การท่องเที่ยว (Tourism)

Download Report

Transcript การท่องเที่ยว (Tourism)

ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร
การท่องเทีย่ ว
อาจารย์ประจาภาควิชารัฐศาสตร์ (Tourism)
มหาวิทยาลัยรังสิต
www.ballchanchai.com
ประวัติ
การศึกษา
• รัฐศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
• รัฐศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
• ศิลปศาสตรบัณฑิต (การท่องเทีย่ ว), มหาวิทยาลัยรังสิต
ประวัติ
การทางาน (ปัจจุบนั )
• อาจารย์ประจาภาควิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
• ผูอ้ านวยการสถาบันวิชาการไทยวิจยั พัฒนาการจัดการ
(www.trdm.co.th)
ประวัติ
การทางาน (อดีต)
• อดีตผูอ้ านวยการหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาผูน้ าทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
(การศึกษาทางไกลทางอินเทอร์เน็ต) มหาวิทยาลัยรังสิต
• อดีตผูอ้ านวยการโครงการรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการท้องถิน่
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
ความเป็ นมาของการท่องเที่ยว
 การท่องเทีย่ วสมัยแรกจากัดเฉพาะในหมูผ
่ ูม้ อี นั จะกิน
พัฒนาการสู่มวลชนเริ่มขึ้นใน
ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึง่ เป็ นยุคการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม ประชาชนมีรายได้
เพิม่ ขึ้นสังคมเปลีย่ นจากเกษตรมาเป็ นอุตสาหกรรม ทาให้มวี นั เวลาทางานและ
วันหยุดทีแ่ น่นอน ทาให้ ชนชัน้ กลางเริ่มเดินทางท่องเทีย่ วมากขึ้น
ความเป็ นมาของการท่องเที่ยว
•
•
•
•
•
•
ในสมัยเริ่มแรกการเดินทางของมนุษย์เดินทางโดยมีวตั ถุประสงค์ 5 ประการ คือ
1. แสวงหาถิน่ ฐาน หรือเผชิญโชค เช่น การค้นพบทวีปอเมริกาของโคลัมบัส การ
เดินทางของมาร์โคโปโล
2. ติดต่อค้าขาย เช่น การเดินทางโดยเรือสาเภามาค้าขายในไทยของจีน
3. จาริกแสวงบุญ เช่น การเดินทางของพระสังคาจัง๋ การเผยแพร่ศาสนาคริสต์ของมิ
ชชัน่ นารี
4. เชื่อมความสัมพันธ์ เช่น การเจริญสัมพันธ์ทางการทูต
5. รักษาสุขภาพและอนามัย เช่น การเดินทางไปรักษาโดยการฝังเข็มทีป่ ระเทศจีน
ความเป็ นมาของการท่องเที่ยวในประเทศไทย
•
•
•
•
สาหรับประเทศไทย การท่องเทีย่ วในสมัยแรก ๆ พบว่าเป็ นการเดินทางด้วยเหตุผลดังนี้ คือ
ถูกกวาด ต้อนไปเป็ นเชลย , ไปทาสงคราม , ถูกเนรเทศ , ไปเยีย่ มญาติ , จาริกแสวงบุญ ,
แสวงโชค ,รักษาสุขภาพ , ท่องเทีย่ ว , เชื่อมความสัมพันธ์ ,หาความรูแ้ ละประสบการณ์
จากหลักฐานทางวรรณกรรม เริ่มในพุทธศตวรรษที่ 19 พ่อขุนรามคาแหงเสด็จเยือน
