1. การนับศักราชแบบอินเดียที่แพร่หลายเข้ามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็น

Download Report

Transcript 1. การนับศักราชแบบอินเดียที่แพร่หลายเข้ามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็น

1. การนับศักราชแบบอินเดียที่แพร่หลายเข้า
มาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นแบบใด
รัฐศักราช
2) จุลศักราช
3) มหาศักราช
4) พุทธศักราช
1)
จุลศักราช (จ.ศ)
 ไทยรับจากพม่า ใช้ตง
ั้ แต่ลา้ นนา-ส ุโขทัย-อย ุธยา
– ร.5
 ใช้ตง
ั้ แต่ พ.ศ. 1182
 ใช้คานวณบอกเวลาในจารึก พงศาวดาร
 (จ.ศ.+1181 = พ.ศ.)
 (พ.ศ.-1181 = จ.ศ.) 2551-1181 = …..
มหาศักราช ม.ศ.
(เป็นศักราชที่เริม่ เมื่อ พ.ศ. 621 (ค.ศ. 78) เกี่ยวข้องกับปีครองราชย์
ของพระเจ้ากนิษกะ (Kanishka) กษัตริยท์ ี่ปกครองอาณาจักรก ุษาณะ
 กลมุ่ ประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รบ
ั มาจากพ่อค้าและพราหมณ์
อินเดีย
 การแปลงมหาศักราช เป็นพุทธศักราช ให้เอา 621 บวกปี มหาศักราช
นัน้ ก็ได้จะได้ปี พุทธศักราช (ม.ศ +621 = พ.ศ.)

 พ.ศ 2551-621 = ……………. (ม.ศ.)
 พุทธศักราช
มี 2 แบบ
1. ไทย ลาว เขมร เริ่ม พ.ศ. 1 เมื่อ พระพุทธเจ้าปรินิ
พานไปแล้ว 1 ปี
2. อินเดีย ศรีลงั กา พม่า เริ่ม พ.ศ. 1 เมื่อปีพระพุทธเจ้า
ปรินิพพาน จึงมากกว่าเมืองไทย 1 ปี
เช่น พ.ศ. 2551 แต่ศรีลงั กา พม่าจะเป็น พ.ศ. 2552
รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.)
 รัชกาลที่ 5
ทรงตั้งขึน้ ในปี ทีต่ ้งั กรุงรัตนโกสิ นทร์ 2325
 ยกเลิกในสมัย ร.6
(ร.ศ. + 2324 = พ.ศ.)
 พ.ศ.
– 2324 = ร.ศ.)
ร.ศ 112 + 2324 ............
2551 - 2324 ........
ฮ.ศ. ฮิจเลาะห์ ศักราช
เริ่มใช้ เมือ
่ ท่ านนบีมูฮัมหมัดกระทาการ
ฮิจเราะห์ (อพยพโยกย้ าย)จากเมือง
เมกกะไปยังเมืองเมดินะ
พ.ศ.-1122 = ฮ.ศ.
2551-1122 = ……………..
