้าน
ซ้ายมือ หัวข้อรองลงไปให้ยอ่ หน้าเข้าไปตามลาดับ
- การกากับหัวข้อ
ตัวอย่ างการกากับหัวข้ อ
บทที่ 1
.............................
1.
...........................................
1.1 ..................................................
1.2 ..................................................
1.2.1 ......................................
1.2.2 ......................................
1.3 ..................................................
2. ...................................................................
ส่ วนประกอบของรายงาน (ต่ อ)
3. ส่ วนประกอบตอนท้ าย
3.1 บรรณานุกรม (Bibliography) เป็ นรายชื่อสิ่ งพิมพ์และวัสดุอา้ งอิง
ต่าง ๆ ที่ผเู ้ ขียนใช้ในการศึกษาค้นคว้าเพื่อทารายงาน และต้องเขียน
เรี ยงลาดับตัวอักษร
3.2 ภาคผนวก (Appendix) เป็ นข้อมูลที่นามาเพิม่ เติมซึ่งเกี่ยวพันกับ
เนื้อหาของรายงานแต่มีขนาดยาว และเป็ นเอกสารหายาก ถ้านาไปรวม
ไว้ในเนื้อเรื่ อง อาจทาให้เนื้อหาไม่ติดต่อกัน
3.3 ดรรชนี (Index) เป็ นบัญชีคน้ คาศัพท์หรื อชื่อสาคัญ ๆ ที่ปรากฏใน
รายงาน เรี ยงตามลาดับอักษร พร้อมทั้งบอกเลขหน้าของรายงานทีค่ า
นั้น ๆ ปรากฏอยู่
3.4 อภิธานศัพท์ (Glossary) เป็ นส่ วนที่รวบรวมคาอธิบายศัพท์ยากในเนื้อ
เรื่ องของรายงาน ซึ่งส่ วนมากจะเป็ นรายงานทางวิชาการที่มีคาศัพท์มาก
ๆ และคาศัพท์เหล่านี้จะเรี ยงตามลาดับอักษร
ขั้นตอนการเขียนรายงาน

1. การเลือกหัวข้อเรื่ องและกาหนดชื่อเรื่ องของรายงาน
- เลือกเรื่ องที่ตนเองสนใจ และถนัด
- เลือกเรื่ องที่ตนเองพอมีความรู ้อยูบ่ า้ ง
- เลือกเรื่ องที่มีแหล่งข้อมูลให้ศึกษาค้นคว้า
- เลือกเรื่ องที่มีขอบเขตของเนื้อหาไม่กว้างหรื อแคบเกินไป
- การตั้งชื่อเรื่ องควรตั้งให้กะทัดรัด ตรงตามเนื้อหาและ
วัตถุประสงค์ที่จะเขียน
ตัวอย่ างชื่อรายงานที่ดี





