คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ

Download Report

Transcript คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ

บทที่ ๓
ระบบควบคุมกฎหมายมิให้ ขดั รัฐธรรมนูญ
และ ศาลรัฐธรรมนูญไทย
๑. ระบบการควบคุมกฎหมายมิให้ ขดั รัฐธรรมนูญ
๑.๑ องค์ กรทีค่ วบคุม
๑.๒ ระยะเวลาทีค่ วบคุม
1
๑.๑ องค์ กรทีค่ วบคุมกฎหมายมิให้ ขดั รัฐธรรมนูญ
- รัฐสภา : ระบบฝรั่งเศส , รัฐธรรมนูญ ฯ
2475 มาตรา 61 , 62
- ศาลยุตธิ รรม : คดี Marbury V. Madison
(1803)
- องค์ กรพิเศษ : ตุลาการรัฐธรรมนูญ หรือ
ศาลรัฐธรรมนูญ
Hans Kelsen ศาลรัฐธรรมนูญออสเตรีย 1955
ตุลาการรัฐธรรมนูญฝรั่งเศส 1958
2
คดี Marbury V. Madison (1803 U.S. Lexis 352)
ประธานาธิบดี John Adams ตัง้ ผู้พพ
ิ ากษา Circuit Court 16
คน และผู้พพ
ิ ากษาศาลแขวง 42 คน เที่ยงคืนของวันที่ 3 มีนาคม
1801 และสภา Senate เห็นชอบ วันที่ 4 มีนาคม ตอนเช้ า แต่ ตาม
Judiciary Act 1789 การแต่ งตัง้ จะมีผลต่ อเมื่อรัฐมนตรียุตธิ รรมส่ ง
คาสั่งให้ ผ้ ูรับแต่ งตัง้
เมื่อประธานาธิบดี Jefferson เข้ ารับหน้ าที่วันที่ 4 มีนาคม
ค.ศ. 1201 ประธานาธิบดีส่ ังห้ าม James Madison ซึ่งเป็ น
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุตธิ รรมส่ งคาสั่งให้ Marbury
3
Marbury จึงมาฟ้องศาลฎีกา ให้ ออกหมายสั่ง Madison ให้ ส่งคาสั่งให้
ตน โดยอาศัย Judiciary Act 1789 ซึ่งให้ อานาจศาลฎีกาไว้
รัฐธรรมนูญอเมริกัน หมวด 3 มาตรา 2 วรรค 2 บัญญัตวิ ่ า
“ในคดีท่ กี ระทบทูต รัฐมนตรี และกงสุล และคดีท่ มี ลรัฐเป็ นคู่กรณี
อาจนาคดีมาฟ้องยังศาลฎีกาได้ (original jurisdiction)……”
พรบ. Judiciary Act 1789 มาตรา 13
“ศาลฎีกา มีอานาจ...ออกหมาย mandamas สั่งศาลทัง้ หลาย รวมทัง้
เจ้ าหน้ าที่ซ่ งึ อยู่ในอานาจของสหรัฐอเมริกา
4
ศาลฎีกาโดยประธานศาล John Marshall ตัง้ ประเด็นว่ า Marbury มี
สิทธิท่ จี ะได้ รับคาสั่ง การไม่ ส่งคาสั่งให้ จงึ เป็ นการละเมิดสิทธิท่ ไี ด้ รับ
มาแล้ ว แต่ เมื่อมาถึงคาถามที่ว่า ศาลฎีกามีอานาจออกหมายหรือไม่ ?
Marshall เห็นว่ า พรบ. Judiciary Act 1789 ขัดรัฐธรรมนูญอเมริกัน
หมวด 3 มาตรา 2 วรรค 2
5
มีปัญหาว่ า ศาลจะมีอานาจวินิจฉัยว่ ากฎหมายขัดรัฐธรรมนูญ
หรือไม่ (Judicial Review)
ศาลเห็นว่ า เป็ นหน้ าที่ของศาลที่จะชีว้ ่ ากฎหมายใดที่จะใช้ บังคับ
คดี เพราะศาลต้ องตีความกฎหมาย ดังนัน้ เมื่อกฎหมายขัด
รัฐธรรมนูญ ศาลก็ย่อมมีอานาจวินิจฉัยว่ ากฎหมายฉบับใดจะใช้
บังคับแก่ คดี
6
ศาล เห็ น ว่ า รั ฐธ รร มนู ญ ลา ยลั กษณ์ อั ก ษร ได้ บั ญญั ติ ว่ า
รั ฐ ธรรมนู ญ เป็ นกฎหมายสู ง สุ ด ของแผ่ นดิ น และศาลเองก็ เ คย
สาบานตนว่ าจะปฏิบัติตามรั ฐธรรมนูญมาก่ อนกฎหมาย ดังนัน้ เมื่อ
กฎหมายขัดรั ฐธรรมนูญ รั ฐธรรมนูญย่ อมอยู่เหนือกฎหมาย และจะ
ใช้ กฎหมายดังกล่ าวบังคับมิได้ ศาลจึงไม่ อาจออกหมาย mandamus
7
ข้ อดีของระบบที่ให้ ศาลยุตธิ รรมวินิจฉัยว่ ากฎหมายขัดรั ฐธรรมนูญ
- เป็ นระบบกระจายอานาจ
ข้ อเสีย
- เป็ นระบบที่อาจมีความไม่ แน่ นอนสูง
- คาพิพากษาผูกพันคู่ความในคดี (Inter partes) ไม่ ยกเลิก
กฎหมาย
- คาพิพากษารับรองสิทธิค่ กู รณี จึงย้ อนหลัง (ดู ฎีกาที่
766/2505)
8
Kelsen คิดระบบรวมศูนย์ การวินิจฉัยคดีไว้ ท่ ศี าลรัฐธรรมนูญ เพื่อ
- เอกภาพ และความมั่นคงทางกฎหมาย
- คาวินิจฉัยว่ ากฎหมายขัดรัฐธรรมนูญ ต้ องยกเลิกกฎหมายที่
ขัด (Erga omnes) เพราะฉะนัน้ อานาจวินิจฉัยว่ ากฎหมายขัด
รัฐธรรมนูญ คือ อานาจนิตบิ ัญญัตทิ างลบ มีผลผูกพันทั่วไป
- คาวินิจฉัยมีผลไปในอนาคต
9
ศาลรัฐธรรมนูญสหพันธรัฐออสเตรีย
องค์ประกอบของศาลรัฐธรรมนูญ
๑.ประธานศาลรัฐธรรมนูญ
๒.รองประธานศาลรัฐธรรมนูญ
๓.ผูพ้ ิ พากษาศาลรัฐธรรมนูญ ๑๒ คน
๔.ผูพ้ ิ พากษาสารอง ๖ คน
ที่มาของผูพ้ ิ พากษาศาลรัฐธรรมนูญ
ประธานาธิบดีเป็ นผูแ้ ต่งตัง้ ผูพ้ ิ พากษาศาล
รัฐธรรมนูญ โดยการเสนอชื่อของรัฐบาล
สหพันธรัฐ และรัฐสภา โดย
๑.รัฐบาลแห่ งสหพันธรัฐจะเสนอชื่ อผู้ทรงคุณวุฒิที่
เป็ นผู้พิพากษา เจ้ าหน้ า ที่ ของรัฐ หรือ อาจารย์
มหาวิทยาลัย เป็ นประธานศาลรัฐธรรมนูญ รอง
ประธาน ผูพ้ ิ พากษา ๖ คน และ ผูพ้ ิ พากษาสารอง
๓ คน
11
๒. รัฐสภาจะเป็ นผูเ้ สนอชื่อผูพ้ ิ พากษา ๖ คน และผู้
พิพากษาสารองอีก ๓ คน
ผูพ้ ิ พากษาศาลรัฐธรรมนูญจะต้องสาเร็จการศึกษาวิชา
นิติศาสตร์ หรือรัฐศาสตร์ และมีประสบการทางานไม่
น้ อยกว่า ๑๐ ปี และห้ามดารงตาแหน่ งเป็ นสมาชิก
รัฐสภา รัฐมนตรี ไม่ว่าจะในระดับสหพันธ์ หรือมลรัฐ
และห้ามเป็ นเจ้าหน้ าที่พรรคการเมือง ทัง้ นี้ ผูพ้ ิ พากษา
ศาลรัฐธรรมนูญสามารถดารงตาแหน่ งได้เพียงวาระ
เดียว โดยมีวาระ ๑๒ ปี แต่ต้องมีอายุไม่เกิน ๗๐ ปี
บริบรู ณ์
อานาจหน้ าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ
๑.พิจารณา และวินิจฉัยว่ากฎหมายใดขัด หรือแย้งกับ
รัฐธรรมนูญหรือไม่ ถ้าหากศาลยุติธรรม หรือศาล
ปกครองสูงสุดร้องขอ
๒.อานาจหน้ าที่อื่นๆ เช่น ตรวจสอบการเลือกตัง้
ประธานาธิบดีของสหพันธ์ และสมาชิกรัฐสภา,
พิจารณากฤษฎีกาที่ออกโดยฝ่ ายบริหารของสหพันธ์
หรือมลรัฐว่าถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ เป็ นต้น
13
คณะตุลาการรัฐธรรมนูญสาธารณรัฐ
ฝรังเศส
่
องค์ประกอบของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ
๑.ตุลาการรัฐธรรมนูญโดยตาแหน่ ง ได้แก่ อดีต
ประธานาธิบดีทุกคนซึ่งจะได้รบั สิทธิดารงตาแหน่ ง
ตลอดชีวิต
๒.ตุลาการรัฐธรรมนูญที่มาจากการแต่งตัง้ ๙ คน
ได้แก่ ผูท้ ี่ประธานาธิบดีแต่งตัง้ ๓ คน ประธานสภา
ผูแ้ ทนราษฎรแต่งตัง้ ๓ คน และประธานวุฒิสภา
แต่งตัง้ ๓ คน
ตุลาการรัฐธรรมนูญจะดารงตาแหน่ ง
รัฐมนตรี สมาชิกรัฐสภา หรือตาแหน่ งอื่น
ใดที่กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญระบุ
ห้ามไว้ไม่ได้ และมีวาระการดารง
ตาแหน่ ง ๙ ปี โดยจะได้รบั แต่งตัง้ อีก
ไม่ได้
15
อานาจหน้ าที่ของตุลาการรัฐธรรมนูญ
๑. ควบคุมกฎหมายก่อนประกาศใช้ไม่ให้ขดั
รัฐธรรมนูญ
- ในกรณี ของร่างกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ หรือ
ร่างข้อบังคับการประชุมรัฐสภา รัฐธรรมนูญได้
กาหนดให้ส่งร่างกฎหมายดังกล่าวไปให้คณะตุลา
การรัฐธรรมนูญพิจารณาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
ก่อนประกาศใช้
- ในกรณี ของร่างรัฐบัญญัติ คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ
จะพิจารณาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างรัฐ
บัญญัติได้ ก็ต่อเมื่อประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี
ประธานสภาผูแ้ ทนราษฎร ประธานวุฒิสภา
สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร ๖๐ คน หรือสมาชิก
วุฒิสภา ๖๐ ร้องขอให้มีการตรวจสอบความชอบ
ด้วยรัฐธรรมนูญ
17
๒. ควบคุมกฎหมายหลังประกาศใช้ไม่ให้ขดั รัฐธรรมนูญ ซึ่ง
คณะตุลาการรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยได้เฉพาะกรณี ที่ศาล
ปกครองสูงสุด หรือศาลฎีการ้องขอให้คณะตุลาการ
รัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดขัดต่อ
สิทธิหรือเสรีภาพที่รฐั ธรรมนูญได้บญ
ั ญัติรบั รองไว้
เท่านัน้
๓. อานาจหน้ าที่อื่นๆ เช่น อานาจหน้ าที่ในการดูแลความ
ถูกต้องในการเลือกตัง้ ในกรณี ที่มีการคัดค้านการ
เลือกตัง้ สมาชิกรัฐสภา และดูแลความถูกต้องของวิธีการ
ออกเสียงประชามติ และการออกเสียงประชามติ เป็ นต้น
ศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
องค์ประกอบของศาลรัฐธรรมนูญ
ศาลรัฐธรรมนูญประกอบด้วย ๒ องค์คณะ แต่ละองค์
คณะมีผพู้ ิ พากษา ๘ คน โดยแต่ละองค์คณะนัน้ ...