2. ประวัติศาสตร์รว่ มสมัยหรือย ุคร่วม
สมัยมักจะมีลกั ษณะสาคัญอย่างไร
1) เป็นช่วงเวลาที่ดาเนินเรือ่ ยมาจนถึงปัจจ ุบัน
2) เป็นช่วงเวลาที่มน ุษย์มีพฒ
ั นาการต่างจากสัตว์
3) เป็นช่วงเวลาที่มน ุษย์เริม่ ค้นพบวิทยาการสมัยใหม่
4) เป็นช่วงเวลาที่เหต ุการณ์เกิดขึ้นคล้ายกันท ุกแหล่ง
อารยธรรม
ประวัติศาสตร์รว่ มสมัย
(Contemporary History)

ตัง้ แต่ ค.ศ. 1945 ซึ่งเป็นปีสิ้นส ุด
สงครามโลก ครัง้ ที่ 2 จนกระทัง่ ปัจจ ุบัน
โดยมีเหต ุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้น เช่น
สงครามเย็น
3. เหต ุการณ์ของโลกที่เรียกว่า “สงครามเย็น”
จัดอยูใ่ นช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ช่วงใด
1)
สมัยกลาง
2) สมัยใหม่
3) สมัยโบราณ
4) ย ุคร่วมสมัย
สงครามเย็น (COLD WAR)
ช่วง ค.ศ.1945-1991
 ลักษณะเป็นสงครามจิตวิทยา/ความตึงเครียด
 โลกเสรีและกลมุ่ ประเทศคอมมิวนิสต์
 ต่อสูโ้ ดยวิธีการต่างๆ
ยกเว้น การทาสงคราม
กันโดยเปิดเผย เพื่อขัดขวางการขยายอานาจ
ความขัดแย้งของสงครามเย็น


เกาหลีถกู แบ่งออกเป็น 2 ประเทศ ที่มีอ ุดมการณ์ต่างกันใช้เส้น
ขนานที่ 38 องศาเหนือ
เวียดนามถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยใช้เส้นขนานที่ 17 องศา
เหนือเป็นเขตแบ่งชัว่ คราว

จัดตัง้ องค์การสนธิสญ
ั ญาเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
(Seato)

ภูมิภาคตะวันออกลาง ฝ่ายโลกเสรีจึงหาทางสกัดกัน้ ด้วยการ
จัดตัง้ องค์การสนธิสญ
ั ญาเซ็นโต หรือองค์การสนธิสญ
ั ญากลาง
(Central Treaty Organization:CENTO)
การรวมกลมุ่

เศรษฐกิจหรือโคมีคอน (Comecon)
 เศรษฐกิจแก่ประเทศพันธมิตรในร ูปของเงินช่วยเหลือ
เงินกร้ ู ะยะยาว เงินกด้ ู อกเบี้ยต่า ( Marshall Plan)
 องค์การสนธิสญ
ั ญาแอตแลนติกเหนือ (Nato)
 กลมุ่ กติกาสนธิสญ
ั ญวอร์ซอ (Warsaw Pact)
4.
1)
ข้อใดไม่ใช่วิธีการทางประวัติศาสตร์
รวบรวมหลักฐาน
2) วิเคราะห์หลักฐาน
3) ตัดสินเหต ุการณ์ในอดีต
4) นาเสนอเรือ่ งราวที่คน้ พบ
วิธีการทางประวัติศาสตร์
1.
การตัง้ หัวข้อ
2. การรวบรวมหลักฐาน คือ การสารวจ หลักฐานในหัวข้อ
ที่ตนเองต้องการศึกษา ทัง้ หลักฐานชัน้ ต้น (ปฐมภ ูมิ)
และหลักฐานขัน้ รอง (ท ุติยภ ูมิ)
3. การวิเคราะห์ และประเมินค ุณค่าของหลักฐาน
4. การสังเคราะห์ / ได้องค์ความรใ้ ู หม่
5. การนาเสนอข้อมูล/เป็นขัน้ ตอนส ุดท้ายในวิธีการทาง
ประวัติศาสตร์
5. “ดร.ประวัติ กาลังอ่านบันทึกประวัติศาสตร์
ของซือหม่า เชียน” จัดว่าอยูใ่ นขัน้ ตอนใดของ
วิธีการทางประวัติศาสตร์
1)
รวบรวมหลักฐาน
2) วิเคราะห์หลักฐาน
3) สังเคราะห์หลักฐาน
4) นาเสนอเรือ่ งราว
6. ข้อใดคือหลักฐานโบราณคดี
1)
ตานาน
2) นิทานพื้นบ้าน
3) กาแพงเมือง
4) จดหมายเหต ุ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
- หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ร่ องรอยการ
กระทา การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัย
ของมนุษย์ ความคิดอ่ าน โลกทัศน์ ความรู้ สึก
ประเพณี สิ่ งทีม่ นุษย์ จับต้ อง ส่ วนใหญ่ มกั จะอยู่ใน
ธรรมชาติ และในวัฒนธรรมของมนุษย์
ประเภทของหลักฐานตามย ุคสมัย
1. หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ไม่มีการ บันทึ กเป็น
อักษร
2. หลักฐานสมัยประวัติศาสตร์ มน ุษย์สามารถประดิษฐ์
ตัวอักษรและบันทึกในวัสด ุต่างๆ
ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ประเภทของหลักฐานตามลักษณะ
1. หลักฐานประเภทลายลักษณ์อกั ษร ได้แก่
จารึก ตานาน พงศาวดาร ฯลฯ
2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อกั ษร ได้แก่
หลักฐานโบราณคดี ทัง้ ก่อนประวัติศาสตร์
และสมัยประวัติศาสตร์
ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
1. หลักฐานชัน้ ต้น หรือหลักฐานปฐมภ ูมิ เช่น
สนธิสญ
ั ญา จดหมายเหต ุ กฎหมาย
เจดีย ์ ภาพเขียน เครือ่ งประดับ ฯลฯ
2. หลักฐานชัน้ รองหรือหลักฐานท ุติยภมู ิ คือ
หลักฐานที่วิเคราะห์ตีความ เช่น เอกสาร
ประวัติศาสตร์ต่างๆ เป็นต้น
ตานาน
เรื่องเล่าในอดีต
กฎแห่ งกรรม
พงศาวดาร รวบรวมจากตานาน
เอกสาร บันทึก ถือ
จารึก
จดหมาย
เหตุ
ความสาคัญ วัน เดือน
ปี ที่เกิดขึน้
บันทึกเหตุการณ์ สาคัญ
ๆ เกีย่ วกับ
พระมหากษัตริย์ และ
ศาสนา
การจดบันทึกข่ าว หรือ
เหตุการณ์ ทเี่ กิดขึน้ ใน
วัน เดือน ปี นั้น ๆ
เรื่องของบุคคล การสร้ างเมือง ศาสนา โบราณสถาน
เน้ นเนือ้ หาความสาคัญของอาณาจักร บทบาท
พระมหากษัตริย์ ความเจริญ ความเสื่ อม สะท้ อน
สภาพสั งคม ในราชสานัก
พบมากทีส่ ุ ดในประเทศไทย ค่ อนข้ างแม่ นยา ในเรื่อง วัน
เดือน ปี เพราะจารึกในช่ วงเวลาที่เกิดขึน้
มีความถูกต้ อง แม่ นยา ในเรื่อง วัน เดือน ปี มากทีส่ ุ ด
7. ร่องรอยของมน ุษย์ในข้อใดไม่
จัดว่าอยูใ่ นย ุคหินเก่า
1)
มน ุษย์ชวา - ประเทศอินโดนีเซีย
2) มน ุษย์ปักกิ่ง - ประเทศจีน
3) มน ุษย์น้าแข็ง - ประทศอิตาลี
4) มน ุษย์นีแอนเดอร์ทลั - ประเทศเยอรมนี
ยุคก่ อนประวัติศาสตร์ แบ่ งออกเป็ น 3 ยุค
1. ยุคหินเก่ า  เริ่มป้องกันตัวเอง ประดิษฐ์ อาวุธ เช่ น ขวานที่ทาจากหิน
ค้ อนไม่ มีด้าม รู้จักใช้ ไฟ รู้จักการนุ่งห่ ม เก็บผลไม้ กนิ ล่ าสั ตว์
2. ยุคหินกลาง  เริ่มสร้ างที่อยู่ด้วยไม้ แทนการอยู่ตามถา้ ทามีดจากหิน
และฉมวกใช้ ล่าสั ตว์ เป็ นอาหาร มีความเชื่อทางศาสนา รู้จักการวาดรูปตามฝา
ผนังถา้
3. ยุคหินใหม่  เริ่มรู้จักประดิษฐ์ สิ่งของให้ สวยงาม ตั้งหลักแหล่ งตาม
ลุ่มแม่ น้า สร้ างบ้ านเรือน เพาะปลูก เลีย้ งสั ตว์ มีความคิดทางศาสนา มีหลักฐาน
เช่ น แนวเสาหินในอังกฤษ และบราซิล จัดเป็ นต้ นกาเนิดของแหล่ งวัฒนธรรมลุ่ม
น้าของมนุษย์ ได้ แก่ อียปิ ต์ เมสโปเตเมีย
8.