แนวโน้มการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระบบการบริ หารการศึกษาของไทย
ปัญหาแหล่งน้ าสาหรับการเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การปลูกฝังนิสยั รักการอ่านในโรงเรี ยนประถมศึกษา
การใช้ภาษาไทยในหนังสื อพิมพ์
ขั้นตอนการเขียนรายงาน (ต่ อ)
2. การสารวจและรวบรวมข้อมูล
ควรสารวจและรวบรวมข้อมูลให้ได้มากที่สุดและต้องเป็ นข้อมูลที่
ทันสมัย จากแหล่งที่น่าเชื่อถือ เช่น บัตรรายการ ดรรชนีวารสาร
หนังสื ออ้างอิง โสตทัศนวัสดุ ซีดี-รอม หนังสื อ วารสาร อินเทอร์เน็ต
ขั้นตอนการเขียนรายงาน (ต่ อ)
3. การวางโครงเรื่ อง
- โครงเรื่ องจะต้องประกอบด้วยชื่อของรายงาน เนื้อหา แบ่งอกเป็ นบท
ๆ แต่ละบทประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ หัวข้อใหญ่มีความสาคัยมาก และ
หัวข้อย่อยที่มีความสาคัญรองลงมาเรี ยงตามลาดับ
- เนื้อหาของแต่ละบทควรมีความสั้น-ยาวใกล้เคียงกัน
- ชื่อหัวข้อควรสั้น กะทัดรัด ได้ใจความ ครอบคลุมเนื้อหาในตอนนั้นๆ
- หัวข้อต่าง ๆ ควรเรี ยงลาดับสัมพันธ์กนั
- โครงเรื่ องต้องเขียนอย่างเป็ นระบบ สะดวกแก่การอ่านและทาความ
เข้าใจ
ตัวอย่ างโครงเรื่อง ชีวติ และงานของศรีบูรพา
1.ชีวประวัติ
1.1 ปฐมวัย
1.2 มัชฌิมวัย
1.3 ปัจฉิ มวัย
2. ผลงาน
2.1 งานประพันธ์
2.1.1 งานประพันธ์ยคุ ก่อน พ.ศ. 2475
2.1.2 งานประพันธ์หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
(พ.ศ. 2475-2594)
ตัวอย่ างโครงเรื่อง ชีวติ และงานของศรีบูรพา
2.1.3 งานประพันธ์ พ.ศ. 2495 – 2500
2.2 งานด้านหนังสื อพิมพ์
2.3 งานต่อสูเ้ พื่อประชาธิปไตย และสันติภาพ
ขั้นตอนการเขียนรายงาน (ต่ อ)
4. การค้นคว้า รวบรวมข้อมูลและจดบันทึก
- บันทึกย่อ เอาแต่ใจความสาคัญ
- บันทึกแบบถอดความจากต้นฉบับเดิมโดยใช้สานวนของผูบ้ นั ทึก
- บันทึกแบบคัดลอกข้อความ
5. เรี ยบเรี ยงและจัดทาเป็ นรู ปเล่ม
- นาข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้ามาเรี ยงลาดับตามโครงเรื่ องที่เขียนไว้
ตอนต้น
- เมื่อได้ขอ้ มูลครบตามโครงเรื่ องให้พิจารณาตัวโครงเรื่ องอีกครั้ง
ขั้นตอนการเขียนรายงาน (ต่ อ)
- เขียนรายงานฉบับร่ างให้เป็ นไปตามลาดับโครงเรื่ อง โดยใช้ภาษา
เข้าใจง่าย กระชับ ได้ใจความ สะกดการันต์ถูกต้อง ส่ วนใดจาเป็ นต้อง
อ้างอิงก็ควรอ้างอิงตามแบบแผนการอ้างอิง
- อ่านตรวจทานความถูกต้องของการเขียนสะกดการันต์
ตรวจสอบการจัดลาดับหน้าของรายงาน ก่อนเย็บเล่ม
การเขียนอ้ างอิง

การอ้างอิงข้อความที่คดั ลอก หรื อได้แนวคิดจากเอกสารใด ๆ ผูเ้ ขียน
รายงานจาเป็ นต้องบอกที่มาของข้อมูล สามารถตรวจสอบหลักฐานเดิม
หรื อค้นคว้าหาอ่านเพิ่มเติมได้
การอ้ างอิงแบบแทรกปนไปในเนือ้ หา

การอ้างอิงแบบนี้มี 2 ระบบ คือ ระบบ นาม-ปี และระบบตัวเลข
1) ระบบนาม-ปี ระบุชื่อผูแ้ ต่ง ปี ที่พิมพ์ และเลขหน้าที่อา้ งอิง โดยใส่
ไว้ในวงเล็บ ดังนี้ (ชื่อผูแ้ ต่ง.//ปี ที่พิมพ์/:/เลขหน้า)
ตัวอย่าง
...................................................................................................................
...................................................................................................................
........................... (เอกวิทย์ ณ ถลาง. 2542 : 130)
การอ้ างอิงแบบแทรกปนไปในเนือ้ หา (ต่ อ)


พระยาอุปกิตศิลปสาร (2520 : 85) ได้กล่าวถึงความหมายของกาดไว้
ว่า ...................................................................................................
แมคโดนัฟ (McDonough. 1984 : 111) ให้ความเห็นว่า
...................................................................................................................
การอ้ างอิงแบบแทรกปนไปในเนือ้ หา (ต่ อ)
1.2 ระบบหมายเลข
ระบุหมายเลขตามลาดับ เอกสารที่อา้ งอิงก่อนหลัง พร้อมกากับ
เลขหน้าที่อา้ งอิงเอกสารนั้น
ตัวอย่าง
.... การอ่านหนังสื อพิมพ์มีลกั ษณะแตกต่างจากการอ่านหนังสื อประเภท
ตารา (12 : 72)
12. วิสิทธิ์ จินตวงศ์. “วิธีอ่านหนังสื อพิมพ์อย่างฉลาด”
วิทยาสาร 21 (มิถุนายน 2541) : 72-78

