chapter9 - UTCC e

Download Report

Transcript chapter9 - UTCC e

โลจิสติกส์
ความเป็ นมา
ปั จจัยการดารงชีพ เป็ นสิ่งจาเป็ น การได้ มาซึ่งปั จจัยต่ างๆ มี
ต้ นทุนในการดาเนินการและมีผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อม
การบริหารจัดการที่ดีจะช่ วยลดต้ นทุนในการดาเนินการ และ
ยังช่ วยรักษาสิ่งแวดล้ อมโลกด้ วย
โลจิสติกส์
Logistics ภาษาฝรั่งเศส logistique
รากศัพท์ จาก โลเชร์ (loger) หมายถึงการเก็บ
จุดเริ่มต้ นศาสตร์ นี้
เริ่มจากวงการทหาร(ส่ งกาลังบารุง)
และเมื่อเห็นประโยชน์ จงึ นาเข้ าสู่ วงการธุรกิจ
โลจิสติกส์
ปัจจุบันหมายถึง
ระบบการบริหารเกีย่ วกับการจาหน่ าย การเคลือ่ นย้ าย
จัดเก็บวัตถุดบิ สิ นค้ าตั้งแต่ การผลิต จนถึงมือผู้บริโภค
โดยเน้ นประสิ ทธิภาพ และความพึงพอใจ
เป็ นระบบที่ต้องมีการทางานร่ วมกันในหลายกิจกรรม
โลจิสติกส์
วัตถุประสงค์ คือ การบริหารจัดการสิ่ งต่ างๆ เช่ นข้ อมูล
คน เครื่องจักร สิ นค้ า หรืออืน่ ๆ
เพือ่ ให้ เกิดประสิ ทธิภาพสู งสุ ด
ในการจัดส่ งสิ นค้ าไปยังสถานทีท่ ถี่ ูกต้ อง
ในเวลาทีเ่ หมาะสม
และมีค่าใช้ จ่ายทีป่ ระหยัดทีส่ ุ ด
กิจกรรม โลจิสติกส์ ที่สำคัญ เช่น
การรับหรือส่ งสิ นค้ า และ การบริการลูกค้ า การบรรจุภณ
ั ฑ์
การขนถ่ ายในโรงงาน นอกโรงงาน และต่ างประเทศ
การจัดการคลังสิ นค้ า สถานที่ต้งั การบริหารสิ นค้ าคงคลัง
การบริหารจัดการผู้ผลิตวัตถุดบิ
การกระจายสิ นค้ า
ระบบควบคุมการผลิต
เหตุที่โลจิสติกส์ เป็ นประเด็นร้ อน
ผลวิจัยในหลายประเทศ
พบว่ าประเทศอุตสาหกรรมระบบจัดการที่ดี
ส่ วนประเทศอุตสาหกรรมใหม่ และประเทศพัฒนา เน้ น
แข่ งขันด้ วยค่ าแรง(ไม่ ย่ งั ยืน)
เพื่อความยั่งยืนบนเวทีโลก
โลจิสติกส์ จะช่ วยแก้ ปัญหานีไ้ ด้
มุมมองโลจิสติกส์ ของประเทศไทย
ระยะแรก(ปั จจุบัน)
มองเฉพาะด้ านต้ นทุนการขนส่ ง
(ซึ่งไม่ ถูกต้ องนัก)
ในอนาคต
ควรมองให้ ครอบคลุมทั้งระบบในการผลิตสิ นค้ า
(ซึ่งจะแข่ งขันได้ อย่ างยัง่ ยืน)
การขนส่ งของประเทศไทย
อดีต กรุ งเทพถูกเรียกว่ าเวนิสตะวันออก
http://www.thetrippacker.com/th/destination/place/at
traction/nakornpathom-lam-phaya-floating-market
ปั จจุบนั ยังมีร่องรอย
เส้ นทางน ้าอยูม่ ากมาย
แต่มงุ่ ใช้ เป็ นเส้ นทาง
ระบายน ้า หากพัฒนา
เพื่อการขนส่งจะเกิด
ประโยชน์มหาศาล
การขนส่ งของประเทศไทย
อดีตกรุ งเทพมีขนาดเล็ก มีย่านการค้ าคือสาเพ็ง เยาวราช
เจริญกรุ ง
การเดินทางนิยมใช้ รถลาก ซึ่งนาเข้ ามาจากจีน
ซ้ ายรถเจ๊ ก หรื อรถลาก ขวาสี่กกั๊ พระยาศรี ถนนเจริญกรุงในอดีต
http://allknowledges.tripod.com/pullcart.html
การขนส่ งของประเทศไทย
ในยุค ร.4 และ ร.5 มีการทาถนนสาหรับรถม้ า ม้ า โดยขุดคลองเอาดินมาทา
ถนน เช่ น ถนนเจริญกรุง ถนนสี ลม ถนนเฟื่ องนคร และต่ อมาได้ เกิดหน่ วยงาน
รับผิดชอบโดยตรงขึน้
เกิดเป็ นทางหลวงแผ่ นดินสายต่ างๆ โยงใยไปทัว่ ประเทศ
http://www.thaitransportphoto.net/modules.php?name=Forums&file=viewt
opic&t=4591
http://www.chaoprayanews.com/
การขนส่ งของประเทศไทย
แต่ นัน้ มา ยวดยานก็เพิ่มมหาศาลจนเกิดปั ญหามากมาย
ภาครั ฐตามไม่ ทนั ความเปลี่ยนแปลง
ขนส่ งมวลชน ไร้ ประสิทธิภาพ
ต้ นทุนการเดินทางสูงมหาศาล
http://www.toptenthailand.com
http://www.chaoprayanews.com/
รถไฟ
Tramway เป็ นรถ
