Transcript Document

ICCPR
โดย ผศ. วิชยั ศรีรตั น์
• เป็ นสนธิสัญญาหรือความตกลงระหวาง
่
ประเทศ
• ก่ อพัน ธกรณี ร ะหว่ างประเทศ มี ผ ล
ผูกพันกับรัฐทีเ่ ป็ นภาคี
• ปฏิญ ญาฯ เป็ นการแสดงเจตจ านงค ์
ทางการเมืองไมมี
่ ผลผูกพัน
• แ ต่ เ นื้ อ ห า ข อ ง ป ฏิ ญ ญ า ฯ อ า จ ก่ อ
สนธิสัญญาตามกฎหมายจารีตประเพณี
•
•
•
•
•
ทัง้ ICCPR
และ UDHR
รับรองสิ ทธิ
มนุ ษยชนหรือสิ ทธิขน
้ั พืน
้ ฐานของมนุ ษย ์
UDHR รับรอง Human Rights ครอบคลุม
ทุกดาน
(all human rights)
้
ICCPR รับรองเฉพาะบางส่วน (ครึง่ เดียว
ของ UDHR)
สิ ทธิพลเมืง
“civil”ต้องการ “อิสระจากรัฐ”
“from state” สิ ทธิทางการเมือง political
ต้องการ “เข้าสู่ /เป็ นส่วนหนึ่ ง”ของสั งคมรัฐ
“to state”
อีกครึง่ หนึ่งของสิ ทธิใน UDHR รับรองโดย
ICESCR
•
•
•
•
•
เป็ นผลมาจากความขัดแย้งทางอุดมการณทางการเมื
อง
์
โลกเสรี (ตะวันตก) สนับ สนุ น สิ ท ธิพลเมือ ง/ทางการเมือ ง
(เสรีภาพในการชุมนุ ม การเลือกตัง้ การเดินทาง)
โลกสั งคมนิ ย ม สนั บ สนุ นสิ ทธิ ท างเศรษฐกิ จ สั งคม
วัฒนธรรม การมีอาหาร โรงเรียน (โดยคอมมูน) การมี
เสื้ อผ้า สวัสดิการโดยรัฐ
ในความเป็ นจริง ไมมี
่ ฏิบต
ั ด
ิ านเดี
ยว
่ ประเทศใดในโลกทีป
้
ตัวอยางเช
่
่ น สหรัฐฯ มีระบบสงเคราะหคนตกงาน
์
ใน USSR มีบทบัญญัตเิ รือ
่ งห้ามจับกุมคุมขังโดยพลการ
ในการปรับใช้ การตีความ ต้องสั มพันธและพึ
ง่ พิงกัน
์
(Vienna Conference on Human Rights)
•
•
•
•
•
พันธกรณีหรือ Obligation คือ หน้าทีเ่ ปรียบเสมือน
กับกฎหมายภายใน “หนี้”
เมือ
่ มีหน้าที/่ หนี้ แลวต
้ ้องทาตาม
พันธกรณีโดยรัฐในฐานะองครวมเป็
นความผูกพันของ
์
รัฐตอคู
อน
ื่ ๆ
่ ภาคี
่
รัฐบาลในฐานะเป็ นองคกรที
เ่ ป็ นตัวแทนภาครัฐใน
์
ความสั มพันธระหว
างประเทศต
องรั
บผิดชอบในกรณีท ี่
่
้
์
ไมเป็
่ นไปตามสั ญญา
แม้กระทาโดยเอกชน
ดังนั้นรัฐตองมี
มาตรการทาให้มัน
่ ใจวาองค
กรต
าง
ๆ
้
่
่
์
ทัง้ ฝ่ายบริหาร (ทหาร ตารวจ ข้าราชการ
ตามข้ อ (บทบัญ ญัต ิ) รัฐ ภาคีต้ องมีห น้ าที่ใ นการเคารพสิ ทธิ
(Respect) และทาให้มัน
่ ใจวาบุ
่ คคลจะได้มีและสามารถใช้สิ ทธิ
ได้จริง (Ensure) เมือ
่ ถูกละเมิดจะได้รับการเยียวยาแก้ไขการ
ละเมิด (Remedy)
• เมื่อแปลงข้อบทมาสู่ การปฏิบต
ั ิ องคกรสิ
ทธิม นุ ษ ยชนระหว่าง