ประเทศจีน 2 ครัง้ และในพุทธศตวรรษที่ 23 ในรัชสมัยของพระเจ้าอยู่หวั บรมโกษฐ์ทรง
เสด็จประพาสทางเรือ ,สมเด็จพระเพทราชาทรงโปรดการประพาสในทีต่ ่าง ๆ
พระมหากษัตริยท์ เ่ี ป็ นนักท่องเทีย่ ว คือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล ้าเจ้าอยู่หวั ทรงเสด็จ
ทัง้ ในและต่างประเทศ เรียกว่าเสด็จประพาสต้น
การท่องเทีย่ วคืออะไร
 การท่องเทีย่ ว
หมายถึง การเคลือ่ นทีข่ องคนจากทีเ่ ดิม ไปยังจุดหมายปลายทางอีก
แห่งหนึ่งด้วยความสมัครใจ และเป็ นการเดินทางไปแล้วกลับ เป็ นการเดินทาง
ชัว่ คราว ใช้เวลาพานัก ณ ทีจ่ ดุ หมายปลายทาง เพือ่ พักผ่อนพร้อมแสวงหาความสุข
ความสบาย ประสบการณ์และความรูใ้ นชัว่ ระยะเวลาหนึ่ง แล้วเดินทางกลับ ไม่ได้รบั
รายได้เพือ่ ยังชีพจากเจ้าของท้องถิน่ ปลายทาง
องค์ประกอบของการท่องเทีย่ ว
•
•
•
การท่องเทีย่ ว ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ คือ
1. คน หมายถึง นักท่องเทีย่ ว หรือผูเ้ ดินทาง (ด้วยความสมัครใจ)
2. สถานที่ หมายถึง จุดหมายปลายทางหรือจุดผ่านทีเ่ ขาตัง้ ใจจะเดินทางไป
3. เวลา หมายถึง ระยะเวลาทีเ่ ขาพานักเพือ่ แสวงหาความสุข ความ
สบาย ความรู ้ หรือประกอบธุรกิจ (เป็ นการชัว่ คราว)
ประเภทของการท่องเที่ยว (1)
•
•
•
1.การท่องเทีย่ วเพือ่ ความสนุก : ใช้วนั หรือเวลาหยุดงาน เพือ่ เปลีย่ นบรรยากาศ เพือ่ สนองความอยากรูอ้ ยาก
เห็นเพือ่ พบในสิง่ แปลก ๆ
2.การท่องเทีย่ วเพือ่ การพักผ่อน : ใช้วนั หยุดเพือ่ การพักผ่อน โดยไม่คานึงถึงสิง่ อืน่ ใด เพือ่ ขจัดหรือบรรเทา
ความเหน็ดเหนื่อยทัง้ กายและใจ ทีเ่ กิดขึ้นในระหว่างการทางานทีผ่ ่านมาให้หมดสิ้นไป เพือ่ เรียกกาลังกาย
และกาลังใจให้กลับคืนมาสาหรับการทางานต่อไป
3.การท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม : นักท่องเทีย่ ว ทีป่ รารถนาจะเรียนรูศ้ ิลปวิทยา ทีเ่ กี่ยวกับวัฒนธรรมของชาติ
ต่าง ๆ ในสถาบันหรือสถานศึกษาทีม่ ชี ่อื เสียง หรือในประเทศทีม่ วี ฒั นธรรมน่าสนใจ เขาอาจจะไปประเทศนัน้
ๆ เพือ่ ศึกษาหาความรูใ้ นเรื่องต่าง ๆ
ประเภทของการท่องเที่ยว (2)
การท่องเทีย่ วเพือ่ การกีฬา : แบ่งเป็ น 4.1การไปชมการแข่งขัน และ 4.2การไป
เล่นกีฬา
 5.การท่องเทีย่ วเพือ่ ธุรกิจ : ทีจ่ ริงการท่อง เทีย่ วเพือ่ ประกอบธุรกิจ ไม่น่าจะเป็ นการ
ท่องเทีย่ ว เพราะขาดปัจจัยทีว่ า่ การท่องเทีย่ วต้องเป็ นการกระทาอย่าง
อิสระเสรี และมีความตัง้ ใจทีจ่ ะท่องเทีย่ ว แต่นกั ธุรกิจเมือ่ ติดต่องานธุรกิจเสร็จ
แล้ว ทุกคนก็จะเจียดเวลาทีจ่ ะท่องเทีย่ วด้วย เช่น ไปซื้อของฝาก หรือ กลุม่ ที่
ประชุมนัดหมายไปเทีย่ วด้วยกันตามสถานทีต่ ่าง ๆ
 4.
