ประเทศไทยกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน - Tanit Sorat V

Download Report

Transcript ประเทศไทยกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน - Tanit Sorat V

“ประเทศไทยกับการเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน
โดย
ดร.ธนิต โสรัตน์
รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
วันที่ 25 กรกฎาคม 2555
ณ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
1
องค์ ประกอบหลักของประชมคมอาเซียน
(AC : ASEAN Community)
1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN
Political
Security Community – (APSC))
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community
– (AEC))
3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community
– (ASCC))
2
AEC ASEAN+++
ไทยเตรี ยมพร้ อมแล้ วหรื อยัง???
มิติของการพัฒนา
ภาครัฐ:
กลไกสนับสนุน-ขับเคลือ่ น
ภายใต้ ผ้มู ีส่วนได้ -เสีย
ภาคการเมือง :
กาหนดนโยบายสอดคล้อง
ASEAN
+3+6
ภาคประชาชน:
การเปลีย่ นแปลงภายใต้
Single Market & One Society
ภาคธุรกิจ :
ต้ องปรับตัวรับการเปลีย่ นแปลง
www.tanitsorat.com
3
การเคลือ่ นย้ ายสิ นค้ า-บริการ เสรี
1. โอกาสด้ านการค้ าและการลงทุน การค้ าและการลงทุนภายในอาเซียนมีทางเลือ ก
มากขึน้ จากขนาดตลาดที่ จ ะขยายเป็ น 10 ประเทศในอาเซี ย น ที่ มีจ านวนประชากร
รวมกันกว่า 580 ล้ านคน มีมลู ค่า GDP รวมกันถึง 2 ล้ านล้ านดอลลาร์ สหรัฐ
2. ประเทศไทยจะกลายเป็ นส่ วนหนึ่ งของตลาดอาเซียน เป็ นโอกาสหรื อความเสี่ยง
ขึ ้นอยู่กบั ขีดความสามารถในการแข่งขัน
3. อาจเสียพืน้ ที่ตลาดในประเทศ สินค้ าจากเพื่อนบ้ านทั ้งด้ านการนาเข้ าและการย้ ายฐาน
การผลิตเข้ ามาในไทย จะนากลยุทธ์และรูปแบบสินค้ าใหม่ๆ เข้ ามาแทนที่สินค้ าที่ผลิตใน
ประเทศ (มากขึ ้น)
4. ทางเลือกของผู้บริ โภคมากขึน้ ผู้บริ โภคจะได้ ประโยชน์จากขนาดตลาดที่ใหญ่ขึ ้น เช่น
จะทาให้ สนิ ค้ าราคาถูกลง และมีทางเลือกในการบริ โภคสินค้ ามากขึ ้น (แต่อาจทาลายฐาน
อุตสาหกรรมภายในประเทศ)
5. การเปิ ดเสรี ภ าคบริ ก าร ไทยมี ทั ง้ โอกาสและความท้ าทาย โดยเฉพาะจากการ
เคลื่อนย้ ายแรงงานระหว่างกันที่จะทาให้ มีต้นทุนลดลง
6. มาตรการกีดกันทางการค้ าที่ไม่ ใช่ ภาษี (NBT) และการทุ่มตลาดจะสูงขึน้ ซึ่ง
อาเซียนมีระเบียบชัดเจนว่าการจะออกมาตรการกีดกันใดๆ จะต้ องแจ้ งเตือนชาติส มาชิก
ล่ ว งหน้ า และจะต้ อ งเป็ นมาตรการที่ ส ามารถอธิ บ ายได้ อาจเสี่ ย งที่ จ ะถูก เรี ย ก ร้ อง
ค่าเสียหายจากชาติสมาชิกอื่นๆ ที่ได้ รับผลกระทบ
4
ประเทศไทย เป้าหมายลงทุน
1.
2.
3.
4.
5.