์
ประเทศเห็ นวาพั
่ นธกรณีของรัฐในด้านสิ ทธิมนุ ษยชนมี 3 มิต ิ
คือ
 หน้าทีใ
่ นการเคารพ (Respect)
 หน้าทีใ
่ นการปกป้องคุ้มครอง (Protect)
 หน้าทีใ
่ นการทาให้เกิดขึน
้ จริง (Fulfil)
• พัน ธะหน้ าที่ นี้ เ ป็ นหน้ าที่ ท ี่ ใ ช้ กับ กติ ก าหรื อ อนุ สั ญญาสิ ทธิ
มนุ ษยชนทุกฉบับ เช่น ICESCR CAT CED ฯลฯ
•
•
•
•
•
สภาพบังคับของกฎหมายระหวางประเทศต
างจากการบั
งคับตาม
่
่
กฎหมายภายใน กฎหมายระหวางประเทศ
มีสภาพบังคับทีอ
่ อน
่
่
ต้องอาศัยเจตจานงคเป็
์ นส่วนใหญ่ นั่นคือ รัฐต้องมีความ
รับผิดชอบ “Responsibility”
สภาพบังคับอาจแยกเป็ นสองระดับ
ระดับในรัฐ เป็ นความรับผิดชอบตอพลเมื
อง ประชาชน ต้อง
่
อาศัยกลไกในรัฐ รวมทัง้ ประชาสั งคม สอดส่อง (เช่น การทา
รายงานการปฏิบต
ั ต
ิ ามสนธิสัญญา)
ระดับเหนือรัฐ
•ความรับผิดชอบตอรั
่
ๆ (คู่สั ญญา)
่ ฐอืน
มีระบบสองส่องผานกลไกสนธิ
สัญญา UN
่
มีการร้องเรียนวาไม
ท
่
่ าตามพันธะ (แตยั
่ ง
ไมเคยมี
) แตในระดั
บภูมภ
ิ าคมีฟ้องแลว
่
่
้
•มีคณะกรรมการสนธิสัญญา เน้นลักษณะ
ของอนุ สัญญาสิ ทธิมนุ ษยชนทุกฉบับ เพือ
่
เป็ นองคกรดู
แลให้รัฐปฏิบต
ั ต
ิ ามสนธิสัญญา
์
•กลไกตามกฎบัต ร เกี่ย วข้ องตาม UN
Charter สั มพันธกั
์ นเพราะ ICCPR เป็ น
ส่ วนหนึ่ ง ของเป้ าหมายการส่ งเสริม สิ ทธิ
มนุ ษยชนตามกฎบัตร UN ปัจจุบน
ั มีคณะ
• ส น ธิ สั ญ ญ า เ ป็ น ค ว า ม ผู ก พั น
ระหวางรั
่ ฐกับรัฐ
• รั ฐ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย พ ล เ มื อ ง
สถาบั น ทางสั งคม การเมื อ ง
เศรษฐกิจ อยูภายในรั
ฐ
่
• รัฐมีอธิปไตยหรือยูในฐานะที
ใ
่ ช้
่
อ า น า จ รั ฐ ท า ใ ห้ บุ ค ค ล
ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ ภ า ย ใ น รั ฐ
เคารพสิ ทธิหรือทาให้สอดคล้อง
กับพันธกรณี
•
•
วิ ธ ี ก ารนี้ ใ ช้ กั น ทั่ ว ไป ดัง นั้ น การ
รั บ ร อ ง สิ ท ธิ ใ น รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ เ ช่ น
หมวดว่ าด้ วยสิ ทธิแ ละเสรีภ าพ มี ผ ล
ผูกพันทุกองคกร
์
การรับ รองไว้ในกฎหมายอืน
่
ๆ เช่น
กฎหมายอาญา (ฆ่ า ท าร้ าย ลัก
ทรัพย ์ หมิน
่ ประมาท ลวงรู
่
้ความลับ)
กฎหมายแพง่ เช่น การสมรส สภาพ
บุ ค ค ล ล ะ เ มิ ด ( ชี วิ ต ร่ า ง ก า ย
ชือ
่ เสี ยง เสรีภาพ) กฎหมายทีอ
่ อกโดย