๑.ครึ่งหนึ่ ง (องค์คณะที่ ๑ จานวน ๔ คน และองค์คณะ
ที่ ๒ จานวน ๔ คน) ต้องได้รบั การแต่งตัง้ จากสภา
ผูแ้ ทนราษฎรแห่งสหพันธ์ (Bundestag)
๒. อีกครึ่งหนึ่ง (องค์ คณะที่ ๑ อีก ๔ คน และองค์ คณะที่
๒ อีก ๔ คน) ต้ องได้ รับการแต่ งตัง้ จากสภาที่ปรึ กษา
แห่ งสหพันธ์ (Bundesrat) และต้ องคัดเลือกจาก
โดยสภาผู้แทนราษฎรแห่ งสหพันธ์ และสภาที่ปรึกษา
แห่ งสหพันธ์ ต้ องคัดเลือกจากผู้พพ
ิ ากษาศาลสูงสุด
ต่ างๆ องค์ คณะละ ๓ คน
20
ผู้พพ
ิ ากษาศาลรั ฐธรรมนูญจะต้ องสาเร็จการศึกษาวิชาชีพทาง
กฎหมาย และไม่ เป็ นสมาชิกของรั ฐสภา หรื อคณะรั ฐมนตรี และสามารถดารง
ตาแหน่ งได้ เพียงวาระเดียว โดยมีวาระ ๑๒ ปี
อานาจหน้ าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ
๑.ตรวจสอบ และควบคุมกฎหมายมิให้ขดั รัฐธรรมนูญ
๒. อานาจหน้ าที่อื่นๆ เช่น
- อานาจในการตัดสินข้อขัดแย้งระหว่างองค์กร
ของรัฐ หรือข้อขัดแย้งระหว่างมลรัฐกับสหพันธ์
- พิจารณาวินิจฉัยคาร้องทุกข์ว่ามีการละเมิด
สิทธิขนั ้ พืน้ ฐานหรือไม่ (ซึ่งบุคคลจะนาคดีขึน้ สู่
ศาลรัฐธรรมนูญได้ ภายใต้เงื่อนไขที่ว่า ได้มีการ
ใช้สิทธิในการดาเนินคดีต่อองค์กรอื่นๆที่กาหนด
ไว้จนถึงที่สดุ แล้ว) เป็ นต้น
22
๑.๒ ระยะเวลาทีค่ วบคุม
- ระบบควบคุมหลังกฎหมายประกาศใช้
รัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา เยอรมัน
ไทย ( ม. 211,212)
- ระบบควบคุมก่ อนประกาศใช้ กฎหมาย
รัฐธรรมนูญฝรั่งเศส 1958
รัฐธรรมนูญไทย ม. 141 และ 154
23
๒. ความเป็ นมาของการควบคุมกฎหมายมิให้ ขดั
รัฐธรรมนูญในประเทศไทย
๒.๑. สภาผู้แทนราษฎรเป็ นผู้มอี านาจ 2475 คาพิพากษา
คดีอาชญากรสงคราม 1/2489
๒.๒. รัฐสภา + คณะตุลาการ ม. 86
รัฐธรรมนูญ 2489
ม. 88
รัฐธรรมนูญ 2490
ม. 94
24
รัฐธรรมนูญ 2492
ม. 177
ตีความปัญหาอันอยู่ในวงงานของสภา
รธน. 2495
ม.112
ม.114
รธน. 2511
ม. 173
ม. 175
รธน. 2521
๒.๓. คณะตุลาการรัฐธรรมนูญมีอานาจตีความ
แต่ ผู้เดียว รธน. 2534
๒.๔ ศาลรัฐธรรมนูญตาม รธน. 2540และ2550
25
ปั ญหาของ “คณะตุลาการรัฐธรรมนู ญ”
๑. องค์ประกอบ
- มีลกั ษณะคล้ายองค์กรการเมือง
๒. การแต่งตั้ง/สรรหา
- ขึ้ นอยู่กบั การเมือง
๓. วาระการดารงตาแหน่ง
- สั้น/ขึ้ นกับการเมือง
๔. ไม่อิสระอย่างแท้จริง
- วาระสั้น ตั้งใหม่ได้
๕. การทางานเป็ นคณะกรรมการ
26
๒.๕. หากไม่ มีองค์ กรใด ตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ
ศาลยุตธิ รรมก็มีอานาจ
- บรรทัดฐานคดีอาชญากรสงครามที่ 1, 2 , 4 /2489
- ฎ. 21/2492
พ.ร.บ. ควบคุมค่ าเช่ าฯ 2490 ทีใ่ ช้ บังคับย้ อนหลังไม่ ขัด
รัฐธรรมนูญ เพราะ รธน. ไม่ มบี ทบัญญัติห้ามการใช้ กม.
แพ่งย้ อนหลัง
- ฎ. 222/2494
ฎ. 1212/2497
ฎ. 1460/2497
27
ฎ. 766/2505
ฎ. 222/2506
ฎ. 225/2506
ฎ. 562/2508
ฎ. 1602-1603/ 2509
ฎ. 1781/2513
ฎ. 1240/2514
และ ฎ. 912/2536
ฎ. 913/2536
ฎ. 921/2536
ฎ. 1131/2536
ฎ. 1132-1136/2536
28
ตัวอย่างคาพิพากษาศาลฎีกาที่วินิจฉัยเกี่ยวกับปัญหา
กฎหมายขัดรัฐธรรมนูญ
1. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 766/2505
ข้ อเท็จจริง
ช่ วงบังคับใช้ รธน. 2475 (แก้ ไข
เพิม่ เติม พ.ศ. 2495)
- มีคณะตุลำกำร รธน. ทำหน้ ำที่วนิ ิจฉัย
ปัญหำกฎหมำยขัด รธน.
ช่ วงบังคับใช้ ธรรมนูญฯ
พ.ศ. 2502
- ไม่ มีคณะตุลำกำร
รัฐธรรมนูญ
9 กุมภำพันธ์ 2497
พ.ศ. 2505
ออก พรบ.เวนคืนฯ พ.ศ.2497
(กำหนดให้ ใช้ ค่ำเวนคืนตำม พรฎ. ฯ
พ.ศ. 2475 (20 บำท ต่ อตำรำงวำ))
ศำลพิพำกษำคดี
จ.และ จล. ตกลงค่ ำเวนคืนไม่ ได้ เพรำะใน พ.ศ.
2497 ทีด่ ินรำคำ ตำรำงวำละ 390 บำท จ. จึงยืน่ คำ
ร้ องว่ ำ พรบ.เวนคืนฯ ดังกล่ำว ไม่ ชอบด้ วย รธน.
2475 แก้ไขเพิม่ เติม 2495
ประเด็นปัญหาที่สาคัญที่ต้องวินิจฉัย คือ...