ภูมิศาสตร์ ท่ ตี ัง้ ไทยเป็ นศูนย์ กลางภูมิภาค (HUB) เหมาะสมต่อ
การกระจายสินค้ าไป ASEAN และประเทศใกล้ เคียง
แรงงานไทยมีทักษะ มีสถาบันการศึกษาจานวนมากที่มีคุณภาพ
และแรงงานไทยมี ความสามารถในการพัฒ นาการผลิตที่ ต้อ งใช้
ทักษะและงานคุณภาพ
มีกฎหมายชัดเจนและมีความเป็ นสากล เมื่อเทียบกับประเทศ
CLMV และมาเลเซีย ซึง่ เป็ นมุสลิม ไทยมีกฎหมายที่เป็ นสากลและมี
กระบวนการยุติธรรมอันเป็ นที่ยอมรับ
มี โ ครงสร้ างพืน้ ฐานและระบบโลจิส ติก ส์ ท่ ี ดี ทัง้ ในด้ า นน า้ ไฟฟ้า-คมนาคมขนส่ง -ท่าเรื อ-สนามบิน ซึ่งมีความเป็ นมาตรฐาน
และเชื่อมโยงกับประเทศต่างๆ ทัว่ โลก
การลงทุนที่ต้องใช้ เทคโนโลยีและแรงงานทักษะ จะเคลื่อนย้ าย
เข้ ามาในไทยมากขึ ้น
5
AEC ด้ านการเคลื่อนย้ ายแรงงาน
1. ระดับการพัฒนาที่ต่างกัน อาเซียนยังมีอยู่ 2 ระดับที่ต่างกันคือ ประเทศ
กลุม่ หนึ่งมีระดับการพัฒนาไประดับหนึ่งแล้ ว จึงต้ องปรับระดับการพัฒนาคน
ให้ เท่ากัน จึงจะเชื่อมโยงกันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
2. แรงงานไทยขาดทักษะและข้ อจากัดด้ านภาษาอังกฤษ รวมทัง้ ภาษา
ประเทศเพื่ อ นบ้ าน ทั ง้ ด้ านความเชี่ ย วชาญแต่ ล ะสาขา และขาด
ความสามารถในการสื่ อ สารด้ วยภาษาอั ง กฤษ ท าให้ แรงงานไทยไป
ต่างประเทศ ยังเพื่อใช้ กาลังแรงงานเท่านัน้
3. ช่ องว่ างของการพัฒนา การเคลื่อนย้ ายแรงงานระหว่างอาเซียน ขณะที่
ประเทศในอาเซียนยังมีช่องว่างทางเศรษฐกิจ อาจทาให้ บคุ ลากรจากประเทศ
หนึ่งแห่ไปหารายได้ ในอีกประเทศหนึ่งในอาเซียน ทาให้ คนเก่งกระจุ กตัวใน
6
บางประเทศ
การเคลื่อนย้ ายแรงงาน ไทยยังไม่ มีทศิ ทางที่ชัดเจน
1. เศรษฐกิจภายในของไทยพึ่งพาแรงงานข้ ามชาติสูง สินค้ าส่งออกของไทยเชิ ง
ปริ มาณ ร้ อยละ 60-70 เป็ นสินค้ าพื ้นฐาน ใช้ แรงงานเข้ มข้ นสูง ขณะที่ราคาต้ องแข่ง
กับประเทศเพื่อนบ้ าน
2. การกระจุกตัวของแรงงานในประเทศอาเซียนที่พัฒนา การเปิ ดเสรี แรงงานต้ อง
ทาให้ สอดคล้ องกับความต้ องการของภาคธุรกิจ ไม่เช่นนัน้ จะเกิดการกระจุ กตัวของ
แรงงานฝี มืออยูใ่ นประเทศใดประเทศหนึง่
3. การขาดมาตรฐานฝี มือแรงงานในระดับภูมิภาค แต่ละประเทศยังขาดมาตรฐาน
ฝี มือแรงงาน โดยเฉพาะใน 7 สาขา ทัง้ แพทย์ วิศวกร สถาปนิก นักบัญชี ซึ่ง แต่ละ
อาชีพมีใบประกอบวิชาชีพของแต่ละประเทศ
7
การรับมือ AEC ยังมีปัญหา
1. ระบบราชการไทยและรั ฐ วิ ส าหกิ จ ยั ง ไม่ เ อื อ้ ต่ อ การเป็ นสากล ระบบ