ข้อใดเขียนถ ูกต้องเกี่ยวกับปีก่อนมีการใช้ ค.ศ. 76 ปี
B.C. 76
2) 76 B.C.
3) A.D. 76
4) 76 A.D.
1)
การนับศักราชสากล
 คริ สต์ศกั ราช
นับปี ที่พระเยซูถือกาเนิด ปี ที่ 1 หรื อ ค.ศ. 1
 A.D. (Anno Domini) = ปี แห่ งพระเจ้า
 B.C (Before Christ) = ปี ก่อนพระเยซูถือกาเนิ ด
 C.E (Common Era) = ศักราชร่ วม หรื อสากลศักราช
 BCE (Before Common Era ) = ก่อนสากลศักราช
10. ข้อใดแสดงความสัมพันธ์และความต่อเนือ่ งของบุคคลยุคสมัย
ใดถูกต้อง
1)
สงครามโลกครัง้ ที่ 1 ย ุคจักรวรรดินิยม
การปฏิวตั ิอ ุตสาหกรรม
2) ย ุคจักรวรรดินิยม การปฏิวต
ั ิอ ุตสาหกรรม
การปฏิวตั ิวิทยาศาสตร์
3) การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ การปฏิวตั ิอ ุตสาหกรรม
ย ุคจักรวรรดินิยม
4) การปฏิวตั ิอ ุตสาหกรรม การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์
สงครามโลกครัง้ ที่ 1
11. ข้อใดไม่ใช่ขนั้ ตอนการสร้างองค์ความรูใ้ หม่ดว้ ยวิธีการ
ทางประวัตศิ าสตร์
1)
การรวบรวมข้อมูล
2) การวิเคราะห์ตีความ
3) การตัง
้ ประเด็นการศึกษา
4) การเปรียบเทียบข้อมูลกับผูอ้ ื่น
12. วรรณกรรมที่มคี ณ
ุ ค่าทางศาสนาในสมัย
สุโขทัยได้แก่ขอ้ ใด
1)
ศิลาจารึก
2) ไตรภูมิพระร่วง
3) จินดามณี
4) ตานานนางนพมาศ
ไตรภูมพิ ระร่ วงหรือไตรภูมกิ ถา ...