1. องค์กรใดจะมีอานาจวินิจฉัยว่า พรบ. เวนคืนฯ ดังกล่าวขัด รธน. พ.ศ.
2475 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495
(เนื่ องจาก รธน. ดังกล่าว กาหนดให้เป็ นหน้ าที่ของคณะตุลาการ
รัฐธรรมนูญ แต่วนั ที่ศาลพิจารณาคดีนัน้ ไม่มีองค์กรที่เป็ นคณะตุลาการ
รัฐธรรมนูญแล้ว)
2. พรบ. เวนคืนฯ ดังกล่าว จะขัดกับ รธน. พ.ศ. 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.
2495 ได้อย่างไร ในเมื่อวันที่ศาลพิพากษาคดีนี้ รธน. ฉบับดังกล่าวได้ถกู
ยกเลิกแล้ว
ศาลฎีกา ได้วินิจฉัยว่า...
“ศาลฎีกาเห็นว่า โดยหลักกฎหมายทัวไป
่ และหลักการพิจารณาพิพากษา
อรรถคดี ศาลเป็ นผูน้ าบทบัญญัติแห่งกฎหมายมาใช้บงั คับแก่คดี...ดังนี้ ศาล
จึงเป็ นผูม้ ีอานาจหน้ าที่พิจารณาว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายฉบับหนึ่ งฉบับใด
หรือบทหนึ่ งบทใดจะใช้บงั คับแก่คดีได้หรือไม่เพียงใด.....
ในระหว่างการใช้ รธน. พ.ศ. 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495 ได้มี
บทบัญญัติใน รธน. ฉบับนัน้ มาตรา 114 ว่า ในการที่ศาลจะใช้บทบัญญัติแห่ง
กฎหมายบังคับแก่คดีใด ถ้าศาลเห็นว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายนัน้ มีข้อความ
แย้งหรือขัดต่อรัฐธรรมนูญนี้ ให้ส่งความเห็นไปให้คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ
พิจารณาวินิจฉัย ต่อมาก่อนที่ศาลจะได้พิพากษาคดีนี้ ได้มี ปว. ฉบับที่ 3
ยกเลิกรัฐธรรมนูญดังกล่าว ฉะนัน้ ในขณะที่พิจารณาคดีนี้ จึงไม่มีบทบัญญัติ
ของกฎหมายใดที่ให้อานาจหน้ าพี่พิจารณาดังกล่าวไปตกอยู่แก่สถาบันอื่น
อานาจหน้ าที่นี้จึงคงอยู่ที่ศาลยุติธรรมดังเดิม....ศาลยุติธรรมจึงมีอานาจ
วินิจฉัยว่าบทกฎหมายใดมีข้อความแย้งหรือขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่.....
.....การพิจารณาว่าบทกฎหมายใดมีผลบังคับใช้ได้หรือไม่เพียงใดนัน้ เป็ น
การพิจารณาถึงบทกฎหมายนัน้ เมื่อขณะประกาศออกใช้บงั คับ หาใช่เฉพาะ
แต่เวลาที่จะยกขึน้ ใช้บงั คับแก่คดีหนึ่ งคดีใดไม่ ทัง้ นี้ เพราะถ้าบทกฎหมายใด
ใช้บงั คับมิได้แล้ว ก็ย่อมจะใช้บงั คับมิได้มาตัง้ แต่เริ่มแรก หาใช่เพิ่งจะมาใช้
บังคับมิได้เอาเมื่อจะยกขึน้ บังคับแก่คดีใดโดยเฉพาะไม่ คดีนี้ พรบ. เวนคืนฯ
ได้ประกาศออกใช้บงั คับในขณะที่ มาตรา 29 ของ รธน. พ.ศ. 2475 แก้ไข
เพิ่มเติม พ.ศ. 2495 มีผลใช้บงั คับอยู่....การที่ศาลวินิจฉัยว่า พรบ. ดังกล่าวขัด
หรือแย้งกับ รธน.พ.ศ. 2475ฯ เช่นนี้ ก็หาใช่เป็ นการที่ศาลยกเอากฎหมาย
(รธน.) ที่ยกเลิกไปแล้วมาเป็ นหลักในการพิจารณาพิพากษาคดีไม่ หากแต่
ศาลวินิจฉัยว่า กฎหมายที่จาเลยขอให้ยกขึน้ ปรับแก่คดีในเวลานัน้ เป็ นบท
กฎหมายที่ไม่มีผลบังคับมาตัง้ แต่เริ่มประกาศใช้แล้ว จึงยกขึน้ ปรับแก่คดี
ไม่ได้ เท่านัน้ ....”
ข้อสังเกต
คาพิพากษาดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า....
1. ถ้าหากในช่วงเวลานัน้ รัฐธรรมนูญไม่ได้กาหนดให้องค์กรใดมีอานาจใน
การวินิจฉัยปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย อานาจใน
การวินิจฉัยปัญหาดังกล่าว เป็ นของศาลยุติธรรม
2. การจะวินิจฉัยว่ากฎหมายขัดหรือแย้งกับ รธน. ฉบับใด จะต้องพิจารณา
ในวันที่ออกกฎหมายฉบับนัน้ ว่าออกในช่วงที่ รธน. ฉบับใดมีผลบังคับ
ใช้อยู่ แม้ว่าในวันที่ศาลพิพากษาคดีนัน้ รธน. ฉบับดังกล่าวจะถูกยกเลิก
ไปแล้วก็ตาม มิใช่ถือตาม รธน. ฉบับที่มีบงั คับใช้อยู่ในวันที่ศาล
พิพากษา
(แต่หลักดังกล่าวไม่สามารถใช้เป็ นบรรทัดฐานได้อีก ซึ่งจะได้กล่าว
ต่อไปเมื่อกล่าวถึง คาวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 3/2552)
3. คาพิพากษาของศาลยุติธรรมว่ากฎหมายใดขัดหรือแย้งกับ รธน.นัน้ มี
ผลย้อนหลังไปถึงวันที่มีการออกกฎหมายนัน้ โดยถือว่า กฎหมายนัน้ สิ้น
ผลตัง้ แต่วนั ที่ประกาศใช้บงั คับ ไม่ใช่ตงั ้ แต่วนั ที่ศาลพิพากษา
อย่างไรก็ดี หลักผลย้อนหลังดังกล่าวไม่สามารถใช้เป็ นบรรทัดฐานได้
อีกต่อไป เนื่ องจาก มาตรา 6 แห่งรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบนั บัญญัติว่า
“บทบัญญัติแห่งกฎหมายใดมีข้อความขัด หรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้
บทบัญญัตินัน้ เป็ นอันใช้บงั คับมิได้” ไม่ได้บญ
ั ญัติว่าบทบัญญัตินัน้ เป็ น
โมฆะซึ่งเสียเปล่ามาแต่ต้น ดังนัน้ จึงต้องถือว่า คาวินิจฉัยของศาล
รัฐธรรมนูญว่ากฎหมายใดขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนัน้ มีผลนับแต่
วันที่ได้มีการออกคาวินิจฉัยกลาง
2. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 912/2536
ข้ อเท็จจริง
(ไม่ มี รธน. ใดใช้ บังคับ)
1 มีนำคม 2534
ธรรมนูญกำรปกครองฯ
พ.ศ. 2502
- ไม่ มีคณะตุลำกำร
รัฐธรรมนูญ
23 กุมภำพันธ์ 2534
รัฐประหำรยึด
อำนำจโดย รสช.
9 ธันวำคม 2534
รธน. พ.ศ. 2534
- มีคณะตุลำกำร
รัฐธรรมนูญทำหน้ ำที่
วินิจฉัยปัญหำควำมชอบ
ด้ วยรัฐธรรมนูญของ
กฎหมำย
25 กุมภำพันธ์ 2534
พ.ศ. 2536
ประกำศ รสช. ฉ.26
ให้ อำยัดและห้ ำมจำหน่ ำย
จ่ ำยโอนทรัพย์ สิน
ศำลพิพำกษำคดี
ผู้ร้องยืน่ คำร้ องว่ ำ ประกำศ รสช. ขัดต่ อ
ธรรมนูญกำรปกครองแห่ งประเทศไทย และ
ประเพณีกำรปกครองของประเทศไทยใน
ระบอบประชำธิปไตย
ประเด็นปัญหาสาคัญที่ต้องวินิจฉัย คือ....
1. ประกาศ รสช. ฉบับที่ 26 ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญฉบับใด (ธรรมนูญ
การปกครองฯ พ.ศ. 2534 หรือ รธน. พ.ศ. 2534)
2. ศาลยุติธรรม หรือคณะตุลาการรัฐธรรมนูญจะเป็ นผูม้ ีอานาจวินิจฉัย
ปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของ ประกาศ รสช. ฉบับที่ 26
(เนื่ องจากในวันที่พิพากษาคดี เป็ นช่วงที่ รธน. 2534 มีผลใช้บงั คับ และ รธน.
ฉบับดังกล่าวได้กาหนดให้คณะตุลาการรัฐธรรมนูญเป็ นผูว้ ิ นิจฉัยความชอบ
ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย)
ศาลฎีกาได้วินิจฉัยว่า...