ฝ่ ายบริห าร กฎกระทรวง ระเบี ย บ
ค าสั่ ง และระเบีย บที่อ อกโดยองค กร
์
ภาพรวม ของ ICCPR
1-Preamble คำปรำรภ / ปรัชญำเจตนำรมณ์
2-General Provisions หลักกำรทัวไปในกำรใช้
่
3-เนื้ อหำสิทธิ
 สิทธิในกำรกำหนดอนำคตตนเอง
 สิทธิพลเมือง
 สิทธิทำงกำรเมือง
4-Human Rights Committee คณะกรรมการสิทธิ-ผูต้ ดั สิน
5-กระบวนการพิธีการ- -ขัน้ ตอน
หลักการสาคัญ ของ ICCPR มีอะไรบ้ าง
 หลักการประกันสิทธิของรัฐ
 หลักเกีย่ วกับการไม่เลือกปฏิบตั ิ
 หลักเกีย่ วกับการจากัดสิทธิเสรีภาพ
หลักเกณฑ์ ในการพิจารณาเรื่ อง
การเลือกปฏิบัตมิ ีอย่ างไร
 หลักการไม่เลือกปฏิบตั ิ “ความเท่าทียมของมนุ ษย์”
 ต้องไม่มกี ารปฏิบตั ทิ แ่ี ตกต่างให้คนใดคนหนึ่ง กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
ได้รบั สิทธิประโยชน์มากกว่าอีกคน หรือ อีกกลุ่ม ไม่วา่ โดย
กฎหมาย หรือโดยข้อเท็จจริง - ดูทผ่ี ล
 การปฏิบตั ทิ แ่ี ตกต่างนัน้ ไม่มเี หตุผลทีช่ อบธรรม
 มาตรการพิเศษทีใ่ ช้ “เพือ่ ” ให้แก่กลุ่มใดกลุม่ หนึ่งได้ม ี หรือได้
ใช้สทิ ธิได้เท่าเทียมกับอื่น หรือกลุม่ อื่น ไม่ถอื ว่าเป็ นการเลือก
ปฏิบตั ิ
หลักการเรื่ องการจากัดสิทธิท่ ชี อบธรรม
 Rights and responsibilities เป็ นของคูก่ นั ย่อมมี
ข้อจากัดอยูใ่ นตัว เช่น ข้อ 29 UDHR
 เกณฑ์การจากัดสิทธิทช่ี อบธรรม
 ชอบด้วยกฎหมาย - Legality
 กฎหมายนัน้ มีความชอบธรรมเพือ่ สอนองต่อเป้าหมายของสังคม
ประชาธิปไตย - Legitimacy
 มาตรการทีจ่ ากัดสิทธินน
ั ้ ต้องพอสมควรเก่เหตุ (ได้สดั ส่วนระหว่าง
สิทธิทจ่ี ากัดกับเป้าหมายของสังคมประชาธิปไตย
Proportionality
ข้ อยกเว้ นของกติกา –
การไม่ ปฏิบัตติ ามพันธกรณีช่ ัวคราวในสถานการณ์ ฉุกเฉิน
 เป็ นการระงับใช้พนั ธกรณี ในสถานการณ์พเิ ศษ หรือสถานการณ์ฉุกเฉิน
 Derogation ต่างจากการจากัดสิทธิโดยชอบธรรม Legistimate
Restriction
 เงือ่ นไข “มีสถานการณ์”
ั หาใครพิจารณา
 “จาเป็ น” ต่อ “การดารงอยูข่ องรัฐ” - ปญ
 มาตรการทีใ่ ช้ตอ้ งพอสมควร –
 ชัวคราว
่
ไม่ใช่เพือ่ เลีย่ งพันธกรณี – ไม่สอดคล้องพับพันธกรณีของ
ICCPR
 วิธกี าร มีการประกาศ ต้องแจ้งต่อเลขาธิการ UN
 สิทธิบางอย่างไม่สามารถระงับได้ (ข้อ4) เชน ชีวติ ทรมาน การลงโทษ
ต้องผานกระบวนการทางศาล เสรีพทางความคิด
ภาพรวม ทัง้ หมดของเนือ้ หาสิทธิ (1)