ราชการไทยเป็ น “Regulator” ในการกากับและตรวจสอบเอกชน
2. ภาค SMEs ไทยยังอ่ อนแอ ขาดการพัฒนา ปรับปรุง และยกระดับการผลิต
และบริการไปสูก่ ารแข่งขันในระดับภูมิภาค
3. ระบบการเมือง-ความปรองดองในประเทศอ่ อนแอ ปั ญหาความขัดแย้ งใน
ประเทศไม่มี ท างออก การเมื อ งไม่มี ค วามเข้ ม แข็ ง ในการรั บ มื อ กับ การเมื อ ง
ผลประโยชน์ของอาเซียน
4. ปั ญหาปั กปั นพรมแดนรอการประทุ ประเทศไทยและอาเซียนต่างมีปัญหา
เขตพรมแดนทับซ้ อนกัน โดยเฉพาะพื ้นที่ ทะเลและเกาะต่างๆ ขณะที่ประเทศ
ไทยยังมีปัญหาขัดแย้ งการปั กปั นเขตแดนกับประเทศเพื่อนบ้ าน
8
ภาคธุรกิจไทยตั้งรับการเปิ ดเสรีอาเซียนได้ หรือไม่
1. โครงสร้ างพืน้ ฐานขาดการเชื่อมโยง โครงสร้ างพื ้นฐานของไทยพัฒนา
แยกส่วน เน้ นแต่ด้านฮาร์ ดแวร์ แต่ขาดการเชื่อมโยงทังด้
้ านกฎหมาย การ
เชื่อมโยงโหมดขนส่ง การพัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐานแยกส่วน ไม่เกี่ ยวเนื่อง
กัน
2. โครงสร้ างกฎหมายขาดความทันสมัย ยังไม่ชดั เจน เพราะกฎหมายของ
ประเทศยังไม่มีประสิทธิ ภาพ ในด้ านการบังคับใช้ และกฎหมายบางฉบับ
ขาดความทันสมัย (แม้ จะดีกว่าหลายประเทศในอาเซียน)
3. การเมืองต้ องมีการปฏิรูป การผลักดันกฎหมายล่าช้ า และกฎหมายเพื่อ
ประโยชน์ เฉพาะกลุ่ม สภาผู้แทนฯของไทยใช้ แต่เรื่ องการเมื องว่า ใครมี
อานาจมากกว่าใคร และวัดด้ วยเสียงข้ างมาก
9
ภาคธุรกิจไทยตั้งรับการเปิ ดเสรีอาเซียนได้ หรือไม่ (ต่ อ)
4. ต้ นทุนการผลิตของไทยไม่ ใช่ ของถูกอีกต่ อไป ทังด้
้ านค่าแรงซึ่งกลายเป็ น
นโยบายหาเสี ย ง ค่ า พลัง งาน คอร์ รั ป ชั่น ต้ น ทุน การผลิ ต ไม่ ไ ด้ อ ยู่ ใ นจุด ที่
ได้ เปรี ยบเหมือนกับเมื่อก่อน ขณะที่ประเทศอินโดนี เซีย เวียดนาม พม่า ก็มี
ศักยภาพไม่น้อยไปกว่าไทย
5. ขาดมาตรการการย้ ายฐานการผลิตไป ASEAN ที่ชัดเจน ไทยไม่ใช่ชยั ภูมิที่
มีต้นทุนต่า ทัง้ ด้ านสิ่งแวดล้ อม และขาดพืน้ ที่ ทัง้ ด้ านอุต สากรรมและเกษตร
ต่อ ไปต้ องหาชัยภูมิใหม่ ที่ สามารถลดต้ นทุนในกระบวนการผลิตภายใต้ การ
แข่งขันที่รุนแรงในอนาคต
6. ขาดแผนและกลไกขับเคลื่อน ขาดการนาโจทย์ของประเทศ ใน 10 ปี ข้ างหน้ า
เป็ นตัวตัง้ ขาดผลลัพธ์ ที่ชัดเจนต่อการเปิ ดเสรี ขณะที่ยงั ขาดแผนที่จะพัฒนา
อุตสาหกรรมพื ้นฐานและการเกษตรต่อการแข่งขันและการลงทุนใน AEC
10
โอกาสการเข้ าถึงประโยชน์ ของ AEC
1.
2.
3.
4.
5.