“....ระหว่างที่ประกาศ รสช. ฉบับที่ 26 มีผลบังคับใช้ ได้มีการประกาศใช้
ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2534 ประกาศ รสช. ฉบับที่ 26 ซึ่ง
มีฐานะเทียบเท่าพระราชบัญญัติ จึงต้องอยู่ภายใต้บงั คับของธรรมนูญการ
ปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2534 ซึ่งตามมาตรา 30 ว. 2 ให้สภานิติบญ
ั ญัติ
แห่งชาติเป็ นผูม้ ีอานาจวินิจฉัยว่าการกระทาหรือการปฏิบตั ิ ใดขัดต่อ
ธรรมนูญฯ 2534 หรือไม่ ซึ่งคาว่า “การกระทาหรือการปฏิบตั ิ ” ไม่ได้
หมายความรวมถึงบทบัญญัติของกฎหมายด้วย....และแม้ในขณะที่ศาลฎี กา
ได้วินิจฉัยปัญหานี้ ได้มีการประกาศใช้ รธน. 2534 แล้ว แต่ตามมาตรา 206 ก็
แสดงว่าคณะตุลาการรัฐธรรมนูญมีอานาจพิจารณาวินิจฉัยเฉพาะในปัญหา
ว่า บทบัญญัติแห่งกฎหมายใดมีข้อความขัดหรือแย้งต่อ รธน. พ.ศ. 2534
หรือไม่เท่านัน้ ดังนัน้ อานาจในการพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดว่ากฎหมายใดขัด
หรือแย้งต่อธรรมนูญการปกครองฯ พ.ศ. 2534 หรือไม่ จึงตกอยู่แก่ศาลตาม
หลักทัวไป....”
่
ข้อสังเกต
คาพิพากษาศาลฎีกาดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า อานาจในการวินิจฉัย
ว่ากฎหมายใดขัด หรือแย้งกับรัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆไม่ใช่อานาจของ
คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ แต่เป็ นอานาจของศาลยุติธรรม
อย่างไรก็ตาม คาพิพากษานี้ ไม่สามารถใช้เป็ นบรรทัดฐานได้อีก
ต่อไป เนื่ องจากศาลรัฐธรรมนูญ ได้มีคาวินิจฉัยที่ 3/2552 ซึ่งเป็ นกรณี ที่
วินิจฉัยว่าพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ พ.ศ. 2535ขัดหรือแย้งต่อ รธน. พ.ศ. 2540 หรือไม่ (โดยที่ใน
วันที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย รธน. 2540 ได้ถกู ยกเลิก และได้มีการ
ประกาศใช้ รธน. 2550 แล้ว)
คาวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 3/2552
“.....ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล้วเห็นว่า ในขณะที่ศาล
รัฐธรรมนูญมีคาวินิจฉัยคาร้องนี้ ได้มีการประกาศใช้รฐั ธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 แล้ว โดยบทบัญญัติมาตรา 56
วรรค 2 ของ รธน. พ.ศ. 2540 ที่ผฟู้ ้ องคดีโต้แย้งว่าบทบัญญัติแห่ง
กฎหมายไปขัดหรือแย้งนัน้ มีหลักการเดียวกันกับบทบัญญัติมาตรา
67 วรรคสอง ของ รธน. พ.ศ. 2550 จึงวินิจฉัยคาร้องนี้ ตาม
บทบัญญัติมาตรา 67 วรรคสอง ของ รธน. พ.ศ. 2550 .......”
ข้อสังเกต
จากคาวินิจฉัยดังกล่าว จะเห็นได้ว่า ในกรณี ที่บทบัญญัติแห่ง
กฎหมายขัดหรือแย้งต่อ รธน. 2540ที่ถกู ยกเลิกไป แต่ รธน. 2550
ยังคงบัญญัติหลักการเช่นเดิมไว้ ให้ถือเป็ นอานาจของศาล
รัฐธรรมนูญที่จะวินิจฉัยได้เอง โดยศาลรัฐธรรมนูญมีอานาจ
วินิจฉัยได้ว่า บทบัญญัติแห่งกฎหมายขัดหรือแย้งกับ รธน. ฉบับ
ปัจจุบนั (ไม่ได้วินิจฉัยว่ากฎหมายขัด หรือแย้งต่อ รธน. ฉบับเก่าที่
บังคับใช้อยู่ในขณะที่กฎหมายดังกล่าวมีผลบังคับใช้
3. ลักษณะของศาลรัฐธรรมนูญ
มีลกั ษณะเป็ นศาล
3.1 ต้ องมีปัญหาหรือข้ อโต้ แย้ งเกิดขึน้ แล้ วจริง
คาวินิจฉั ยที่ 6/2549 การที่ กกต. ส่ งปั ญหามาให้
วินิจฉัย 3 ประเด็น ยังไม่ เป็ นปัญหา เพราะ กกต. ยังไม่ ได้
ใช้ อ านาจ และเป็ นการคาดการณ์ และหารื อ มา ไม่ ใ ช่
ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จริง
เป็ นการวินิจฉั ยตามมาตรา 266 ของรั ฐธรรมนู ญ
2540
41
คาวินิจฉัยที่ 60 /2548 คตง.ขอให้ วนิ ิจฉัยว่ าการสรรหา
ผู้ ว่ า ตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ใหม่ ช อบหรื อ ไม่ นั้ น คตง. ได้
ด าเนิ น การไปตามอ านาจหน้ า ที่แ ล้ ว แม้ มี ก ารได้ แ ย้ ง จาก
คุ ณ หญิ ง จารุ ว รรณ และองค์ ก รภายนอก ก็ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ นการ
โต้ แ ย้ ง ขององค์ ก รตามรั ฐ ธรรมนู ญ ที่ เ ป็ นปั ญ หาต่ อ การ
ดาเนินการสรรหาที่เสร็จไปแล้ว
42
รธน. 2550 มาตรา 214
“ในกรณีท่ มี ีความขัดแย้ งเกี่ยวกับอานาจหน้ าที่ระหว่ าง
รัฐสภา คณะรั ฐมนตรี หรือองค์ กรตามรัฐธรรมนูญ ที่
มิใช่ ศาลตัง้ แต่ สององค์ กรขึน้ ไป ให้ ประธานรั ฐสภา
นายกรัฐมนตรีหรือองค์ กรนัน้ เสนอเรื่องพร้ อม
ความเห็นต่ อศาลรั ฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาวินิจฉัย”
43
คำสั่ งศำลรธน.ที่ 44/2551 ประธำนวุฒิสภำส่ งคำร้ องของส.ว. 25 คนให้ ศำล
รธน. วินิจฉัยว่ ำควำมเป็ นรมต.ของครม. สิ้นสุ ดลงเพรำะควำมเป็ นรมต. ของ
นำยกฯ สิ้นสุ ดลงเพรำะถูกยุบพรรคและตัดสิ ทธิเลือกตั้งหรือไม่ ? และนำยชว
รัตน์ ชำญวีรกูลซึ่งเป็ น ส.ส. สั ดส่ วน ก็ควรพ้ นตำแหน่ ง ส.ส. ไปด้ วยและไม่
อำจเป็ นผู้รักษำรำชกำรแทนนำยกรัฐมนตรีได้ ศำลเห็นว่ ำควำมเป็ นรมต. ของ
นำยกฯ สิ้ น สุ ด ลงเฉพำะตั ว ตำมม.182แล้ ว รมต.ที่ เ หลื อ อยู่ ซึ่ ง ไม่ ข ำด
คุณสมบัติหรือมีลักษณะ ต้ องห้ ำมต้ องอยู่ในตำแหน่ งและปฏิบัติหน้ ำที่ต่อไป
จนกว่ ำครม.ใหม่ จะเข้ ำรับหน้ ำที่ คำร้ องนีจ้ ึง มีลกั ษณะเป็ นกำรหำรือ หรือขอ
ควำมเห็น ถึงกำรปฏิบัติหน้ ำที่นำยกฯหรือรมต. ในครม. จึงไม่ เข้ ำเกณฑ์ ตำม
ม.182 กรณี น ำยชวรั ต น์ ชำญวี ร กู ล ศำลก็ เ ห็ น ว่ ำ เป็ นกำรหำรื อ ไม่ เ ข้ ำ
หลักเกณฑ์ ตำมม.182 ทั้งยังไม่ เป็ นควำมขัดแย้ งเกี่ยวกับอำนำจหน้ ำที่องค์ กร
ตำมรธน.ตำมม.214 ศำลจึงไม่ รับคำร้ อง
44
3.2. มีการนาเสนอคดีต่อศาลโดยผูม้ ีอานาจ
กาหนดให้ องค์ กรตามรัฐธรรมนูญกลัน่ กรองก่ อน
- ร่ างพรบ. ให้ นายกฯ หรือ ส.ส. , ส.ว. 1/10 ส่ ง (ม.154)
- พระราชกาหนดให้ ส.ส. หรือ ส.ว. 1/5 แต่ ละสภา (ม.185)
45
- กฎหมายที่ใช้ บังคับแล้ ว
ศาลยุตธิ รรม, ศาลปกครอง, ศาลทหารส่ งตาม
ม. 211
ผู้ตรวจการแผ่ นดิน ส่ งตาม ม.245 (1)
คณะกรรมการสิทธิฯ ส่ งตาม ม.257 (2)
46
ม.212 บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรื อเสรี ภาพ
ที่รัฐธรรมนู ญนี ร้ ั บรองไว้ มีสิทธิย่ ืนคาร้ องต่ อศาล
รั ฐ ธรรมนู ญ เพื่ อ มี ค าวิ นิ จ ฉั ย ว่ า บทบั ญ ญั ติ แ ห่ ง
กฎหมายขัดหรื อแย้ งต่ อรั ฐธรรมนูญได้
การใช้ สิทธิตามวรรคหนึ่ งต้ องเป็ นกรณี ไม่
อาจใช้ สิ ท ธิ โ ดยวิ ธี ก ารอื่ น ได้ แ ล้ ว ทั ง้ นี ้ ตามที่
บ ท บั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ น พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ป ร ะ ก อ บ
รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ว่ า ด้ ว ย วิ ธี พิ จ า ร ณ า ข อ ง ศ า ล
รั ฐธรรมนูญ
47
หลักเกณฑ์และวิธีการตามม.212
1. ต้องเป็ นบุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพ
ที่รฐั ธรรมนูญนีร้ บั รองไว้
2. บุคคลนีย้ ื่นคาร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อมี
คาวินจิ ฉัยว่าบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายนัน้ ขัด
หรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
3. เป็ นกรณีที่บคุ คลนัน้ ไม่อาจใช้สิทธิโดย
วิธีการอื่นๆได้แล้ว
48
ไม่อาจใช้สิท ธิ โ ดยวิ ธีการอื่ นได้ หมายถึ ง
ถ้า มี ช่ อ งทางอื่ น เช่ น ผู้ต รวจการแผ่ น ดิ น
(ม.245 (1) ) คณะกรรมการสิ ท ธิ ม น ษุ ยชน
แห่งชาติ (ม.257 (2) ) ก็ตอ้ งใช้กอ่ น
49
หรือใช้สิทธิ แล้วแต่ไม่สมดังสิทธิ เช่น ศาล
ยกฟ้องเพราะคดีขาดอาย ุความ ผูต้ รวจการไม่
รับเรื่อง หรือ คกก.สิทธิมน ุษยชน ไม่รบั เรื่อง
คำวิ นิจฉั ยที่ 47/2554 (คดี ถึ งที่ สุดในศำลปกครอง
แล้วถือว่ำผูร้ ้องไม่อำจใช้สิทธิโดยวิธีกำรอื่นได้อีก)
50
3.3 มีวิธีพิจารณาของศาลตามมาตรฐาน ม. 216
•
•
•
•
•
•
•
การพิจารณาคดีโดยเปิ ดเผย
การให้ สิทธิตรวจเอกสาร
การรับฟังคู่กรณีทุกฝ่ าย
การคัดค้ านตุลาการ
การให้ เหตุผลประกอบคาวินิจฉัย
การพิจารณาไม่ เกินคาขอ
ทั้งนีต้ ามพระราชบัญญัตปิ ระกอบ
รัฐธรรมนูญว่ าด้ วยวิธีพจิ ารณาของศาล
รัฐธรรมนูญ
51
3.4 คาวินิจฉัยมีผลบังคับ
คาพิพากษาศาลอืน่ มีผลระหว่ างคู่ความ (inter partes)
คาวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญมีผลทัว่ ไป (erga omnes)
คาวินิจฉัยมีผลนับแต่ วนั ทีม่ ีคาวินิจฉัย ไม่ ย้อนหลัง
เหมือนคาพิพากษาศาลฎีกา แต่ มีข้อยกเว้น ม. 185
วรรคสาม
52
3.5 มีความเป็นอิสระ
-
วาระการดารงตาแหน่ ง
ลักษณะต้ องห้ าม
เงินเดือน
หน่ วยธุรการ
มีองค์คณะ /
การทาคาวินิจฉัยส่ วนตน
ม. 208 , 209
ม. 205 , 207
ม. 202
ม. 217
ม. 216
53
3.6 เป็ นศาลที่มีเขตอานาจเฉพาะ
ศาลหลัก คือ ศาลยุติธรรม ม.218
ศาลปกครองพิจารณาว่า กฎ , คาสังทางปกครอง
่
หรือการกระทาขัดรัฐธรรมนูญ ม.223
54
4. องค์ ประกอบ
4.1 องค์ ประกอบตามรัฐธรรมนูญ 2540 : 15 คน
5 คน จากศาลฎีกา
2 คน จากศาลปกครองสู งสุ ด
5 คน จากผู้ทรงคุณวุฒิทางนิตศิ าสตร์
3 คน จากผู้ทรงคุณวุฒิทางรัฐศาสตร์
55
4.2 องค์ประกอบตามรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญ
ฯ 2550 : 9 คน
- ผูพ้ ิ พากษาศาลฎีกา 3 คน
- ตุลาการศาลปกครองสูงสุด 2 คน (ถ้าไม่มีเลือก
ผูม้ ีความรู้เชี่ยวชาญทางนิติศาสตร์แทนได้)
- ผูท้ รงคุณวุฒิทางนิติศาสตร์ 2 คน
- ผูท้ รงคุณวุฒิทางรัฐศาสตร์ 2 คน
(คณะกรรมการสรรหา 5 คน วุฒิสภาเห็นชอบ)
56
5. เขตอานาจ ผู้รักษาความเป็ นกฎหมายสู งสุ ดของรัฐธรรมนูญ
5.1 อานาจควบคุมร่ างกฎหมายมิให้ ขดั รธน.
5.1.1. ร่ าง กม. ม. 141,154
5.1.2. บท กม.
ม. 211 ม. 212
ม. 245 (1) , 257 (2)
5.1.3 พระราชกาหนด
ม. 185
ข้ อยกเว้ น ข้ อบังคับการประชุม ม. 155
ระเบียบองค์ กรตาม รธน. ว.24/2543
อาจขึน้ ศาลปกครองตาม ม.223
57
5.2. วินิจฉัยข้ อขัดแย้ งเกีย่ วกับอานาจหน้ าที่ขององค์ กรตาม รธน.
5.2.1. ม. 214
5.2.2. หลักการแห่ งร่ าง พ.ร.บ. ม.149 ว.2
5.2.3. การแปรญัตติของสมาชิก/กรรมาธิการ ม.168 ว.7 เช่ น
ว.14/2552, ว.14/2551
5.2.4 การวินิจฉัยสนธิสัญญาตาม ม.190 เช่ น ว.6-7/2551, คาสั่ งที่
10/2554
58
กรณี คาวินิจฉัยตาม ม.๑๖๘ วรรคหก
ค า วิ นิ จ ฉั ย ศ า ล รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ที่ ๑ ๔ / ๒ ๕ ๕ ๒ ก ร ณี ร่ า ง
พระราชบัญ ญัติ งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี งบประมาณ พ .ศ .
๒๕๕๓ ในชัน้ พิ จ ารณาของคณะกรรมาธิ การมี ก ารปรับ ลดเงิ น
งบประมาณบางกระทรวง บางกรม และบางหน่ วยงานของรัฐออก
และเมื่อได้ปรับลดแล้ว กรรมาธิการได้นาเงินงบประมาณที่ ได้ปรับ
ลดลงดัง กล่ า ว กลับ มาเพิ่ มเป็ นงบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี
งบประมาณ โดยมิได้มีการนาเข้าสู่การพิจารณารับหลักการของสภา
ผู้แทนราษฎร ถือเป็ นการกระทาโดยมิชอบเนื่ องจากมิได้ปฏิบตั ิ ตาม
บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ กล่าวคือไม่มีรายละเอียดของโครงการ ที่
แสดงให้ เห็นถึงประมาณการรายรับ เอกสารประกอบ วัตถุประสงค์
กิจกรรม และแผนงานแต่ ละรายการอย่างชัดเจนตามรัฐธรรมนู ญ
59
มาตรา ๑๖๗ และ มาตรา ๑๖๘
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า กรณี ที่ผ้รู ้องกล่าวอ้างเป็ นเพียงการ
คาดคะเนและห่วงกังวลของผู้ร้องเท่านัน้ แต่จากเอกสารหลักฐานที่
ปรากฏในการพิจารณายังไม่ถึงขนาดที่ จะให้ อนุมานข้องเท็จจริงได้
ว่ามีการกระทาของกรรมาธิการหรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนใด
มีผลให้ กรรมาธิการหรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีส่วนในการใช้
จ่ายงบประมาณอย่างไร และยังไม่ปรากฏว่ามีการเสนอหรืออนุมตั ิ
งบประมาณเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ประโยชน์ ข องสมาชิ ก สภาผู้แ ทนราษฎร
สมาชิกวุฒิสภา หรือกรรมาธิการที่จะมีส่วนในการใช้งบประมาณนัน้
ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมอย่างไรจึงยังไม่ถือว่ามีการกระทาอัน
เป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา ๑๖๘ วรรค ๖
60
คาวินิจฉัยที่ ๑๔/๒๕๕๑ กรณี ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณ
รายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ในวาระที่สอง มีการตัดลด
งบประมาณลง ๔๕,๐๐๙,๕๘๕,๗๐๐ บาท แต่มีการตัง้ งบประมาณ
เพิ่มกลับมาเท่าจานวนดังกล่าว โดยมติคณะรัฐมนตรีซึ่งเป็ นผูใ้ ช้
งบประมาณและมีฐานะเป็ นสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรด้วยจึงต้องห้าม
ในการแปรญัตติหรือกระทาด้วยประการใด ๆ ที่มีผลหรือมีส่วนได้
เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในการใช้งบประมาณรายจ่าย จึง
ขัดต่อรัฐธรรมนูญมาตรา ๑๖๘ วรรคห้า และวรรคหก
61
ศาลเห็นว่า รธน.บัญญัติเกี่ยวกับคณะรัฐมนตรี ว่า รัฐมนตรี อาจแต่งตั้งจาก
สส.ประกอบเป็ นคณะรั ฐมนตรี ก็ได้ เพียงแต่ใ นการประชุ ม สภา สส.ซึ่ งดารง
ตาแหน่ งเป็ นรัฐมนตรี ในขณะเดียวกัน จะออกเสี ยงลงคะแนนในเรื่ องที่เกี่ยวกับ
การดารงตาแหน่ง การปฏิบตั ิหน้าที่ หรื อการมีส่วนได้เสี ยในเรื่ องนั้นมิได้ ตาม ม.