 สิทธิในกำรกำหนดอนำคตตนเอง
 สิทธิในชีวิต ควำมมันคงปลอดภั
่
ยในชีวิตร่ำงกำย
 สิทธิที่จะไม่ถกู เอำตัวลงเป็ นทำส มีสถำนะทำส
 สิทธิในกระบวนกำรยุติธรรม
 สิทธิที่จะมีสญ
ั ชำติ กำรเดินทำงเคลื่อนไหว เลือกถิ่นที่อยู่
(ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรัฐ กับปัจเจกชน)
 สิทธิในคควำมเป็ นส่วนตัว เสรีภำพในควำมเชื่อ กำรนับถือ
ศำสนำ
ภาพรวม ทัง้ หมดของเนือ้ หาสิทธิ – (2)
 เสรีภำพในกำรแสดงควำมเห็น กำรรวมกลุ่มสมำคม และ
กำรชุมนุม (political domain)
 เสรีภำพในกำรแต่งงำน สิทธิเด็ก
 สิทธิที่มีส่วนร่วมในทำงกำรเมือง
 สิทธิในควำมเท่ำเทียมภำยใต้กฎหมำย
 สิทธิของบุคคลที่เป็ นสมำชิกชนกลุ่มน้ อย
เนือ้ หาสิทธิเสรีภาพทีได้ รับรองโดยICCPR
:ปั ญหาในทางปฏิบัตขิ องประเทศไทย
สิทธิในการกาหนดอนาคตตนเอง
 สิทธิในการกาหนดอนาคตตนเองทางด้านการเมืองเศรษฐกิจ
ของประชาชน
 สิทธิในการกาหนดอนาคตตนเองของบุคคล
 ปญั หาเรือ่ งการแบ่งแยกดินแดน
 เรือ่ งการมีสว่ นร่วมในการบริหารสาธารณะ
สิทธิในชีวิต (ข้ อ 6)
 เหตุผล ? คุณค่าความสาคัญของชีวติ มนุ ษย์ – เหตุการณ์การทาลาย
ล้างเผ่าพันธุ์
 ความหมาย การไม่พรากชีวติ โดยพลการ (รัฐ) และ โดยปจั เจกชน
 นโยบาย เช่น นาซี เขมรแดง การเพิกเฉยหรือยุยงให้มกี ารฆ่า
 การสังหาร โดยรวบรัด (ศาลเตีย้ - วิสามัญ) สังหารนอกกฎหมาย
สังหารตามอาเภอใจไม่วา่ เป็ นนโยบาย หรือ การเพิกเฉยต่อการ
ฆาตกรรมของผูท้ ม่ี หี น้าที่ ปญั หาเรือ่ งโทษประหารชีวติ การอุม้ หาย
ั หาเรือ่ งหน้าทีใ่ นการป้องกัน - เช่น อุบตั เิ หตุทางถนน การ
 ปญ
ควบคุมสารพิษรัวไหล
่
การตายในทารก ป้องกันโรคระบาด
การไม่ ถูกทรมาน ถูกลงโทษที่เป็ นการทารุ ณโหดร้ าย
และย่ายีความเป็ นมนุษย์ (ข้ อ 7)
 เหตุผล
 ความหมายของการทรมาน
 จงใจ/ ก่อให้เกิดความเจ็บปวดอย่างรุนแรง/ เพือ่ ให้สารภาพ หรือ
เพือ่ ลงโทษ หรือได้ขอ้ มูลข่าวสาร หรือ เลือกปฏิบตั ิ / กระทาโดย
“อานาจรัฐ” เจ้าหน้าที่ หรือผูท้ ไ่ี ด้รบั ความยินยอม
 ปญั หาฐานความผิดตามกฎหมายอาญาของไทย
 พันธกรณีของรัฐเมือ่ เป็ นภาคี อนุสญ
ั ญา CAT
 ประเด็นทีม่ ปี ญั หา –
 คาวินิจฉัยศาลปกครองเรือ่ งเครือ่ งพันธนาการ
สิทธิท่ จี ะไม่ ตกเป็ นทาส- มีสภาพทาส (ข้ อ8)
 ทาสรูปแบบเดิม ทาสรูปแบบใหม่
 การบังคับทางาน เช่นเด็ก คนต่างด้าว