Think Change สภาวะแวดล้ อมทางเศรษฐกิจและภูมิสถาปั ตย์ ทังเชิ
้ งพื ้นที่ ธุรกิ จ รวมทัง้
ระบบสถาบัน และวัฒนธรรม โดยเฉพาะวิถีของคนในสังคมจะมีการเปลี่ยนแปลงแบบยก
เครื่ อง
Survival ต้ องหาเส้ นทางของความอยู่รอด เช่น การสร้ างแบรนด์นวัตกรรม รู ปแบบ เป็ นที่
ยอมรับในตลาด AEC การปรับขีดความสามารถในการแข่งขันในระดับนานาชาติ
การตัง้ รั บเปิ ดเสรี อาเซียน ไม่ ได้ มีสูตรสาเร็ จสาหรั บทุกคน ผู้ประกอบการรายเล็ก ราย
กลางที่ เป็ นโจทย์ ไม่ มีทางออก เถ้ าแก่ จะต้ อ งมี สติ ใ นการแก้ ปัญ หา คิ ดในเชิ ง ยุ ท ธศาสตร์
สามารถทาให้ องค์กรอยู่รอดได้
การวางยุทธศาสตร์ เพื่อการเติบโตที่ย่ งั ยืน คนคือหัวใจของการพัฒนาองค์กร การบริ หาร
คน การแย่งชิงบุคลากร มีการแข่งขันสูง ขณะเดียวกัน คนที่ปรั บตัวไม่ได้ จะถูก ทอดทิง้ เป็ น
ส่วนเกินของสังคม AEC
การมียุทธศาสตร์ สอดคล้ องกับ AEC เจ้ าของกิจการและพนักงานจะต้ องมีการคิดเชิง
ยุทธศาสตร์ เพื่อความอยู่รอดของธุรกิจและตัวเองในระยะยาว
11
CHANGE : การปรับตัวของผู้ประกอบการ SMEs
1.
2.
3.
4.
5.
Opportunity or THREAT : การเข้าสู่ AEC ในปี 2558 จะเป็ นโอกาสและความท้าทาย
เป็ นเหรี ยญ 2 ด้าน ที่มีผไู้ ด้ประโยชน์และผูท้ ี่เสี ยประโยชน์
Free Trade Area : สิ นค้ านอกและทุนจะทะลักเข้ ามา การแข่งขันอย่างเสรี จากนอกประเทศ
จะเข้ามาเบียดผูป้ ระกอบการภายในที่ขาดความเข้มแข็งให้ออกจากตลาด ทั้งด้านภาษี และ
กฎหมายการลงทุนจะเปิ ดกว้างเสรี ทั้งภาคการค้า การผลิต การเงิน การท่องเที่ยว
ธุรกิจโลจิสติกส์ และการบริ การในทุกสาขา
No Handicap : ภูมิคุ้มกันธุรกิจภายในจะหมดไป ไม่มีแต้มต่อ ปลาใหญ่จะกินปลาเล็กอย่าง
ไร้ความปราณี
Regional Think : การเปลีย่ นแปลงประเด็นสาคัญอยู่ที่การปรับและเปลีย่ นแปลงครั้งใหญ่
ของผูป้ ระกอบการและคนไทย ในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนด้วยความมัน่ ใจ
BUSINESS ARCHITECTURE TRANSFORM : การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ทาง
สถาปัตยกรรมธุรกิจ ความพร้อมหรื อไม่พร้อมเป็ นเรื่ องของปั จเจกบุคคล
www.tanitsorat.com
12
การปรับตัวของชนชั้นกลางต่ อการเปิ ดเสรี AEC






AEC Alert : การตื่นตัวของพนักงานหรือมนุษย์ เงินเดือนที่ต้องทางานกับบริษัทข้ ามชาติหรือ
บริษัทไทยที่ต้องค้ าขายกับอาเซียน
International Skill Development : การพัฒนาทักษะหรือความรู้ ในการทางานในระดับสากล
English Language Skill / IT Technology / Equipment Using Skill
Regional Base Knowledge : การพัฒนาความรู้ และการเข้ าใจการทาธุรกรรมและ
ปฏิสัมพันธ์ ในระดับอนุภูมิภาค
Change in Company Culture : การปรับตัวให้ เข้ ากับวัฒนธรรมองค์ กรที่เปลีย่ นแปลงไปจาก
เดิมทั้งจากนายจ้ างหรือเพือ่ นร่ วมงานที่เป็ นคนต่ างชาติที่แตกต่ างทั้งภาษา กริยา วัฒนธรรม