๑๗๗ วรรคสอง เมื่อคณะรั ฐมนตรี มีอำนำจในกำรเสนอร่ ำงพรบ.งบประมำณ
รำยจ่ ำยต่ อรั ฐสภำและเสนอคำขอเพิ่มงบประมำณรำยจ่ ำยในชั้ นกรรมำธิ ก ำร
วิสำมัญ จึงเป็ นกำรกระทำโดยคณะรัฐมนตรีซึ่งเป็ นองค์ กรฝ่ ำยบริห ำรในรู ปของ
มติคณะรั ฐมนตรี มิได้ กระทำในฐำนะเป็ นสส. ประกอบกับข้อเท็จจริ งไม่ปรากฏ
ให้เห็ นได้ว่าเป็ นการตั้งเพิ่มเพื่อประโยชน์ของสมาชิ กสภาผูแ้ ทนราษฎรหรื อ
กรรมาธิ การวิสามัญจะมีส่วนในขั้นตอนการใช้งบประมาณรายจ่ายที่ขอเพิ่มเติม
ดังกล่ าวไม่ ว่าโดยทางตรงหรื อทางอ้อมอย่างไร กรณี จึ งฟั ง ไม่ ไ ด้ว่า เป็ นการ
กระทาที่ฝ่าฝื นบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๖๘ วรรคหก
62
กรณี คาวินิจฉัยตามมาตรา ๑๙๐
คำวินิจฉัยที่ ๖-๗/๒๕๕๑ คำแถลงกำรณ์ ร่วม ไทย – กัมพูชำ เป็ นหนังสื อสัญญาที่
ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๙๐ หรื อไม่ คาว่า
“หนังสื อสัญญา” ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๙๐ หมายถึง ความตกลงระหว่าง
ประเทศทุกประเภทที่จดั ทาขึ้นระหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศหรื อองค์การ
ระหว่างประเทศในรู ปแบบที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร และอยูภ่ ายใต้บงั คับของ
กฎหมายระหว่างประเทศ ไม่วา่ จะถูกบันทึกไว้ในเอกสารฉบับเดียวหรื อหลาย
ฉบับที่เกี่ยวพันกัน และไม่วา่ จะเรี ยกชื่อว่าอย่างไร เมื่อคำแถลงกำรณ์ ร่วมดังกล่ำว
เป็ นหนังสื อบันทึกข้ อตกลงอันเป็ นผลมำจำกกำรประชุ มร่ วมกันระหว่ ำงผู้ทมี่ ี
อำนำจทำควำมตกลงระหว่ ำงประเทศผูกพันประเทศไทยและกัมพูชำได้ โดยได้
ประชุ มทำควำมตกลงกันในรูปแบบและลักษณะของกำรประชุ มเพือ่ ทำควำมตก
ลงระหว่ ำงประเทศ และผู้มีอำนำจทำกำรแทนประเทศทั้งสองก็ทำควำมตกลงกัน
ได้ ๖ ข้ อ ดังทีบ่ ันทึกไว้ ในคำแถลงกำรณ์ ร่วมนั้น ด้ วยเหตุนี้ คำแถลงกำรณ์ ร่วม63
ดังกล่ำวจึงเข้ ำลักษณะเป็ น “หนังสื อสั ญญำ”
คาว่า “หนังสือสัญญาทีม่ ีบทเปลีย่ นแปลง....” นัน้ แม้ว่าถ้อยคาที่ใช้จะ
บัญญัติว่าหากเป็ นหนังสือสัญญาที่มีบทเปลี่ยนแปลง อันดูเหมือนว่าจะต้อง
ปรากฏชัดในข้อบทหนังสือสัญญาว่ามีบทเปลี่ยนแปลง อาณาเขตไทยหรือ
พื้นที่ นอกอาณาเขตซึ่ งประเทศไทยมี สิทธิอธิปไตยหรือมี เขตอานาจ จึ ง
ต้ อ งขอความเห็น ชอบของรัฐ สภา แต่ ห ากแปลความเช่ น ว่ า นั ้น ก็จ ะไม่
เกิดผลตามความมุ่งหมายของรัฐธรรมนูญที่ม่งุ จะตรวจสอบควบคุมการทา
หนังสือสัญญาก่อนที่ ฝ่ายบริหารจะไปลงนามให้ มีผลผูกพันประเทศ ซึ่ งจะ
เกิดปัญหาตามมาภายหลังได้ จึงต้องแปลความว่าหากหนังสือสัญญาใดที่มี
ลักษณะของหนังสือสัญญาที่ อาจมีผลเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย หรืออาจ
มีผลเปลี่ยนแปลงเขตพื้นที่ นอกอาณาเขตซึ่ งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตย
หรือมีเขตอานาจตามหนั งสื อสัญญาหรือตามกฎหมายระหว่างประเทศก็
ต้ องนาหนั งสื อสัญญานั น้ ขอความเห็นชอบของรัฐสภาก่ อนตามรัมาตรา
๑๙๐ วรรคสอง และวรรคสาม
64
เมื่อพิจารณา คาแถลงการณ์ ร่วมแล้ว จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า
แผนที่ดงั กล่าวได้กล่าวอ้างถึงพื้นที่ N.๑ N.๒ และ N.๓ โดยที่ไม่ได้มี
การกาหนดเขตของพื้นที่ N.๑ N.๒ และ N.๓ ให้ชดั เจนว่ามีบริเวณ
ครอบคลุมส่ วนใดของประเทศใดเป็ นจานวนเท่ าใด ซึ่ งเป็ นการสุ่ม
เสี่ยงต่อผลกระทบในเรื่องอาณาเขตของประเทศไทยคาแถลงการณ์
ร่วมดังกล่าวจึงเป็ นหนังสือสัญญาที่ อาจมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขต
ประเทศไทย จึงเป็ นหนังสือสัญญาที่รฐั ธรรมนูญ มาตรา ๑๙๐ วรรค
สอง กาหนดให้ต้องได้รบั ความเห็นชอบของรัฐสภา
65
คำสั่ งที่ ๑๐/๒๕๕๔ กรณี บนั ทึกการประชุมคณะกรรมาธิ การเขตแดนร่ วมไทย-กัมพูชา
รวม ๓ ฉบับเป็ นหนัง สื อ สั ญ ญาที่ ต ้อ งได้รั บ ความเห็ นชอบของรั ฐสภาตามรั ฐ ธรรมนู ญ
มาตรา ๑๙๐ หรื อไม่
ข้อเท็จจริ ง ในการประชุม JBC (Joint Boundary Commission-JBC)ที่ผา่ นมาทั้ง ๓ ครั้ง
คณะผูแ้ ทนทั้ง สองฝ่ ายหารื อ เกี่ ย วกับ ร่ า งข้อ ตกลงชั่ว คราวเกี่ ย วกับ ปั ญ หาชายแดนไทยกัมพูชาบริ เวณประสาทพระวิหารซึ่ งจะต้องเจรจากันต่อไป และบันทึกการประชุมทั้ง ๓ ครั้ง
ที่คณะผูแ้ ทนทั้งสองฝ่ ายลงนามไปแล้วยังจะต้องได้รับการยืนยันผ่านทางช่องทางการฑูตว่า
ได้ดาเนิ นตามกระบวนการทางกฎหมายภายในของแต่ละฝ่ ายที่ กาหนดไว้สาหรั บการมีผล
บังคับใช้ของบันทึกการประชุมเสร็ จสิ้ นแล้ว
ศาลเห็นว่า การที่คณะรัฐมนตรี ได้นาบันทึกการณประชุมดังกล่าวรวม ๓ ฉบับเสนอต่อ
รัฐสภาเพื่อให้ความเห็ นชอบ โดยมี ข้อเท็จจริ งปรำกฏว่ ำ คณะผู้แทนทั้งสองฝ่ ำยยังจะต้ อง
เจรจำกันต่ อไป กรณียังไม่ ถึงขั้นตอนที่จะต้ องเสนอเรื่ องให้ ศำลรั ฐธรรมนู ญวินิจฉั ยชี้ขำด
เนื่ อ งจากยัง มี ข้ ัน ตอนอื่ น ๆซึ่ งเป็ นเรื่ อ งที่ ฝ่ ายบริ ห ารและฝ่ ายนิ ติ บ ัญ ญัติ จ ะต้อ งพิ จ ารณา
ดาเนิ นการเสี ยก่อน ในชั้นนี้ จึงยังไม่ตอ้ งด้วยหลักเกณฑ์ตามรัฐธรรมนูญมาตรา ๑๙๐ วรรค
66
หกประกอบมาตรา๑๕๔วรรคหนึ่ง (๑) จึงมีคาสั่งให้จาหน่ายคาร้อง
5.3. ควบคุมพรรคการเมือง
5.3.1. มติ/ข้ อบังคับพรรค ม. 65 ว.3,106(7), พ.ร.บ. ป. ม. 33 เช่ น
ว.1/2542, 26/2554, 25/2554
5.3.2. การอุทธรณ์ คาสั่ งไม่ รับจดทะเบียนพรรค พ.ร.บ. ป. ม. 12
5.3.3. หัวหน้ ากรรมการบริหารฝ่ าฝื นนโยบายข้ อบังคับ ม.31 ว. 2
5.3.4. การสิ้นสภาพ การยุบพรรค พ.ร.บ. ป. ม.91, 93- 95
67
คาวินิจฉัยที่๑/๒๕๔๒(คดีงูเห่า)
กรณี ส มาชิ ก ของพรรคประชากรไทยที่ ถ ูก ขับ ออกจากพรรค
เนื่ องจากลงชื่ อสนั บสนุ นนายชวน หลี กภัยเป็ นนายกรัฐมนตรี และ
เข้าร่วมรัฐบาลตรงข้ามกับมติพรรคที่ สนั บสนุ นให้ พลเอกชาติชาย