 การค้าหญิงและเด็ก
 การบังคับค้าประเวณี การบังคับขนยาเสพติด
 ตกเขียว (เอาเด็กมาขัดดอก) บังคับสมรสเพือ่ ลบหนี้
 ภรรยาตกทอดเป็ นมรดกของสามี
 เป็ นสิทธิเด็ดขาดไม่สามารถผ่อนปรนได้
 ปญั หาเรือ่ งเกณฑ์แรงงาน กับการลงโทษโดยให้ทางานหนัก
สิทธิในความมั่นคงปลอดภัยในร่ างกาย (ข้ อ9)
 ความหมายและสาระ “เสรีภาพ อิสระ และความมันคงปลอดภั
่
ย”
 หลักการเรือ่ งเสรีภาพและความมันคงปลอดภั
่
ย
 ประเด็นปญั หา จับกุม คุมขัง ตรวจค้น แทรกแซงอิสรภาพ
 เกณฑ์มาตรฐานระหว่างประเทศ
 จับกุมต้องได้รบั การแจ้งเหตุผลและข้อหา
 นาตัวไปยังศาล หรือองค์กรทีม่ อี านาจพิจารณาความผิด “โดยพลัน”
 การได้รบั การประกันตัว
 การเรียกให้มาปรากฏตัวโดยศาลเพือ่ พิจารณาสาเหตุการถูกคุมขัง
“หมายเรียกให้นาตัวมาศาล”
 ถ้าถูกจับกุมคุมขังโดยไม่ชอบมีสท
ิ ธิได้รบั การเยียวยา
สิทธิของผู้ต้องขัง (ข้ อ10)
 ผูต้ อ้ งขัง- บุคคลทีถ่ ูกจากัดอิสรภาพ – ผูต้ อ้ งหา จาเลย นักโทษ
รวมถึงทหาร ผิดวินยั
 เกณฑ์ มาตรฐาน
 ต้องได้รบั การปฏิบตั อิ ย่างมีมนุ ษยธรรม (สัมพันธ์กบั ข้อ 7)
 แยกระหว่างคนทีย่ งั ไม่ผดิ กับคนทีผ่ ดิ
 แยกเด็ก สตรี จากกลุ่มทัวไป
่ (ดูเรือ่ งอื่นๆ ประกอบด้วยเช่น
ศาสนา)
 พิจารณาดคีดว้ ยความรวดเร็ว
 ระบบราชทัณฑ์ ต้อง มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ฟื้นฟูบุคคล
 ปญั หา
เสรี ภาพในการเดินทาง (ข้ อ12-13)
 พลเมือง กับคนต่างด้าว
 หลัก
 การจากัดทัวไป
่
 การจากัดสิทธิในกรณีฉุกเฉิน (พรบ ฉุ กเฉิน ความมันคง
่
อัยการศึก)
 ห้ามเนรเทศคนชาติ ห้ามไม่ให้เดินทางเข้าประเทศไม่ได้
 การเนรเทศคนต่างด้าว
สิทธิในกระบวนการยุตธิ รรม(ข้ อ14)
 ความเสมอภาคในทางคดี
 สิทธิในคดีอาญา ไต่สวนโดยศาลทีเ่ ป็ นกลาง และมีอานาจ -
“ศาลทีเ่ ป็ นกลาง เงือ่ นไขทีเ่ ป็ นกลาง”
 มีสทิ ธิในการอุทธรณ์ต่อศาลสูงขึน้ ไป
 สันนิษฐานว่าเป็ นผูบ้ ริสทุ ธิ
 สิทธิของจาเลยในคดี – ได้รบั การแจ้งข้อหาทันที การพิจารณา
คดีไม่ลา่ ช้า ซักถามพยานอีกฝา่ ย มีทนายความ ไม่ถกู บังคับ
หรือหลอกลวง ให้สารภาพ มีล่าม
สิทธิในกระบวนการยุตธิ รรม (ข้ อ14-ต่ อ)
 กระบวนวิธพี จิ ารณาผูก้ ระทาความผิดทีเ่ ป็ นเด็ก หรือ เยาวชน
แยกจากผูใ้ หญ่
 สิทธิในการอุทธรณ์ – “ความผิดอาญา” “คณะตุลาการระดับ
เหนือขึน้ ไป”