การอ้ างอิงแบบเชิงอรรถ
เชิงอรรถ คือ ข้อความที่พิมพ์ไว้ตรงส่ วนล่างของหน้ากระดาษ เพื่อระบุ
หลักฐานของการอ้างอิง หรื อเพื่ออธิบายเนื้อเรื่ องบางตอนเพิม่ เติม
แบบแผนการลงเชิงอรรถ
หนังสื อ
1 จิตร ภูมิศกั ดิ์. โองการแช่งน้ าและข้อคิดใหม่ ในประวัติศาสตร์.
กรุ งเทพฯ : ดวงกมล, 2524, หน้า 132.
การอ้ างอิงแบบเชิงอรรถ (ต่ อ)
บทความในวารสาร
1 ศรี ศกั ร วัลลิโภดม. “ข้าวกับการพัฒนาของรัฐในประเทศไทย”
ศิลปวัฒนธรรม 6 (พฤษภาคม 2528) : 120 – 121.
การพิมพ์เชิงอรรถ
- ให้พิมพ์ไว้ส่วนล่างของแต่ละหน้าที่อา้ งถึง และให้แยกจากเนื้อเรื่ องโดย
ขีดเส้นคัน่ ยาวประมาณ 2.5 นิ้ว เว้นจากบรรทัดสุ ดท้ายของเนื้อเรื่ อง 3
บรรทัดพิมพ์เดี่ยว และพิมพ์เชิงอรรถใต้เส้นนี้ 2 บรรทัดพิมพ์เดี่ยว
- พิมพ์เชิงอรรถบรรทัดแรกให้ยอ่ หน้าเข้ามา 8 ระยะตัวอักษร เริ่ มพิมพ์
ตัวอักษรที่ 9 ถ้าเชิงอรรถมีเกิน 1 บรรทัด บรรทัดต่อมาให้พิมพ์ชิดขอบ
ด้านซ้ายทุกบรรทัดจนจบรายการ
ตัวอย่ างการเขียนเชิงอรรถ
บรรทัดสุ ดท้ายของเนื้อความ
----------------------------------------------------------3 บรรทัดพิมพ์เดี่ยว
______________________
2 บรรทัดพิมพ์เดี่ยว
1 ขจร สุ ขพานิช. ฐานันดรไพร่ (กรุ งเทพมหานคร : ภาควิชา
ประวัติศษสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร. 2519)
หน้า 2.

เฮ้ อ ! เบื่อจังเลย เมื่อไหร่ จะเลิกนะ ขอหลับก่ อนละกัน
ZZZZZZZZ
หลักเกณฑ์ การลงรายการอ้างอิง
1.
ผูแ้ ต่งคนเดียว ถ้าเป็ นชาวต่างประเทศ ใช้นามสกุลเท่านั้น ถ้าเป็ น
ชาวไทย ให้ใส่ ชื่อก่อนแล้วตามด้วยนามสกุล
(เปลื้อง ณ นคร. 2511 : 160)
(Fontana. 1985 : 91)
2. ผูแ้ ต่งที่มีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์ ให้ใส่ ลงไปด้วย
(กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์. 2516 : 40)
หลักเกณฑ์ การลงรายการอ้างอิง (ต่ อ)
3. ผูแ้ ต่งที่มียศทางทหาร ตารวจ ตาแหน่งทางวิชาการ ไม่ตอ้ งใส่
4. ผูแ้ ต่ง 2 คนให้ใส่ ชื่อทั้ง 2 คน คัน่ ด้วยคาว่า และ
5. ผูแ้ ต่ง 3 คน ให้ใส่ ชื่อทั้ง 3 คน เช่น
(คณิ ต มีสมมนต์, แสวง โพธิ์เงิน และ สนอง ค้านสิ ทธิ์. 2502 : 4)
6. ผูแ้ ต่งมากกว่า 3 คน ลงเฉพาะผูแ้ ต่งคนแรก และตามด้วยคาว่า คระ
หรื อ คนอื่น ๆ เช่น
(วิญญู อังคณารักษ์ และคนอื่น ๆ. 2516 : 28-29)
การเขียนบรรณานุกรม