ศาสนา ฯลฯ
Employee Competitiveness : การเปิ ดแรงงานเสรีภายใต้ AEC การเพิม่ ขีดความสามารถใน
การแข่ งขันในองค์ กรทั้งการเลือ่ นตาแหน่ งหรือการปรับเงินเดือน หรือการถูกเลิกจ้ าง
Money Society & No Moral Society: สั งคมไทยจะเข้ าสู่ เงินคือพระเจ้ า ภายใต้ You Work,
I Pay เพือ่ นจะน้ อยลงไม่ มีความจริงใจในเพือ่ นร่ วมงาน เป็ นสั งคมของวัตถุนิยมนาคุณธรรม13
www.tanitsorat.com
การปรับตัวครั้งใหญ่ ของภาคการศึกษาต่ อการเปิ ดเสรี AEC







Education Standardize :การสร้างมาตรฐานการศึกษาและระบบคุณวุฒิวิชาชีพในระดับของอาเซี ยน
ASEAN Language Understanding : การเรี ยนรู ้ภาษาอาเซียนอย่างน้อย 1 ประเทศ
English is ASEAN Language : ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาอย่างเป็ นทางการของอาเซียน ต้องพูดอ่าน
เขียนในระดับที่ใช้งานได้ (จริ งๆ) จะต้องมีการหลักสูตรการเรี ยนตั้งแต่ระดับประถมจนถึง
มหาวิทยาลัย
ASEAN Studying : การศึกษาวิชาอาเซียน ศึกษาในสาขาต่างๆ ทั้งด้านวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์
วํฒนธรรม การทําธุรกิจ ด้านการจัดการ ด้านเศรษฐศาสตร์
Teacher Development : การพัฒนาครู -อาจารย์ในสถาบันการศึกษาทั้งภาคบังคับและ
ระดับอุดมศึกษาภายใต้บริ บทของการเป็ นประชาชน AEC
การปรับโอนย้ ายหน่ วยกิจ : การปรับโอนย้ายหน่วยกิจของมหาวิทยาลัยไทยกับมหาวิทยาลัยประเทศ
ต่างๆ ในอาเซียนเพื่อเอื้อต่อการที่นกั ศึกษาไทยสามารถโอนหน่วยกิจไปศึกษาต่อในประเทศอาเซียน
การเปลีย่ นเวลาเปิ ดและปิ ดภาคเรียน : นโยบายการเปลี่ยนแปลงเวลาปิ ด-เปิ ดภาคการศึกษาให้ตรงกับ
ประเทศอื่นๆ ในอาเซียน โดยเฉพาะสิ งคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และเวียดนาม
www.tanitsorat.com
14
AEC ภาคประชาชน
1.
2.
3.
4.
5.
โจทย์ ภาคประชาชนจะได้ อะไรจาก AEC ช่องว่างของรายได้ จะลดลงไหม ความ
ยากจนจะหายไปจากประเทศหรื อไม่
ทาความเข้ าใจกับประชาชน เพื่อให้ คนชุมชนเหล่านี ้ได้ ร้ ู จกั AEC ว่าจะให้ ประโยชน์
อย่างไรบ้ าง ต้ องเตรี ยมตัวอะไรบ้ าง และสิ่งท้ าทายที่จะเกิดขึ ้นคืออะไร มาตรฐานสินค้ า
บริ การ โลจิสติกส์ และเรื่ องความปลอดภัย ซึง่ เป็ นเรื่ องที่เข้ าใจยากถึงการปกป้องภายใน
ประชาชนจะได้ อะไร หรื อต้ องเสียอะไรจาก Connectivity การเชื่อมโยงเชิงกายภาพ
เช่น การสร้ างถนน ทางรถไฟ การเชื่อมทางรถไฟ การเชื่อมโยงทางหลวงระหว่างประเทศ
AEC กับผลกระทบต่ อวิถีชีวิตของคนไทย จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร กลุ่มคนที่
ปรับตัวไม่ได้ จะบริ หารจัดการอย่างไร
กลไกส่ งเสริ มประชาชนต่ อความสามารถปรั บตัวภายใต้ AEC รู้ จกั ปรับใช้ ทงด้
ั ้ าน
ชุมชนเกษตรกรรม กลุม่ OTOP และกลุม่ ผู้ด้อยโอกาส
15