 กระบวนการพิจารณาคดีทผี ดิ พลาด มีสทิ ธิทจี ะรือ้ ฟื้ นคดี –
สิทธิทจี ะได้รบั คาชดเชย
 ไม่ถกู ลงโทษซ้า
ไมถูกลงโทษอาญาโดยไมเป็ นธรรม (ข้ อ 15)
 ไม่มกี ฎหมายไม่เป็ นความผิด
 ไม่รบั โทษมากกว่าทีก่ ฎหมายบัญญัติ
 ยกเลิกความผิด ยกเลิกโทษ
 หลัก “ความผิดอาญาของมนุ ษยชาติ”
สิทธิท่ จี ะไม่ แทรกแซงความเป็ นส่ วนตัว (ข้ อ17)
สิทธิทจ่ี ะไม่ถูกแทรกแซง
 ความเป็ นอยูส่ ว่ นตัว (privacy life) ครอบครัว เคหสถาน
 การติดต่อสือ่ สาร
 เกียรติ และชือ่ เสียง
ได้รบั การคุม้ ครองโดยกฎหมาย
ความชอบธรรมในการแทรกแซง
 ชือเสียงบุคคลสาธารณะ
 เพศทางเลือก
 บุหรี่
 การดูแลเด็ก
สิทธิในความเชื่อ มโนธรรม และศาสนา (ข้ อ18)
เสรีภาพในการมีหรือถือศาสนา หรือมีความเชือ่ ตามคตินิยมของ
ตน
เสรีภาพในการแสดงออกทางศาสนา หรือความเชือ่ ของตนโดย
การสักการบูชา การปฏิบตั ิ การประกอบพิธกี รรม และการสอน
ไม่วา่ จะโดยลาพังตัวเอง หรือในชุมชนร่วมกับผูอ้ ่นื และไม่วา่ ต่อ
สาธารณชน หรือเป็ นการส่วนตัว
เสรีภาพในความคิด การแสดงออก(ข้ อ19)
 สิทธิในเสรีภาพแห่งการแสดงออกโดยปราศจากการแทรกแซง
 เสรีภาพทีจ่ ะแสวงหา รับและเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารและความคิดทุก
ประเภท โดยไม่คานึงถึงพรมแดน ทัง้ นี้ ไม่วา่ ด้วยวาจาเป็ นลายลักษณ์
อักษรหรือการตีพมิ พ์ ในรูปของศิลปะ หรือโดยอาศัยสือ่ ประการอื่น
ตามทีต่ นเลือก
 ข้อจากัดนัน้ ต้องบัญญัตไิ ว้ในกฎหมายและจาเป็ นต่อ
(ก) การเคารพในสิทธิหรือชื่อเสียงของบุคคลอื่น
(ข) การรักษาความมันคงของชาติ
่
หรือความสงบเรียบร้อย หรือการ
สาธารณสุข หรือศีลธรรมของประชาชน
 เป็ นของใคร? ข้าราชการ ทหาร –วิจารณ์ศาล – ศาสนา? หมิน่
สถาบัน? นักเรียน ต่อ ครู
ข้ อยกเว้ นสิทธิในการแสดงออก (ข้ อ20)
ให้การกระทาต่อไปนี้เป็ นสิง่ ต้องห้ามตามกฎหมาย
 การโฆษณาชวนเชือ่ เพือ่ การสงคราม
 สนับสนุ นให้เกิดความเกลียดชัง หรือการเลือกปฏิบตั ิ ในชาติ
พันธุ์ เผ่าพันธุ์
 ยัวยุ
่ ให้ใช้ความรุนแรง
เสรี ภาพในการชุมนุมโดยสงบ (ข้ อ21)
 สิทธิในการชุมนุ มโดยสงบย่อมได้รบั การรับรอง
 การจากัดสิทธิ - จะกระทามิได้นอกจากจะกาหนดโดย
กฎหมาย และ เท่าทีจ่ าเป็ นสาหรับสังคมประชาธิปไตย เพือ่
ประโยชน์แห่งความมันคงของชาติ
่
หรือความปลอดภัย ความ
สงบเรียบร้อย การสาธารณสุข หรือศีลธรรมของประชาชนหรือ
การคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น
เสรีภาพในการเข้ าร่ วมสมาคม (ข้ อ22)
 คุณค่าของสิทธิ
 เข้ารวมสมาคม และ สิทธิทจี ะไมเข้าร่วมสมาคม
 การจากัด
 ปญั หาบางประการ
 สหภาพแรงงาน กับสิทธิประโยชน์ กับ ปประเด็น Closed
shop
 สมาคมวิชาชีพ สหภาพข้าราชการ
 การสังกัดพรรคการเมือง
 Neo-NAZI - กับ พรรคคอมมิวนิสต์แหงประเทศไทย
สิทธิในการสมรส ครอบครัว (ข้ อ23)
 “ชาย – หญิง” ในวัยทีส่ มรสได้
 ยินยอมโดยสมัครใจ
 มีมาตรการคุม้ ครองทีเ่ หมาะสมเพือ่ คุม้ ครองเมือ่ สิน้ สุดการ
สมรส
 คุม้ ครองบุตร
สิทธิในการมีส่วนร่ วม(ข้ อ25)
 สิทธิในการเข้าร่วมในการดาเนินกิจกรสาธารณะ – สิทธิในประชาธิปไตย-สิทธิในการ





เลือกตัง้
สิทธิพลเมือง
การเลือกตัง้ ทัวไป
่ – “free” and “Fair” election กับ การลงคะแนนแบบยู
โรวิชนั ่ eurovision model
กระบวนการตรวจสอบ –รูปแบบ เจตนารมณ์ และการเบีย่ งเบนเจตนารมณ์
เสียงส่วนใหญ่ กับทรราชโดยเสียงส่วนใหญ่ ความรับผิดชอบต่อผูใ้ ช้สทิ ิ
การคุม้ ครองคนส่วนน้อย due process of law
สิทธิของชนกลุ่มน้ อย ข้ อ27
 Definition –ปญั หาของนิยามคาว่า “ชนกลุ่มน้อย minorities” เทียบ






“indigenous population” ชนพืน้ เมืองดัง้ เดิม - ไทยไม่ยอมรับว่ามีชนกลุ่มน้อย
Identities v Political Opinion – อัตลักษณ์ และ ความเห็นทางการเมือง
Gender Minority ? –เพศ ?
Separationist - การแบ่งแยกดินแดน
(Semi)Self –Authority, Local Government and SelfDetermination ปกครองตนเอง กึง่ ปกครองตนเอง รัฐบาลท้องถิน่ กับสิทธิในการ
กาหนดตนเอง
Affirmative Action- มาตรการเชิงยืนยันสิทธิ
Racism VS Pluralism – การเหยียดผิว เผ่าพันธุ์ กับแนวคิดสังคมทีม่ คี วาม
หลากหลาย
บทส่ งท้ าย
 Divided Society – สังคมทีถ่ ูกแบ่งเป็ นฝา่ ยอย่างแรง
 Intolerance Society – สังคมทีใ่ จแคบไม่ยอมรับความแตกต่าง -คิดด้าน





เดียว
Non Violence - การไม่ใช้ความรุนแรง
Justice, Equality and Equity – ความยุตธิ รรม ความเสมอภาค และ
ความเป็ นธรรม
Political Economy - เศรษฐศาสตร์การเมือง (การเมืองเกีย่ วกับ
ผลประโยชน์การจัดสรรผลประโยชน์)
Social and Political and economic Structure – ทางสังคม
การเมือง
Consciousness – rights and liberty การตระหนักนึก