บรรณานุกรมคือรายชื่อสิ่ งพิมพ์ที่ใช้ประกอบการศึกษาค้นคว้าเพื่อเขียน
รายงาน
บรรณานุกรมจะอยูส่ ่ วนท้ายของรายงาน บางครั้งเรี ยก เอกสารอ้างอิง มี
แบบแผนการเขียนตามลักษณะดังต่อไปนี้
รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมหนังสื อ
ชื่อผูแ้ ต่ง.//(ปี พิมพ์).//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ์.//สถานที่พิมพ์/:/สานักพิมพ์.
ตัวอย่าง
อรทัย มิ่งมงคล. (2548). อาหารชีวจิต. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ :
สกายบุค๊ ส์.
Crawford, Charles. (2005). English for Business. 2nd ed.
New York : Modern Language.
หลักในการเขียนบรรณานุกรม
ชื่อผูแ้ ต่ง
- ผูแ้ ต่งชาวไทย ให้ใช้ชื่อก่อน นามสกุล ผูแ้ ต่งชาวต่างประเทศ ให้ใช้
นามสกุลก่อนชื่อ
เช่น สิ ทธิโชค คณานุรักษ์ / Gomez, Andrea T.
- ไม่ตอ้ งนายศ และตาแหน่ง หรื อคานาหน้าชื่อต่าง ๆ ลงไปด้วย เช่น
นาย นาง นางสาว ผศ. รศ. ดร. พล.ท. พ.ต.ต. พ.ญ. ฯลฯ
- ถ้าเป็ นบรรดาศักดิ์ ให้ใส่ ลงไปด้วย เช่น ม.จ. ม.ล. ม.ร.ว. สมเด็จพระ
ฯลฯ โดยใส่ ไว้หลังชื่อ เช่น คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว.
1.
หลักในการเขียนบรรณานุกรม (ต่ อ)
ถ้ามีผแู ้ ต่ง 2 คนให้ใส่ ชื่อลงไปทั้งสองคน
เช่น สุ ภารัตน์ อุดมศรี และ มยุรี ปั้นทอง