ประเภทของการท่องเที่ยว (3)
การท่องเทีย่ วเพือ่ การประชุมสัมมนา : ในปัจจุบนั องค์กรต่าง ๆ มีการจัด
ประชุมสัมมนากันมาก ซึง่ เป็ นการส่งเสริมการท่องเทีย่ วอย่างหนึ่ง ในวาระการประชุม
จะจัดช่วงให้ผูเ้ ข้าประชุมได้มโี อกาสท่องเทีย่ วเพือ่ ผ่อน คลายความเครียดกันด้วย
 7.การท่องเทีย่ วเพือ่ การศึกษา : ไปทาวิจยั ไปศึกษาต่อ ไปสอน ไปดูงาน
 6.
ประเภทของนักท่องเที่ยว (1)
 นักท่องเทีย่ ว
หมายถึง ผูเ้ ดินทางมาเยือนชัว่ คราวและพานักอยู่ครัง้ หนึ่ง ๆ ไม่นอ้ ย
กว่า 24 ชัว่ โมง และไม่เกิน 60 วัน โดยมีวตั ถุประสงค์มใิ ช่เพือ่ การประกอบอาชีพ
หรือมีรายได้จากท้องถิน่ นัน้ ๆ
ประเภทของนักท่องเที่ยว (2)
•
•
•
•
1. Transit คือ ผูท้ อ่ี ยู่ในระหว่างเดินทางยังไม่ถงึ จุดหมาย ในระหว่างทางได้
แวะหยุดพักกลางทาง
2. Visitor คือ ผูม้ าเยือน การไปสถานทีแ่ ห่งนัน้ ด้วยเหตุผลทีม่ ใิ ช่การค้าหา
รายได้ และเป็ นสถานทีท่ ม่ี ไิ ด้อาศัยอยู่เป็ นประจา
3. Tourist คือ ผูเ้ ดินทางมาเยือนชัว่ คราวหรือผูเ้ ยีย่ มเยือนที่คา้ งคืนสถานที่
แห่งนัน้ ไม่ ตา่ กว่า 24 ชัว่ โมง แต่ไม่เกิน 60 วัน เพือ่ พักผ่อน พักฟื้ น ทัศน
ศึกษา ประกอบศาสนกิจ แข่งกีฬา ติดต่อธุรกิจ ร่วมประชุม สัมมนา
4. Excursionist คือ นักทัศนาจร หรือ ผูเ้ ดินทางมาเยือนชัว่ คราว
ไม่เกิน 24 ชัว่ โมง การไปเทีย่ วแบบวันเดียวกลับ ไม่พกั ค้างคืน
ความสาคัญของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
•
•
•
อุตสาหกรรมท่องเทีย่ วก่อให้เกิดรายได้เป็ นเงินตราต่างประเทศ
องค์การสหประชาชาติประกาศว่า " การเดินทางท่องเทีย่ วเป็ นสิทธิมนุษยชนอย่างหนึ่งที่
รัฐพึงสนับสนุน “
อุตสาหกรรมท่องเทีย่ วช่วยสนับสนุนฟื้ นฟู อนุรกั ษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณี
ลักษณะของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
•
•
•
1. เป็ นอุตสาหกรรมบริการ สินค้าคือ บริการ ได้แก่ ความสะดวกในด้านต่าง ๆ เป็ น
สินค้าทีไ่ ม่มตี วั ตน ไม่สามารถจับต้องได้
2. เป็ นอุตสาหกรรมทีส่ นิ ค้าไม่อาจจัดส่งให้แก่ผูซ้ ้อื ได้ ผูซ้ ้ อื ต้องเดินทางมาซื้อสินค้า
หรือใช้บริการด้วยตนเองไม่วา่ จะเป็ นการขนส่ง ทีพ่ กั แรม หรือแหล่งท่องเทีย่ ว
3. เป็ นอุตสาหกรรมทีไ่ ม่มขี ดี จากัดในการผลิตและจาหน่าย เพราะไม่ตอ้ งใช้วตั ถุดบิ ใน
การ ผลิต ผลผลิตคือทรัพยากรทางการท่องเทีย่ วทีม่ อี ยู่แล้ว ต้องการเพียงการ
จัดระบบ การอนุรกั ษ์และการพัฒนาอย่างถูกวิธี ก็จะเป็ นอุตสาหกรรมทีใ่ ห้ผลผลิตไม่
มีวนั สิ้นสุด
ลักษณะของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
 4.