13. แมกนาคาร์ตา ซึ่งกล่าวกันว่าเป็น
รัฐธรรมนูญฉบับแรกของโลกมีสาระสาคัญ
ในเรือ่ งใด
1) มน ุษย์ท ุกคนเกิดมาอิสระ จึงมีสิทธิเท่าเทียมกัน
2) ประชาชนมีเสรีภาพในการพูดและการนับถือศาสนา
3) อานาจการปกครองแบ่งเป็น 3 ส่วน เพื่อคม
้ ุ ครอง
สิทธิ และเสรีภาพของประชาชน
4) อานาจของกษัตริยม์ ีขอบเขตจากัด ต้องคานึงถึ งบทบาท
ของรัฐสภาด้วย
กฎบัตรแมกนาคาร์ตา ค.ศ.1215
ขัดแย้งระหว่างสันตะปาปา/พระเจ้าจอห์น และขุนนาง
 บังคับให้พระมหากษัตริ ยท
์ รงสละสิ ทธิ์บางอย่าง
 ยอมรับกระบวนการทางกฎหมาย
่ ายใต้กฎหมาย
 พระมหากษัตริ ยต์ อ้ งอยูภ

14. “ดารงชีวิตอยูใ่ นถ้า ประดิษฐ์เครือ่ งมืออย่าง
หยาบ เพื่อใช้ลา่ สัตว์” จัดเป็นมน ุษย์ย ุคใด
1)ย ุคหินเก่า
2) ย ุคสาริด
3) ย ุคเหล็ก
4)ย ุคโลหะ
15. ข้อใดไม่ถ ูกต้อง
1)
ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ หมายถึง
ประวัติศาสตร์ย ุคกรีก-โรมัน
2) ประวัติศาสตร์สมัยกลางเป็นย ุคสมัยที่อารย
ธรรมหย ุดชะงัก
3) ประวัติศาสตร์สมัยใหม่เป็นย ุคสมัยที่มีความ
เจริญก้าวหน้ารวดเร็วยิง่ กว่าสมัยใด
4) ประวัติศาสตร์รว่ มสมัยจะเป็นเหต ุการณ์ที่
16. เราใช้หลักฐานทางโบราณคดีเพื่อ
ศึกษาเรือ่ งราวสมัยใด
1)
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัย
ประวัติศาสตร์
2)สมัยกลาง
3)สมัยใหม่
4)สมัยปัจจุบัน
17.พระราชวังแวร์ซายส์ จัดเป็นสถาปัตยกรรม
แบบใด
1)บารอด
2) โกธิค
3) ไบแซนไทน์
4)โรมันเนสก์
18.“ตระพังเงิน ตระพังทอง” จัดเป็นภ ูมิ
ปัญญาในสมัยใด
1) ทวารวดี
2) ส ุโขทัย
3) เชียงแสน
4) อย ุธยา
19.ภ ูมิปัญญาไทยแบบดัง้ เดิมมีวิธีการสืบทอด
วัฒนธรรมอย่างไร
1) คร ูถ่ายทอดให้ศิษย์เป็นหมูค
่ ณะตามช ุมชนต่างๆ
2) คร ูนาหลักธรรมทางศาสนามาประย ุกต์ใน
การสอน
3) คร ูรับสอนเฉพาะที่เป็นคนท้องถิ่นเดียวกัน
4) คร ูผูม้ ีความชานาญสอนศิษย์แบบตัวต่อตัว
20. การกาหนดสิทธิหน้าที่ความรับผิดชอบ
ของบ ุคคลต่อสังคม และบ้านเมือง หรือการถือ
ครองกรรมสิทธิ์ในที่ดิน หมายถึงระบบใดใน
สมัยกร ุงศรีอย ุธยา
1)
ระบบศักดินา
2) ระบบฟิวดัล
3) ระบบไพร่
4) ระบบทาส
21.“เชื่อผูน้ า ชาติพน้ ภัย” เป็นนโยบาย
การปล ุกกระแสนิยมความรักชาติในสมัย
นายกรัฐมนตรีคนใด
1)จอมพล ป. พิบลู สงคราม
2)จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
3) จอมพลถนอม กิตติขจร
4)พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
22. “การปลดข้าราชการออก” เป็นนโยบาย
แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจตกต่าของรัชกาลใด
1)รัชกาลที่ 5