Santana, Robert and Gruel, Simon N.
- ถ้ามีผแู ้ ต่ง 3 คน ให้ใส่ ชื่อทั้งสามคน
เช่น นิรุจน์ ประจักษ์จิต, อิศริ นทร์ พลดี และ สมภพ ปราบภัย
หลักในการเขียนบรรณานุกรม (ต่ อ)
- ถ้ามีผแู ้ ต่ง 4 คนขึ้นไป ให้ลงรายการเฉพาะชื่อแรก ตามด้วยคาว่า “และ
คนอื่น ๆ” หรื อ “และคณะ” ภาษาอังกฤษใช้คาว่า “et al.”
เช่น ชนิดา ส่ องหล้า และคนอื่น ๆ.
Akasawa, Ryuji et al.
- ผูแ้ ต่งที่ใช้นามแฝง ถ้าทราบชื่อจริ งให้ใส่ ไว้ในวงเล็บ หากไม่ทราบ ให้
ใส่ คาว่า นามแฝงในวงเล็บ
เช่น ทมยันตี (วิมล เจียมเจริ ญ) ลูกแก้ว (นามแฝง)
หลักในการเขียนบรรณานุกรม (ต่ อ)
ผูแ้ ต่งที่เป็ นสถาบันให้ลงชื่อสถาบันนั้น ๆ ตามที่ปรากฏ
เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
มหาวิทยาลัยมหิ ดล คณะเภสัชศาสตร์ ภาควิชาเภสัชวิทยา
* ถ้าไม่ปรากฏผูแ้ ต่ง ผูร้ วบรวม หรื อบรรณาธิการ ให้ใส่ ชื่อเรื่ อง หรื อชื่อ
หนังสื อแทนรายการผูแ้ ต่ง
หลักในการเขียนบรรณานุกรม (ต่ อ)
2. ปี ที่พิมพ์ ให้ระบุเฉพาะตัวเลข โดยไม่ตอ้ งระบุ พ.ศ. หรื อ ค.ศ. โดยระบุไว้ใน
เครื่ องหมาย ( ) เสมอ
ถ้าไม่ปรากฏปี ที่พิมพ์ ให้ใส่ คาว่า [ม.ป.ป.]
3. ชื่อหนังสื อ หรื อชื่อเรื่ อง ให้ระบุตามหน้าปกใน โดยให้พิมพ์เป็ นตัวหนา (ถ้าเขียน
ให้ขีดเส้นใต้)
4. ครั้งที่พิมพ์ ให้ใส่ เฉพาะหนังสื อที่พิมพ์เป็ นครั้งที่ 2 เป็ นต้นไปเท่านั้น
โดยใช้คาว่า พิมพ์ครั้งที่ ... ภาษาอังกฤษใช้ 2nd ed 3rd ed 4th ed
หลักในการเขียนบรรณานุกรม (ต่ อ)
5. สถานที่พิมพ์ ให้ระบุชื่อเมืองซึ่งเป็ นที่ต้ งั ของสานักพิมพ์ที่ปรากฏใน
ปกใน ถ้าไม่ปรากฏชื่อเมืองให้ใส่ [ม.ป.ท.] หรื อ [n.p.]
6. สานักพิมพ์ ให้ระบุตามที่ปรากฏที่ปกใน โดยไม่ตอ้ งเขียนคาว่า
สานักพิมพ์อีก ยกเว้นไม่มีสานักพิมพ์ ให้ใช้โรงพิมพ์แทน แต่ตอ้ งเขียน
คาว่าโรงพิมพ์ดว้ ย เช่น สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช ให้เขียนแค่ ไทย
วัฒนาพานิช โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว
รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมบทความจากวารสาร
ชื่อผูเ้ ขียนบทความ.//(วัน เดือน ปี ).//“ชื่อบทความ,”//ชื่อวารสาร.//
ปี ที่(ฉบับที่)/:/เลขหน้า.
ตัวอย่าง
สุ พตั รา สิ งห์ทอง. (ตุลาคม 2546). “วิธีกาจัดพิษในร่ างกาย,” ชีวจิต.
6(10) : 35-39.
รู ปแบบการเขียนบรรณานุกรมบทความจากหนังสื อพิมพ์
ชื่อผูเ้ ขียนบทความ.//(วัน เดือน ปี ).//“ชื่อบทความ”.//ชื่อหนังสื อพิมพ์.
เลขหน้า.
ตัวอย่าง
สุ รเกียรติ์ จันทร์พิทกั ษ์. (11 สิ งหาคม 2550). “การแข็งค่าของเงินบาท
กับการลงทุน”. มติชน. หน้า 12.
รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมจากวิทยานิพนธ์
ชื่อผูเ้ ขียนวิทยานิพนธ์.//(ปี พิมพ์).//ชื่อวิทยานิพนธ์ .//ระดับของวิทยานิพนธ์/
สาขาวิชา/คณะ/ชื่อมหาวิทยาลัยหรื อสถาบัน.
ตัวอย่าง
อมรรัตน์ สิ ทธิเจริ ญโชค. (2545). ความต้ องการใช้ อนิ เทอร์ เน็ตของ
นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคาแหง ชั้นปี ที่ 1. วิทยานิพนธ์
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะ
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
รู ปแบบการเขียนบรรณานุกรมจากสารสนเทศออนไลน์
ชื่อผูเ้ ขียนบทความ.//“ชื่อเรื่อง”.//[ออนไลน์].//เข้าถึงได้จาก หรื อ
Available/:/ระบุแหล่งสารสนเทศ//[วัน เดือน ปี ที่สืบค้น]
ตัวอย่าง
สุ รศักดิ์ ทองทวี. “การใช้ ฐานข้ อมูลออนไลน์ ให้ ได้ ผล”. [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : http://www.dbonline.net
[13 กุมภาพันธ์ 2550]
เย้ เย้ จบแล้ วครับ
Bye Bye
ขอให้โชคดี ได้เกรดเอกันทุกคน