เป็ นอุตสาหกรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอืน่ ๆ แทบทุกประเภทก่อให้เกิดการ
ลงทุน ทางอุตสาหกรรม การนาเอาทรัพยากรของประเทศมาใช้ประโยชน์อย่างสูงสุด
ทัง้ ทางด้านแรงงาน และวัตถุดบิ
 5. เป็ นอุตสาหกรรมทีส่ ร้างความเจริญและเสริมความมันคงปลอดภั
่
ยให้แก่
ท้องถิน่ โดยเฉพาะท้องถิน่ ทีไ่ ด้รบั การพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเทีย่ ว
 6. เป็ นอุตสาหกรรมทีม
่ งุ่ สร้างความจรรโลงใจ มีผลต่อสันติภาพ สัมพันธไมตรี และ
ความเข ้าใจอันดีระหว่างมนุษยชาติ
ธุรกิจท่องเที่ยว (Tourism Business)
 พ.ร.บ.ธุรกิจนาเทีย่ วและมัคคุเทศก์ พ.ศ.2535
มาตรา 3 นิยามคาว่า “ ธุรกิจนาเทีย่ ว ”
หมายความว่า “ การประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการจัดหรือให้บริการ หรืออานวยความ
สะดวกเกี่ยวกับการเดินทาง ทีพ่ กั อาหาร ทัศนาจร และหรือมัคคุเทศก์ให้แก่
นักท่องเทีย่ ว ”
ประเภทของธุรกิจนาเที่ยว (1)
•
•
•
ประเภทของธุรกิจนาเที่ยว แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ
1. Travel Agent บุคคลหรือบริษทั ทีม่ คี วามสามารถจัดการนาเทีย่ ว การ
ขนส่ง ทีพ่ กั อาหาร การรับ-ส่งทัง้ ขาไปและขากลับ การนาสถานทีแ่ ละงานอืน่ ๆ ของการ
เดินทางซึง่ เป็ นการบริการให้แก่สาธารณชน เช่น บริษทั นาเทีย่ ว จากัด มีความชานาญ
เบ็ดเสร็จทุกอย่าง สามารถดาเนินการเองได้
2. Tour Operator บริษทั มีความชานาญในการจัดและดาเนินการเกี่ยวกับ
การ ตลาด ทางด้านการจัดการเดินทางไปพักผ่อน แบบ Inclusive Tour โดย
เก็บเงินล่วงหน้าแล ้วมอบให้ Travel Agent เป็ นผูข้ าย แต่บางครัง้ ก็ลงมือขาย
แก่นกั ท่องเทีย่ วโดยตรง
ประเภทของธุรกิจนาเที่ยว (2)
Wholesaler บริษทั มีความชานาญงานในงานเดินทาง คิดและเสนอ
โปรแกรมที่ จัดไว้แบบเหมาหรือจัดขึ้นตามแต่จะรับคาสัง่ มาจากลูกค้าแล้วมอบให้
Travel Agent รับไปขายต่อ Wholesaler ต่าง
กับ Tour Operator คือ Wholesaler มักไม่เสนอรายการ
เดินทางต่อบริษทั นาเทีย่ วบ่อย ๆ แต่ Tour Operator จะเสนอขาย
ให้แก่ Retailer ด้วย
 3.
ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว (1)
1.ธุรกิจการขนส่ง ( Transportation) :
ทางบก : รถยนต์ และรถไฟ ธุรกิจเกี่ยวเนื่องของการขนส่งทางบกนี้ ได้แก่
บริการพาหนะในท้องถิน่ เช่น รถสามล้อ รถม้า เกวียน รถลาก ช้าง รถโดยสารประจา
ทาง รถบริการนาเทีย่ ว รถยนต์ส่วนบุคคล ฯลฯ
ทางเรือ : เรือเดินสมุทร และเรือกลไฟ ธุรกิจเกี่ยวเนื่องได้แก่ เรือใบ เรือ
ลากจูง เรือแจว เรือพาย เรือหางยาว แพ ฯลฯ
ทางอากาศ : อากาศยาน หรือเครื่องบิน
•
ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว (2)
•
2. ธุรกิจอาหารและที่พกั แรม จาแนกเป็ นประเภทต่าง ๆ ตามลักษณะการใช้
–
–
–
–
–
–
–
โรงแรม คือ ทีพ่ กั แรมทีส่ ร้างขึ้นเฉพาะและแบ่งเป็ นห้องพัก มีสง่ิ อานวยความสะดวกแก่นกั
เดินทาง และเก็บค่าเช่าเป็ นรายห้อง
เกสต์เฮาส์ คือ บ้านทีด่ ดั แปลงหรือสร้างขึ้นและแบ่งห้องเป็ นทีพ่ กั แรม โดยเก็บค่าเช่า
บังกะโล คือ ทีพ่ กั แรมทีก่ ลุม่ บุคคลหรือสถาบันจัดไว้เพือ่ ให้นกั ท่องเที่ยวโดยเก็บค่าเช่า
รีสอร์ท คือ ทีพ่ กั ทีม่ ลี กั ษณะห้องพักเป็ นหลัง ๆ มีบริเวณแวดล้อมด้วยธรรมชาติ
โมเต็ล คือ ทีพ่ กั ทีส่ ร้างขึ้นเฉพาะ โดยเก็บค่าเช่า มีหอ้ งพักแต่ละห้อง หรือมีหอ้ งพักส่วนหนึ่งทีม่ ี
ลักษณะและการใช้สอยเช่นเดียวกับโรงแรม
บ้านรับรอง คือ ทีพ่ กั หน่วยงานราชการ บริษทั หรือเอกชนจัดไว้เพือ่ ใช้รบั รองหรือพักผ่อน โดย
ไม่เก็บค่าเช่า
บ้านญาติหรือบ้านเพือ่ น คือ บ้านญาติมติ รของนักท่องเทีย่ วทีจ่ ดั ให้เป็ นที่พกั แรม โดยไม่เก็บค่า
เช่า
ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว (3)
•
•
•
•
•
3. ธุรกิจการนาเที่ยว
ธุรกิจการนาเทีย่ วประกอบด้วย บริษทั นาเทีย่ ว (Tour Operator) และตัวแทน
จาหน่าย การท่องเทีย่ ว (Travel Agency) และแหล่งท่องเทีย่ ว
(Tourist Destination) โดยบริษทั นาเทีย่ ว
(Tour Operator) ทาหน้าทีจ่ ดั รายการนาเทีย่ ว และบริการนาเทีย่ ว
การจัดรายการนาเทีย่ วของบริษทั นาเทีย่ วจาแนกเป็ น
1.
จัดรายการนาเทีย่ วเบ็ดเสร็จ (Package Tour) ส่งให้ตวั แทนไป
จาหน่าย
2.
จัดรายการนาเทีย่ วประเภทต่าง ๆ สาหรับผูส้ นใจเฉพาะเรื่องให้แก่องค์กร สถาบัน
วิชาชีพต่าง ๆ และกลุม่ เอกชนทีม่ คี วามสนใจเฉพาะเรื่อง
หน่ วยงานราชการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว
: www.mots.go.th
 2. การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย :
http://thai.tourismthailand.org
 1.กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา
รูปแบบการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว
 1.การท่องเทีย่ วภายในประเทศ
 2.การท่องเทีย่ วระหว่างประเทศ
 3.การท่องเทีย่ วเพือ่ สังคม
(Sustainable Tourism) การท่องเทีย่ ว
เชิงอนุรกั ษ์ (Conservation Tourism)
 4.การท่องเทีย่ วแบบยัง่ ยืน
ทรัพยากรการท่องเที่ยว
ประเภทธรรมชาติ : เป็ นแหล่งท่องเทีย่ วทีม่ คี วามสวยงามเกิดขึ้นตามธรรมชาติ
 2. ประเภทประวัตศ
ิ าสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ และศาสนา
 3. ประเภทศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และกิจกรรม
 1.