2) รัชกาลที่ 6
3) รัชกาลที่ 7
4)รัชกาลที่ 8
23. “คลาสสิค” ตามความหมายของศิลปะ
ย ุโรปหมายถึงศิลปะใด
1)ศิลปะสมัยฟ้ ื นฟูศิลปวิทยาการ
2)ศิลปะเน้นเรือ่ งอารมณ์ ความรัก
3) ศิลปะที่ผป
้ ู ระดิษฐ์สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ
ไม่มีการเลียนแบบ
4)ศิลปะสะท้อนอารมณ์ และร ุนแรงเกินจริง
การฟื้ นฟูวทิ ยาการ (Renaissance)
1.(กรีกและโรมัน) เพราะความเสื่อมของคริสต์ศาสนา และการ
ขยายตัวของชนชัน้ กลาง
2. การสารวจและการค้นพบดินแดนใหม่ สมัยแห่งการค้นพบ (Age of
Discovery)
3. การปฏิร ูปศาสนา (C-16) การปฏิร ูปภายในศาสนจักร และการ
ปฏิร ูปภายนอกศาสนจักรออกเป็น โรมันคาทอลิก และนิกาย
โปรเตสแตนต์
4. การปฏิวตั ิวิทยาศาสตร์และย ุคแห่งเหต ุผล (C-17-18) เกิดแนว
ปรัชญาสาคัญ 2 แนว
- ปรัชญามน ุษยนิยม
- ปรัชญาธรรมชาตินิยม
24.ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะสภาพสังคม
สมัยกลาง
1) ศาสนาจักรมีอิทธิพลต่อประชาชน
2) ระบบศักดินาสวามิภกั ดิ์และระบบอ ุปถัมภ์
3) พระมหากษัตริยม
์ ีอานาจเด็ดขาดในการ
ปกครองเหนือศาสนจักร
4) ประชาชนไม่มีความมัน่ คงในชีวิตต้องหา
ความคม้ ุ ครองจากข ุนนาง
สั งคมสมัยกลาง
 ลัทธิฟิวดัล หรื อระบบศักดินาสวามิภก
ั ดิ์ ประกอบด้ วยกลุ่มชน ดังนี้
 พระมหากษัตริย์ ขุนนาง อัศวิน ซึ่งเป็ น
เจ้ าของทีด่ นิ มีชีวติ หรู หรา ฟุ่ มเฟื อย
 สามัญชน  ชาวนาอิสระจะมีทน
ี่ าขนาดเล็ก และทาสติดทีด่ นิ
(Serf)
 พระ แบ่ งออกเป็ นพระชั้นสู งทีร่ ่ ารวยและยากจน
 ชนชั้นปกครอง
25.บ ุคคลใดทาการเรียกร้องเอกราช
ของอินเดียจนประสบความสาเร็จ
1) ยะหะราล เนห์ร ู
2) มะหาตะมะ คานธี
3) รามโมหัน รอย
4)อินทิรา คานธี
26. ผลงานใดไม่ได้เกิดขึ้นในสมัยฟ้ ื นฟู
วิทยาการ
1) ร ูปสลักหินอ่อน “พิเอตา” โดยไมเคิล แอนเจลโล
2) ภาพ “อาหารมื้อส ุดท้าย” โดยดาวินซี
3) วิหารเซนต์ปอล ออกแบบโดยเซอร์ คริสโตเฟอร์
เรน
4) ผลงานดนตรีของบีโธเพน
รูปสลัก Pieta ของ Michelangelo Buonarroti
27.อะไรคือปัจจัยสาคัญที่ส ุดที่ทา
ให้สหภาพโซเวียตล่มสลาย
1) การแก่งแย่งอานาจในหมูผ
่ น้ ู าของสหภาพโซเวียต
2) การเรียกร้องประชาธิปไตยในสหภาพโซเวียต
3) วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจของสหภาพโซเวียต
4) การเรียกร้องเอกราชของรัฐต่างๆ
ในสหภาพโซเวียต
28.ข้อใดคือผลสาคัญที่ส ุดของ
การล่มสลายของสหภาพโซเวียต
1) การเข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพย ุโรป
ของประเทศย ุโรปตะวันออก
2) การสิ้นส ุดของระบบสังคมนิยม