ชุณหะวัณเป็ นนายกรัฐมนตรีจึงยื่นคาร้องตามมาตรา ๑๑๘ (๘) ของ
รธน.๒๕๔๐ อุทธรณ์ไปยังศาลรัฐธรรมนูญ
ศาลรัฐ ธรรมนู ญ วิ นิ จฉั ย ว่ า มติ ข องพรรคประชากรไทยไม่ ไ ด้
เป็ นไปตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๔๗ วรรคสาม มติที่ขบั
ใช้ ไม่ ไ ด้ เนื่ องจา กขั ด ต่ อสถ า นะและกา รปฏิ บั ติ ห น้ าที่ ของ
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและขัดหรือแย้งกับหลักการพื้นฐานแห่ ง
การปกครองระบอบประชาธิปไตย เป็ นเหตุให้ ๑๒ สมาชิกสามารถ
ออกจากพรรคประชากรไทยไปสังกัดพรรคอื่นได้ (ตรงกับ รธน. ๕๐
68
มาตรา ๑๐๖ (๗) ตรงกับ รัฐธรรมนูญ มาตรา ๖๕ วรรคสาม)
ตัวอย่างคาวินิจฉัยตามมาตรา ๑๐๖(๗)
คาวินิจฉัยที่ ๒๖/๒๕๕๔ (คดีปรพล อดิเรกสาร)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ร้อยตรี ปรพล อดิเรกสาร) ขอให้
ศาลรธน.พิจารณาวินิจฉัยวา่ มติของพรรคเพือ
่ ไทย ให้ ผ้รู ้องพ้นจาก
การเป็ นสมาชิ ก ของพรรคผู้ถ กู ร้ อ ง มีล กั ษณะขัด ต่อสถานะและการ
ปฏิบ ต
ั ห
ิ น้าทีข
่ อง สส.ตามรัฐธรรมนูญ หรือขัด หรือแย้ งกับ หลักการ
พืน
้ ฐานแห่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง
์
เป็ นประมุข ตามรธน.ม. ๖๕ วรรคสาม กลาวคื
อ ขัดตอสถานะและ
่
่
การปฏิบต
ั ห
ิ น้าทีข
่ องสมาชิกสภาผู้ทานราษฎร ตามรัฐธรรมนูญ หรือ
ขัด แย้ งกับ หลัก การพื้ น ฐานแห่ งการปกครองระบบประชาธิ ป ไตย
อันมีพระมหากษัตริยทรงเป็
นประมุข
์
69
เมื่อพิจารณาเหตุที่พรรคผูถ้ ูกร้องมีมติให้ผรู ้ ้องพ้นจากการเป็ นสมาชิกพรรค
ซึ่ งประกอบด้วยเหตุผลที่ สาคัญ กล่าวคือ ผูร้ ้ องเข้าร่ วมงานสัมมนาของพรรค
ภูมิใจไทย ที่จดั ขึ้น ณ จังหวัดสกลนครและได้แสดงตนปรากฏต่อสาธารณะอย่าง
เปิ ดเผย โดยการแถลงเปิ ดตัวและขึ้นป้ ายขนานใหญ่ริมทางหลวงประกาศแสดง
ตนว่าเป็ นสมาชิ กของพรรคภูมิใจไทย ทั้งผูร้ ้องได้แถลงข่าวต่อสื่ อมวลชนว่าผู ้
ร้ องจะเข้าร่ ว มด าเนิ น งานทางการเมื องกับพรรคภู มิใ จไทย และแม้จะยังมิ ได้
สมัครเป็ นสมาชิกพรรคการเมืองอื่นอย่างเป็ นทางการก็ตาม เหตุที่ผรู ้ ้องไม่ลาออก
จากพรรคการเมื องผูถ้ ูกร้ องแล้วย้ายไปสมัครเป็ นสมาชิ กพรรคการเมื องอื่ น ก็
เพื่อที่จะคงไว้ซ่ ึ งสถานะการเป็ นสส.เท่านั้น ควำมประพฤติของผู้ร้องดังกล่ ำว
เ ป็ น รื่ อ ง ส่ ว น ตั ว ข อ ง ผู้ ร้ อ ง มิ ไ ด้ เ กี่ ย ว กั บ ก ำ ร ป ฏิ บั ติ ห น้ ำ ที่ ใ น ฐ ำ น ะ
สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรจึงมิใช่เป็ นเรื่ องที่มีลกั ษณะขัดต่อสถานะและการปฏิบตั ิ
หน้าที่ ของสส.หรื อขัด หรื อแย้งกับหลักการพื้น ฐานแห่ งการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัติยท์ รงเป็ นประมุขแต่อย่างใด
70
5.4. ควบคุมคุณสมบัต/ิ ลักษณะต้ องห้ ามของบุคคลผู้ดารงตาแหน่ ง
ในองค์ กรตาม รธน.
5.4.1 ส.ส./ส.ว. ม. 91, 92
5.4.2. รมต. ม. 182
5.4.3. ก.ก.ต. ม. 233
5.5. พิทกั ษ์ รัฐธรรมนูญจากการเปลีย่ นแปลงนอกวิถี รธน. ม. 68,
ม.237
5.6. อานาจหน้ าทีอ่ นื่ ตามบทเฉพาะกาล ม. 300
71
ตัวอย่างคาวินิจฉัยเรื่องสมาชิกภาพของ สส. สว.และรัฐมนตรี
คาวินิจฉัยที่ ๒/๒๕๕๔(กรณี วฒ
ุ ิ สภา)
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้นายอิทธิพล เรืองวรบูรณสิ์ ้ นสุดจาก
ความเป็ นสมาชิ ก วุ ฒ ิ ส ภา เนื่ องจากเป็ นบุ พ การี ข องนายยุ ท ธนา
เรื อ งวรบู ร ณ์ นายกเทศมนตรี ต าบลศรี ส งครามซึ่ ง เป็ นผู้บ ริ ห าร
ท้ อ งถิ่ น จึ ง มีล ัก ษณะต้ องห้ ามตามรัฐ ธรรมนู ญ มาตรา ๑๑๕ (๕)
ประกอบกับมาตรา ๑๑๙(๔) นับแตวั
่ ุตรของผู้ถูกร้องไดรั
่ นทีบ
้ บเลือกตัง้
ให้ดารงตาแหน่งดังกลาว
่
72
คำวินิจฉัยที่๑๒-๑๔/๒๕๕๓ (กรณี สส.)
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยโดยเสี ยงข้างมาก (๗ ต่อ ๑) ให้สมาชิกภาพของ
สมาชิ กสภาผูแ้ ทนราษฎรถึง ๖ คนสิ้ นสุ ดลง คือ นายสมเกียรติ ฉันทวานิ ช ผูถ้ ูก
ร้องที่ ๑๙, นางมลิวลั ย์ ธัญญสกุลกิจผูถ้ ูกร้องที่ ๓๓ และร้อยโท ปรี ชาพล พงษ์
พานิ ช ผูถ้ ูกร้องที่ ๔๒ กระทาการอันเป็ นการต้องห้ามตามรัฐธรรมนู ญ มาตรา
๒๖๕ วรรคหนึ่ ง (๒) โดยกำรเข้ ำถือหุ้นในบริษัทที่รับสั มปทำน และกรณี นาย
เกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร ผูถ้ ูกร้องที่ ๓๐ และนายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ ผูถ้ ูกร้องที่ ๔๐
กระทาการอันเป็ นการต้องห้ามตามมาตรา ๒๖๕ วรรคหนึ่ง (๒) และวรรคสาม
เนื่องจำกคู่สมรสเข้ ำถือหุ้นในบริษัทที่รับสั มปทำน ส่ วนหม่อมราชวงศ์ กิติวฒั นา
(ไชยันต์) ปกมนตรี ผูถ้ ูกร้องที่ ๔๔ กระทาการอันต้องห้ามตามมาตรา ๒๖๕
วรรคหนึ่ง (๔) ประกอบมาตรา ๔๘เนื่องจำกกำรถือหุ้นในกิจกำรโทรคมนำคม
อันเป็ นเหตุให้สมาชิกภาพสิ้ นสุ ดลงตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๐๖ (๖) นับแต่วนั ที่
ศาลรัฐธรรมนูญมีคาวินิจฉัย
73
คำวินิจฉัยที่ ๑๒-๑๓/๒๕๕๑(คดีชิมไปบ่ นไป กรณีนำยกรัฐมนตรี)
การสิ้ นสุ ดความเป็ นรัฐมนตรี ของนายกรัฐมนตรี (นายสมัคร สุ นทรเวช) ตามร
ธน.ม.๑๘๒ วรรคหนึ่ง (๗)และม. ๒๖๗ ประกอบม. ๑๘๒ วรรคสาม และม.๙๑
ศาลเห็นว่ามาตรา ๒๖๗ ซึ่งบัญญัติหา้ มนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี เป็ นลูกจ้างของ
บุคคลใดเพือ่ ให้การปฏิบตั ิหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี เป็ นไปโดยชอบ ป้ องกัน
มิให้ เกิดกำรกระทำที่เป็ นกำรขัดกันแห่ งผลประโยชน์ อันจะก่อให้เกิ ดสถานการณ์ขาด
จริ ยธรรมซึ่งยากต่อการตัดสิ นใจ กำรทำให้ เจตนำรมณ์ ของรัฐธรรมนูญดังกล่ ำวบรรลุผล
กำรแปลควำมคำว่ ำ “ลูกจ้ ำง” จึงมีควำมหมำยกว้ ำงกว่ ำคำนิยำมของกฎหมำยอื่น โดยต้อง
แปลความตามความหมายทั่ว ไป ซึ่ งตามพจนานุ ก รมฉบับ ราชบัณ ฑิ ต ยสถาน พ.ศ.