การแบ่งส่วนบริหารงานในบริษทั นาเที่ยว
 โดยทัวไปบริ
่
ษทั นาเทีย่ วจะแบ่งส่วนบริหารงานออกเป็ น
 1.ฝ่ ายขาย
 2.ฝ่ ายจัดการท่องเทีย่ ว
 3.ฝ่ ายการเงิน
3 ฝ่ ายใหญ่ ๆ ได้แก่
งานในบริษทั นาเที่ยว: ฝ่ ายขาย
•
•
•
•
•
•
•
•
•
1. ฝ่ ายขาย
1.1 แผนกส่งเสริมการขาย หรือประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่
1.1.1หาตลาดใหม่ ๆ
1.1.2วิเคราะห์ตลอดท้องถิน่ ในระดับภูมภิ าค และตลาดต่างประเทศ
1.1.3วางแผนกาหนดราคา
1.1.4ประชาสัมพันธ์รายการท่องเทีย่ ว
1.2แผนกเผยแพร่โฆษณา มีหน้าที่
1.2.1ออก แบบสือ่ ประชาสัมพันธ์ เช่น แผ่นเย็บ แผ่นพับ และหนังสือเล่มเล็ก ๆ ตลอดจนสิง่
อืน่ ๆ เช่น วีดโี อ หรือภาพยนตร์เพือ่ ส่งเสริมการขาย
1.2.2ประสานงานกับแผนกส่งเสริมการขายเพือ่ ประชาสัมพันธ์กจิ กรรมของบริษทั
งานในบริษทั นาเที่ยว: ฝ่ ายจัดการท่องเที่ยว (1)
 2.
ฝ่ ายจัดการท่องเทีย่ ว
 2.1 แผนกธุรการ มีหน้าที่




2.1.1 ดูแลด้านเอกสารของสานักงาน
2.1.2 ดูแลด้านข้อมูลข่าวสาร
2.1.3 โต้ตอบจดหมายสิง่ พิมพ์
2.1.4 จัดส่งเอกสาร
งานในบริษทั นาเที่ยว: ฝ่ ายจัดการท่องเที่ยว (2)
 2.2
แผนกท่องเทีย่ วภายในประเทศ
 2.3 แผนกท่องเทีย่ วต่างประเทศ
 2.4 แผนกท่องเทีย่ วจากต่างประเทศ
 2.5 แผนกท่องเทีย่ วเป็ นกลุม
่ เล็กและท่องเทีย่ วแบบอิสระ
 2.6 แผนกท่องเทีย่ วโดยเรือเดินทะเล และท่องเทีย่ วโดยการเช่าเหมาลา
 2.7 แผนกท่องเทีย่ วเพือ่ เป็ นรางวัลและจัดการประชุม
 2.8 แผนกท่องเทีย่ วเหมาจ่าย
งานในบริษทั นาเที่ยว: ฝ่ ายจัดการท่องเที่ยว (3)
 2.5





– 2.8 มีหน้าที่
1. จัดการเดินทางให้แก่ลูกค้าทัง้ เป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุม่
2. จัดทากาหนดการ
3. กาหนดราคา
4. ประสานงานกับหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง
5. จัดทาแฟ้ มข้อมูลนักท่องเทีย่ ว
งานในบริษทั นาเที่ยว: ฝ่ ายจัดการท่องเที่ยว (4)
•
•
•
2.9 แผนกยานพาหนะ มีหน้าทีจ่ ดั หายานพาหนะในการขนส่งนักท่องเทีย่ ว
2.10 แผนกบริหารงานบุคคล มีหน้าที่
2.10.1 สรรหาและบรรจุพนักงาน
2.10.2 ฝึ กอบรมพนักงาน
2.11 แผนกรับจอง มีหน้าที่
2.11.1 รับจองทีพ่ กั
2.11.2 จาหน่ายบัตรโดยสารรถยนต์ รถไฟ และเครื่องบิน
2.11.3 จาหน่ายบัตรเข้าชมการแสดงต่าง ๆ
2.11.4 สารองทีพ่ กั และทีน่ งั ่ โดยสารตลอดจนทีน่ งั ่ ชมการแสดง
งานในบริษทั นาเที่ยว: ฝ่ ายการเงิน
 3.