3) การทาลายกาแพงเบอร์ลิน
4) การย ุติสงครามเย็น
29. ประเทศใดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ยงั ไม่ได้เป็นสมาชิก ASEAN
1)
ลาว
2) กัมพูชา
3) พม่า
4)ติมอร์ – เลสเต (โฮเซ รามอส ฮอร์ตาร์)
นายจูมมาลี ไชยะสอน ประธานประเทศลาว

กษัตริย์สีหโมนีแห่ งกัมพูชา
เลขาธิการอาเซียน
 นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ
30. วิกฤตการณ์ 14 ต ุลาคม พ.ศ. 2516
ก่อให้เกิดผลด้านการเมืองที่สาคัญหลาย
ประการ ยกเว้นข้อใด
1)
กลมุ่ อาชีพต่างๆ เคลื่อนไหวเรียกร้องสิทธิ
ประโยชน์และเสรีภาพ
2) มีการเลือกตัง้ รัฐบาลประชาธิปไตยตามที่ระบ ุใน
รัฐธรรมนูญใหม่
3) ทาให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2517
4) ทหารและกองทัพลดบทบาทการเข้ามาเกี่ยวข้องกับ
การเมืองจนถึงปัจจุบนั
วัฒนธรรมแคว้นทวารวดี
 รับอิทธิพลจากอินเดีย
เช่น พระพุทธศาสนา
ฝ่ายเถรวาท
 พระพุทธรูปศิลาขนาดใหญ่ท่าประทับห้อย
พระบาท ศิลาสลักร ูปวงล้อพระธรรมจักรกับ
กวางหมอบ
 นครปฐม ราชบ ุรี ส ุพรรณบ ุรี
วัฒนธรรมแคว้นศรีวิชยั
 ศิลปกรรมตามคติของพระพุทธศาสนาฝ่าย
มหายาน
 ร ูปปั้นพระโพธิสต
ั ว์อวโลกิเตศวร และเจดียพ
์ ระ
บรมธาต ุไชยา
 อาเภอไชยา จังหวัดส ุราษฎร์ธานี และจังหวัด
นครศรีธรรมราช
วัฒนธรรมแคว้นหริภ ุญชัย

ศิลปกรรมเกี่ยวเนื่องในศาสนาพราหมณ์-ฮินด ู และ
อิทธิพลเขมร
 พระปรางค์สามยอด ปราสาทหินพนมรง้ ุ ปราสาทหิน
พิมาย พระพุทธร ูปศิลา และสาริด เทวร ูปพระวิษณุ พระ
อิศวร พระพรหม
 จังหวัดลพบ ุรี
อารยธรรมอียปิ ต์
1. สถาปัตยกรรม คือ การสร้างพีระมิด
2. วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ คือ พบว่า  มีค่าเท่ากับ 3.14
3. การแพทย์
4. การชลประทาน
5. ศาสนานับถือเทพเจ้าหลายองค์ เทพเจ้าสาคัญ คือ ส ุริยเทพ (Re หรือ
Ra) และเทพโอซิรสิ ความเชื่อเรือ่ งอมตะของวิญญาณว่าจะไม่ดบั สูญ
ความเชื่อนี้ทาให้เกิดการทามัมมี่ เพื่อรักษาร่างผูต้ ายไม่ให้เน่าเปื่อย
6. อักษรศาสตร์ คือ เฮียโรกลิฟฟิก (Hieroglyphic)
7. คัมภีรม์ รณะ (Book of the Dead)
คัมภีร์มรณะ
(Book of the Dead)
สงครามคร ูเสด (The Crusades)
 สงครามระหว่าง ศาสนา
 คริสต์ กับ อิสลามและชาวคริสต์
11 ถึง 13
 เนื่องจากชาวคริสต์ตอ
้ งการยึดครองดินแดน
ศักดิ์สิทธิ์ และ เมืองคอนสแตนติโนเปิลหรือเมือง
อิสตันบูล ประเทศต ุรกีในปัจจุบนั
 ในช่วงศตวรรษที่
ผลของสงคราม
 การติดต่อระหว่าง โลกตะวันตกและ
ตะวันออก
 การทาการค้า ซึ่งเรียกว่า ย ุคปฏิรป
ู
การค้า
 ทาให้เกิดย ุค ฟ้ ื นฟูศิลปะวิทยาการ