ข้ อสรุ ปของ AEC จากการประชุม World Economic Forum
ระหว่ างวันที่ 31 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน 2555
ประชาคมเศรษฐกิจ (AEC) ส่วนภาคเอกชนที่เกี่ยวข้ องกับเรื่ องนี ้
• ธุ ร กิจ ขนาดใหญ่ ไม่มีอะไรที่ น่าเป็ นห่วง เพราะมี ความพร้ อม และแผนการ
ออกไปลงทุนในต่างประเทศอย่างชัดเจน
• กลุ่มธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม (SMEs) กลุม่ นี ้กาลังเผชิญกับความท้ า
ทายจากการเปิ ดเสรี ที่กาลังจะเกิดขึ ้น
• AEC จะทาให้ เกิดโอกาสทางการค้ ามากขึน้ แต่อีกด้ านหนึ่ง บริ ษัทเหล่านี ้ต้ อง
เจอกับการแข่งขันที่เพิ่มมากขึ ้นด้ วย
• ให้ ความรู้ ความเข้ าใจแก่ เอกชน ว่าการแข่งขันไม่ได้ เป็ นเรื่ องเลวร้ าย โดยสิ่งที่
ต้ องทาขณะนี ้คือ การปรับปรุงวิธีการดาเนินธุรกิจ
• การวิจัยและพัฒนา การกระตุ้นให้ บริ ษัทเอกชนนานวัตกรรมมาใช้ และสร้ าง
Value Chain เพิ่มขึ ้น
16
AEC…โจทย์ ทยี่ งั ไม่ มคี าตอบ
1. AEC ไทยได้ รับประโยชน์ จริ งหรื อไม่ ประเทศไทยจะได้ รับผลประโยชน์ ในทางบวกหรื อผลดีที่จะเกิด ขึน้
โดยเฉพาะในเรื่ องประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) หรื อจะได้ ประโยชน์เฉพาะธุรกิจขนาดใหญ่เท่านัน้
2. ภาคธุ รกิจ ไทยพร้ อมรั บมือหรื อยัง มีการเตรี ยมการที่ดีย่อมได้ ผลในทางบวก แต่ใ นทางตรงกันข้ าม หาก
ผู้ประกอบการปรับตัวช้ า จะสูญเสียโอกาสและอาจสูญเสียฐานของลูกค้ าเดิม
3. ไทยพร้ อมต่ อการเปิ ดเสรี หรื อไม่ การเปิ ดเสรี มากเกินไป นอกจากจะทาให้ ฐานะของประเทศไทยเกิดความ
เสี่ยงมากขึ ้นแล้ ว หลายธุรกิจโดยเฉพาะ SMEs อาจล้ มหายตายจากไป
4. การรั บลงทุนโดยไม่ เลือก การลงทุนของต่างชาติมาลงทุนในประเทศไทยไม่ได้ ก่อให้ เกิดรายได้ แก่ชุ มชน การ
จ้ างงาน หรื อการนาเทคโนโลยีมาช่วย หรื อผลกระทบต่อสิง่ แวดล้ อม
5. SMEs และเศรษฐกิจชุมชนจะเป็ นอย่ างไร ธุรกิจของต่างชาติที่เข้ ามามีบทบาททาให้ ธุรกิจท้ องถิ่นที่มีมาแต่ช้า
นานสูญหายไปหมด โดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของไทย
6. ภาครั ฐมีส่วนช่ วยภาคเอกชนได้ อย่ างเป็ นรู ปธรรมอย่ างไรบ้ าง ภาครัฐต้ องเห็นความสาคัญของการพัฒนา
ในด้ านการผลิตและการบริการและต้ องมาช่วยภาคเอกชนในทุกวิถีทาง
7. AEC จะช่ วยลดปั ญหาขัดแย้ งพรมแดนกับประเทศเพื่อนบ้ นได้ จริ ง ขณะที่การปั กปั นเขตแดนไทยกับเพื่อน
บ้ าน เช่น สปป.ลาว พม่า กัมพูชา ยังมีปัญหาไม่จบ การเป็ นประชมคมเศรษฐกิจจะช่วยแก้ ปัญหานีไ้ ด้ หรื อไม่
8. ปั ญหาความไม่ ปรองดอง-สมานฉันท์ ของไทย การเมืองภาคประชาชนยังมีความขัดแย้ ง ทิศทางการเมืองไทย
ไม่ชดั เจน จะส่งผลเสียอย่างไรต่อบทบาทของไทยบนเวทีของอาเซียน
www.tanitsorat.com
17
888
www.tanitsorat.com
18
ข้ อมูลเพิม่ เติมที่ www.tanitsorat.com
END
19