ฝ่ ายการเงิน มีหน้าทีด่ า้ นการเงินและบัญชีรบั – จ่ายทุกประเภทของบริษทั
ความสาเร็จในด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย (1)
 ประเทศไทยประสบความสาเร็จในด้านการส่งเสริมการท่องเทีย่ วด้วยการใช้มาตรการ
ทางด้านการตลาด ดึงดูดนักท่องเทีย่ วในขณะทีม่ ปี จั จัยส่งเสริมให้เกิดสัมททธิผล คือ
 1. ประเทศ ไทยเป็ นประเทศทีต่ งั้ อยู่ในทาเลทีเ่ หมาะสมในฐานะศูนย์กลางการบิน
พาณิชย์แห่ง ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึง่ ทาให้สายการบินต่าง ๆ แวะมาลงที่
สนามบินกรุงเทพฯ มาก ความสะดวกในการเดินทางเข้าถึงเป็ นผลให้ประเทศไทยมี
ความเติบโตทางการท่อง เทีย่ วอย่างเป็ นทีน่ ่าพอใจ
ความสาเร็จในด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย (2)
•
•
•
•
•
2. ประเทศไทยมีทรัพยากรการท่องเทีย่ วจานวนมากและหลากหลายทัง้ ทีเ่ ป็ น
แหล่งท่องเทีย่ ว ธรรมชาติ เช่น หาดทราย ชายทะเล หรือป่ าเขาทีม่ ที วิ ทัศน์สวยงาม มี
แหล่งท่องเทีย่ วทางด้านประวัตศิ าสตร์โบราณวัตถุ โบราณสถาน ประเพณีวฒั นธรรม
ตลอดจนวิถชี วี ติ ของชาวไทยทีน่ ่าสนใจสามารถนาไปใช้ส่งเสริมเผยแพร่โฆษณาใน
ตลาดการท่องเทีย่ วได้ดี
3. ประเทศไทยได้พฒั นาสิง่ อานวยความสะดวกทางการท่องเทีย่ วด้วยความเหมาะสม
ไม่วา่ จะเป็ นด้านทีพ่ กั การขนส่งภายในประเทศ ภัตตาคารร้านอาหาร สินค้าทีร่ ะลึก
ตลอดจน
สิง่ บันเทิงและสวนสนุก
ความสาเร็จในด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย (3)
•
4. คุณลักษณะเฉพาะของคนไทยความเป็ นมิตรไมตรี นิสยั โอบอ้อมอารี ยิ้มแย้ม
แจ่มใส เหมาะกับการประกอบอาชีพ ด้านการท่องเทีย่ ว ซึง่ เป็ นอุตสาหกรรมบริการ
การให้บริการทีถ่ กู ต้องตามาตรฐานสากลเมือ่ ประกอบกับ ความยิ้มแย้ม ความ
อ่อนโยน ทาให้นกั ท่องเทีย่ วเกิดความประทับใจ ช่วยโฆษณาประเทศไทยแบบปากต่อ
ปาก ซึง่ มีประสิทธิผลสูงมาก ทีส่ าคัญทีส่ ุดก็คอื ความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงาน
ภาครัฐและเอกชนกับ ททท. ทีส่ ่งผลให้การท่องเทีย่ วของประเทศไทยประสบ
ความสาเร็จทัง้ ในด้านการส่งเสริม และการพัฒนา ทัง้ นี้เพราะรัฐบาลได้ให้ความสนใจ
อย่างจริงจังมากขึ้นในการพัฒนาอุสาหกรรม ท่องเทีย่ วและได้จดั สรรงบประมาณใน
การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเทีย่ วให้กบั ททท. มากขึ้น
ทีม่ าของข้อมูล
 http://www.praveetelearning.com/
(ผูบ้ รรยายขอขอบคุณผูใ้ ห้ขอ้ มูล/เจ้าของแหล่งสืบค้นข้างต้น
ในการจัดทาเอกสารชุดนี้ ไว้ ณ ทีน่ ้ ดี ว้ ย)
ขอบคุณครับ