๒๕๔๒ ได้ให้ความหมายของคาว่า “ลูกจ้าง” ว่าหมายถึง “ผูร้ ับจ้างทาการงาน ผูซ้ ่ ึงตกลง
ทางานให้นายจ้างโดยได้รับค่าจ้างไม่ว่าจะเรี ยกชื่ออย่างไร” โดยมิได้คานึ งว่าจะมีการทา
สัญญาจ้างเป็ นลายลักษณ์อกั ษรหรื อไม่ หรื อได้รับค่าตอบแทนเป็ นค่าจ้าง สิ นจ้าง หรื อ
ค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็ นทรัพย์สินอย่างอื่น หากมีการตกลงเป็ นผูร้ ับจ้างทาการงาน
แล้ว ย่อมอยูใ่ นความหมายของคาว่า “ลูกจ้าง”ตามม. ๒๖๗ ทั้งสิ้ น
74
ข้อ เท็จ จริ ง ได้ค วามจากการไต่ สวนผูถ้ ู ก ร้ อ งว่า หลังจากผูถ้ ูก ร้ องเข้า รั บ
ตาแหน่ งนายกรัฐมนตรี แล้วผูถ้ ูกร้องยังคงเป็ นพิธีกรในรายการ“ชิ มไป บ่นไป”
และ “ยกโขยง ๖ โมงเช้า” ให้แก่บริ ษทั เฟซ มีเดีย จากัดเมื่อพิเคราะห์ถึงลักษณะ
กิจการงานที่บริ ษทั เฟซ มีเดีย จากัด ได้กระทาร่ วมกันกับผูถ้ ูกร้องมาโดยตลอด
เป็ นเวลาหลายปี โดยบริ ษัทเฟซ มีเดีย จากัด ทาเพื่อมุ่งค้ าหากาไร มิใช่ เพื่อการ
กุศลสาธารณะ และผู้ถูกร้ องก็ได้ รับค่ าตอบแทนอย่ างสมฐานะและภารกิจ เมื่อได้
กระทาในระหว่ างที่ผู้ถูกร้ องดารงตาแหน่ งเป็ นนายกรั ฐมนตรี จึงเป็ นการกระทา
และนิติสัมพันธ์ ที่อยู่ในขอบข่ ายที่มาตรา ๒๖๗ ประสงค์ จะป้องปรามเพื่อมิให้
เกิดผลประโยชน์ ทับซ้ อนกับภาคธุ รกิจเอกชนแล้ ว กรณี ถือได้ว่า ผูถ้ ูกร้อง เป็ น
ลูกจ้างของบริ ษทั เฟซ มีเดี ย จากัด เป็ นการกระทาอันต้องห้ามตามรั ฐธรรมนู ญ
มาตรา ๒๖๗ ความเป็ นรั ฐ มนตรี ของผู ้ถู ก ร้ อ งจึ ง สิ้ น สุ ด ลงเฉพาะตัว ตาม
รัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๘๒ วรรคหนึ่ง (๗)
75
คาวินิจฉัยที่ ๙/๒๕๕๑ (คดีมาตรา๒๖๙ กรณี รฐั มนตรี)
กรณี ข องนายไชยา สะสมทรัพ ย์ไ ม่แ จ้ ง ให้ ป ระธานกรรมการ
ป.ป.ช. ทราบว่าประสงค์จะได้รบั ประโยชน์ จากการที่นางจุไร สะสม
ทรัพย์ คู่สมรสของตนถือหุ้นในบริษัททรัพย์ฮกเฮง จากัด เกินกว่า
ร้อยละห้าของจานวนหุ้น ที่จาหน่ ายได้ในบริษทั ภายในสามสิบวันนับ
แต่ วนั ที่ ผ้ถู กู ร้องได้รบั แต่ งตัง้ เป็ นรัฐมนตรี ตามรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐
มาตรา ๒๖๙ เป็ นการกระทาการอันต้องห้ามตามมาตรา ๑๘๒ วรรค
หนึ่ ง (๗) ประกอบมาตรา ๒๖๙ ความเป็ นรัฐมนตรีของนายไชยา
สะสมทรัพย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขสิ้นสุดลงเมื่อพ้น
กาหนดสามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้รบั แต่งตัง้ เป็ นรัฐมนตรี ตามมาตรา
๑๘๒ วรรคหนึ่ ง (๗)
76
คาวินิจฉัยศาลรั ฐธรรมนูญที่ 1/2556 (กรณีรัฐมนตรี )
“...รธน. มาตรา 182 วรรคหนึ่ง (5) บัญญัตวิ ่ า “ความเป็ นรั ฐมนตรี
สิน้ สุดลงเฉพาะตัวเมื่อ...(5) ขาดคุณสมบัตหิ รื อมีลักษณะต้ องห้ ามตามมาตรา
174 ..” ซึ่งมาตรา 174 บัญญัตวิ ่ า “รั ฐมนตรี ต้องมีคุณสมบัตแิ ละไม่ มีลักษณะ
ต้ องห้ าม ดังต่ อไปนี ้ ... (5) ไม่ เคยต้ องคาพิพากษาให้ จาคุกโดยได้ พ้นโทษ
มายังไม่ ถงึ ห้ าปี ก่ อนได้ รับแต่ งตัง้ ...” ซึ่ง รธน. มีเจตนารมณ์ ให้ บุคคลที่เข้ าสู่
ตาแหน่ งรั ฐมนตรี ต้องมีคุณสมบัติ ไม่ มีลักษณะต้ องห้ าม และยังคงต้ องมี
คุณสมบัตแิ ละไม่ มีลักษณะต้ องห้ ามอย่ างต่ อเนื่อง....ในขณะที่มาตรา 182
วรรคหนึ่ง (3) บัญญัตวิ ่ า “ความเป็ นรั ฐมนตรี สนิ ้ สุดลงเฉพาะตัวเมื่อ...(3) ต้ อง
คาพิพากษาให้ จาคุก แม้ คดีนัน้ จะยังไม่ ถงึ ที่สุดหรื อมีการรอการลงโทษ เว้ น
แต่ เป็ นกรณีท่ คี ดียังไม่ ถงึ ที่สุด หรื อมีการรอการลงโทษในความผิดอันได้
กระทาโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรื อความผิดฐานหมิ่นประมาท....
77
...เมื่อมาตรา 182 วรรคหนึ่ง (3) บัญญัตใิ ห้ ความเป็ นรั ฐมนตรีต้องสิน้ สุดลง
เมื่อผู้ดารงตาแหน่ งต้ องคาพิพากษาให้ จาคุก แม้ คดีนัน้ จะยังไม่ ถงึ ที่สุด หรื อมี
การรอการลงโทษ แสดงว่ า รธน. มีเจตนารมณ์ ให้ ผ้ ูท่ ดี ารงตาแหน่ งรั ฐมนตรี ท่ ี
ต้ องคาพิพากษาให้ จาคุกขณะดารงตาแหน่ ง ต้ องสิน้ สุดการเป็ นรั ฐมนตรี ทนั ที...
ขณะที่ มาตรา 174 (5) บัญญัตลิ ักษณะต้ องห้ ามของการเข้ าสู่ตาแหน่ งรั ฐมนตรี
ไว้ เพียงว่ าเคยต้ องคาพิพากษาให้ จาคุกโดยได้ พ้นโทษมายังไม่ ถงึ ห้ าปี ก่ อนได้ รับ
การแต่ งตัง้ ไม่ ได้ มีถ้อยคาขยายลักษณะของการต้ องคาพิพากษาให้ จาคุก
ดังเช่ นมาตรา 182 วรรคหนึ่ง (3) ...มาตรา 174 (5) นี ้ เป็ นเพียงการกาหนด
เงื่อนไขและเงื่อนเวลาของการเข้ าดารงตาแหน่ งรั ฐมนตรี และแม้ จะถูกนาเข้ า
ไปเป็ นส่ วนหนึ่งของการสิน้ สุดการดารงตาแหน่ งรั ฐมนตรี ตามมาตรา 182
วรรคหนึ่ง (5) ก็ตาม การพิจารณาความหมายของการเคยต้ องคาพิพากษาให้
จาคุกตามมาตรา 174 (5) จึงต้ องมีความหมายที่ต่างไปจากมาตรา 182 วรรค
หนึ่ง (3)
78
... “ต้ องคาพิพากษาให้ จาคุก” ตามมาตรา 182 วรรคหนึ่ง (5) ประกอบ
มาตรา 174 (5) จึงต้ องหมายความว่ าต้ องคาพิพากษาให้ จาคุกโดยต้ องมีการ
จาคุกจริงเท่ านัน้ ....
... เมื่อข้ อเท็จจริงปรากฏว่ า ผู้ถูกร้ องเคยต้ องคาพิพากษาของศาลฎีกา
แผนกคดีอาญาฯ โดยโทษจาคุกศาลให้ รอการลงโทษไว้ มีกาหนด ๒ ปี จึงถือ
ไม่ ได้ ว่า ผู้ถูกร้ องเคยต้ องคาพิพากษาให้ จาคุก ตามความหมายของ
รั ฐธรรมนูญ มาตรา 174 (5) ความเป็ นรั ฐมนตรี ของผู้ร้องจึงไม่ สนิ ้ สุดลงตาม
รธน. มาตรา 182 วรรคหนึ่ง (5) ประกอบมาตรา 174 (5)....”
79