“คณะกรรมการบูรณาการพัฒนาการเด็กไทย” -ศิริพร-นิตยา

Download Report

Transcript “คณะกรรมการบูรณาการพัฒนาการเด็กไทย” -ศิริพร-นิตยา

เด็กไทยมีพฒ
ั นาการต่ากว่ามาตรฐาน 30%
เป็นโอกาสที่ผใ้ ู หญ่ไทยท ุกหน่วยงานต้องร่วมมือ
“คณะกรรมการบูรณาการพัฒนาการเด็กไทย”
-ศิรพ
ิ ร-นิตยา-ศิรกิ ุล-สมัย-ศิราภรณ์-พรพิมล
พัฒนาเครือ่ งมือของประเทศ เพื่อพ่อแม่-เฝ้าระวัง
อสม.สนับสน ุน จนท.สธ.กระตน้ ุ -ทดสอบ ประเมิน
ขณะนี้ รว้ ู ่ าเด็ กไทยมี พฒ
ั นาการล่าช้าเมื่ อเด็ กอาย ุ
>3ขวบ, เด็ กหลังคลอด 0-3 ขวบ ยิ่ งมี ความเสี่ ยงสูง
และเป็นความรับผิดชอบของกระทรวงสาธารณส ุข
ความน่าจะเป็น - สาเหต ุของพัฒนาการล่าช้า
ความเสี่ยงสูง - Birth Asphyxia และ Low Birth Weight 8%
เสี่ยงปานกลาง - Anemia, Iodine, Exclusive Breast
Feeding, Family Attention 7%
เป้าหมาย1
- ลดพัฒนาการล่าช้าของเด็กไทยครึ่งหนึง่
เหลือ 15% ใน 5 ปี
โอกาส
- เด็กไทยมีศักยภาพไม่ตา่ งกัน
ความแตกต่างอยูท่ ี่เด็กส่วนใหญ่ไม่มโี อกาส
เด็กไทยบางคนได้เหรียญทอง Olympic
เด็กไทยหลายคนสอบผ่าน O-net แทบแย่
เป้าหมาย2
- เพิ่มโอกาสให้เด็กส่วนใหญ่
- สมุดประจาตัวเด็กกลมุ่ เสี่ยง(BA และ LBW) สีสม
้ ท ุกคน
- คมู่ ือติดตามพัฒนาการเด็กคลอดปกติสาหรับพ่อแม่
-สีขาว ดัดแปลงจากอนามัย 55 ใช้เฝ้าระวัง
- คมู่ ือการทดสอบและประเมินผลโดย จนท.สธ. สีเขียว
ดัดแปลงจาก TDSI เพื่อใช้ทดสอบเมื่อเด็กอาย ุ 9 เดือน
18 เดือน 30 เดือน และ 42 เดือน
แบ่งออกเป็ น 2 ระยะ อายุ 0-2 ปี และ 2-5 ปี
เด็กอายุ 0-2 ขวบ
- สอนและสาธิ ตพ่อแม่เรื่องพัฒนาการที่ ANC
- ทดสอบและสร้างความคุน้ เคย-หลังคลอด
ก่อน discharge เด็กกลุ่มเสี่ยงทุกคนได้รบั สมุด
ประจาตัวสีสม้ เด็กคลอดปกติในโครงการได้รบั
คู่มือสีขาว
ในอนาคตเด็กไทยทุกคนควรได้รบั คู่มือสีขาวก่อน
discharge อสม.จะติดตามการใช้ได้อย่างสม่าเสมอ
จนท. สธ. ใช้ค่มู ือสีเขียวประเมินเมื่อ 9-18-30-42
เดือน
แบ่งออกเป็น 2 กลมุ่
1. เด็กกลมุ่ เสี่ยง( BA และ LBW) ท ุกคนใน 8
จังหวัดภาคเหนือตอนบน (ล้านนา) จะได้รบั การ
ติดตามและ register ที่จงั หวัดและสถาบันพัฒนาการ
เด็กราชนครินทร์ เชียงใหม่ ภายใต้โครงการ
บูรณาการพัฒนาการเด็กล้านนา
Lanna Child Development Integration Project
(LCDIP)
เริ่มตัง้ แต่เดือนสิงหาคม 2556 เป็ นเวลา 5 ปี
2. เด็กคลอดปกติโดยศูนย์อนามัย 12 ศูนย์พร้อมทัง้
ศูนย์ส ุขภาพจิต และจังหวัดในเขต 12 จังหวัดใช้คมู่ ือ
สีขาว (อนามัย 55) ให้พ่อแม่เฝ้าระวัง และติดตาม 2
กลมุ่ คือ
2.1) เด็กอาย ุ 0-2 ขวบจานวน 50 คนที่สามารถ
ติดตามได้ (Cohort) จาก รพ.สต./ รพช./
รพท./รพศ. จนท.สธ.ใช้คมู่ ือสีเขียวประเมิน
เมื่อ 9 และ18 เดือน
2.2) เด็กอาย ุ 2-5 ขวบจานวน 50 คนจากศูนย์เด็ก
เล็กของจังหวัดนัน้ ๆ เพื่อทดสอบคู่มือสีเขียว
โดย จนท. สธ. ใช้ประเมินเมื่อเด็กอาย ุ 30 และ
42 เดือน
การรายงานและประเมินผล
การรายงาน - จาก MCH Board ของจังหวัด
- ศูนย์อนามัย 12 ศูนย์
- สานักส่งเสริมส ุขภาพ กรมอนามัย
ประเมินโดยผูเ้ ชี่ยวชาญพัฒนาการเด็กระดับ
อาเภอและจังหวัดเพื่อวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาระดับ
จังหวัดร่วมกับศูนย์วิชาการเขตโดย MCH Board หรือ
คณะกรรมการบูรณาการพัฒนาการเด็กจังหวัด ...
หากพบความผิดปกติที่ตอ้ งแก้ไขทันที ให้ใช้ระบบ
ส่งต่อกรมส ุขภาพจิต
เรื่องนโยบาย - เพิ่มวันวัคซีนและพัฒนาการเด็ก
2วัน/เดือน เพราะขณะนี้ จนท.สธ.
ที่ รพ.สต. ไม่มีเวลาทาเรือ่ ง
พัฒนาการ
- ข้อมูลเด็ก 2-5 ปีและเป็นเครื่องชี้วดั
ของการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก ทัง้ ภาค
รัฐและเอกชน
เรื่องวิชาการ - Short course Training จนท.สธ. ที่
รพช./รพ.สต.
- การใช้ Social Media เพื่องาน
พัฒนาการ
-
การปรับพฤติกรรมต้องใช้เวลา
การพัฒนาระบบส่งเสริมพัฒนาการเด็กไทย
การเพิ่มโอกาสให้เด็กกลมุ่ เสี่ยง
เป็นตัวอย่างของการบูรณาการของประเทศ
การเสนอ WHO ให้มี
“World Child Development Day”