บนราง ยุคแรกลาก
ด้ วยม้ า ก่ อนที่จะเป็ น
รถรางขับด้ วยไฟฟ้า
และรถไฟในเวลา
ต่ อมา
http://janghuman.files.wordpress.com/2008/07/tramway2.jpg
รถไฟ
George Stephenson ผู้ประดิษฐ์ รถ
จักรไอนา้ Rocket และเป็ นจุดเริ่ มต้นกิจกำร
รถไฟของโลก
http://www.spartacus.schoolnet.c
o.uk/RAstephensonG.htm
รถจักรไอน ้าในยุคต่อมา
http://www.britannica.com/EBchecked/media/96220/T
he-Rocket-built-by-George-Stephenson
รถไฟในประเทศไทย
พ.ศ. 2429 ไทยมีรถไฟสายแรก
เส้ นทางหัวลาโพง - สมุทรปราการ
คุณสาโรง ตานานแห่งเส้ นทางสายนี ้
http://portal.rotfaithai.com/themes/skyLineOrange/resizefix.php?originalsize=http://i286.photo
bucket.com/albums/ll83/black_express2/Northern%20route/wang-ka-phi-003.jpg
รถไฟในประเทศไทย
26 มีนาคม พ.ศ.2439
พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั จึงเสด็จ
พระราชดาเนินมาทรงประกอบ
พระราชพิธีเปิ ดการเดินรถไฟ
ระหว่าง สถานีกรุงเทพ - อยุธยา
ระยะทาง 71 กิโลเมตร
และถือเป็ นวันสถาปนารถไฟ
ไทย ทุกวันนี ้ของปี จะมีการ
เดินทางย้ อนอดีตในเส้ นทางนี ้
ด้ วยรถจักรไอน ้า
รถจักรไอน ้า PACIFIC หมายเลข 824 ขบวนรถพิเศษจักรไอน ้าที่ 901
กรุงเทพ - อยุธยา รถพ่วง 9 โบกี ้ ภาพโดยคุณศุภสิทธิ์
อนาคตรถไฟประเทศไทย
เพือ่ พัฒนาให้ ทดั เทียมกับชาติอนื่ จึงเชื่อว่ าใน
อนาคตอันใกล้ ประเทศไทยจะมีรถไฟความเร็วสู ง
ส่ วนเส้ นทางทีเ่ ป็ นไปได้ คอื
กรุ งเทพฯ-เชียงใหม่
กรุ งเทพฯ-อุบลรำชธำนี
กรุ งเทพฯ-นครรำชสี มำ-หนองคำย
กรุ งเทพฯ-หัวหิน-ปำดังเบซำร์
และ กรุ งเทพฯ-ระยอง
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=711353
ทำไมเลือกพัฒนำรถไฟ
จุดเด่ นของกำรขนส่ งด้วยรถไฟ
•ประหยัดเชื้อเพลิง เพรำะทำงเรี ยบ เสี ยดทำนน้อย
•ปลอดภัยกว่ำกำรขนส่ งแบบอื่น
•สำมำรถบรรทุกได้จำนวนมำก
•เสี ยค่ำใช้จ่ำยถูก
•รักษำเวลำได้ดี
คิดว่ามีจดุ ด้ อยหรื อไม่ ถ้ ามีคืออะไร แก้ ไขได้ อย่างไร
การขนส่ งทางนา้
เป็ นกำรขนส่ งที่ตน้ ทุนต่ำ
เนื่องจำกเป็ นเส้นทำงธรรมชำติ ไม่ตอ้ งบำรุ งรักษำมำกนัก
ส่ งสิ นค้ำได้จำนวนมำก
ประหยัดพลังงำนกำรขนส่ ง
แต่ใช้เวลำเดินทำงนำนไม่เหมำะกับสิ นค้ำที่มีขอ้ จำกัดเรื่ องเวลำ
มีท้ งั ในประเทศ ได้แก่ แม่น้ ำสำยหลัก และระหว่ำงประเทศ
เรื อสินค้ าขนาดใหญ่
my-sine.blogspot.com
องค์ประกอบกำรขนส่ งทำงน้ ำระหว่ำงประเทศ
1) ท่าเรื อ Harbour
2) เมืองท่า Port
ท่าเรื อมาบตาพุต ระยอง
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=621735
ท่าเรื อแหลมฉบัง
http://blog.eduzones.com/logistics/40728
ไทยถือเป็ นเมืองท่าระหว่างทาง
ปั ญหำของเส้นทำงน้ ำ และกำรแก้ไข
ในการเดินทางบางเส้ นทาง มีทวีปขวางอยู่ ต้ องเดินทางอ้ อม เปลือง
เวลาและเชื ้อเพลิง ประกอบกับเสี่ยงภัยธรรมชาติ
การขุดคลองลัด
ช่วยได้ จึงมีการขุดคลองลัดหลายเส้ นทาง เช่น สุเอช ปานามา
http://www.siamscubadiving.com/board/view.php?tid=1215
http://www.bloggang.com/data/bangkokdream
/picture/1186642488.jpg
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%
E0%B8%A5%E0%B9%8C:Panama_(orthographic_projecti
on).svg
คลองประดิษฐ์
ปานามา(แปซิฟิกกับแอตแลนติก) ยาว
71 กม ลดระยะทางได้ 22,500 กม.
สุเอช(ทะเลแดงกับเมดิเตอร์ เรเนียน
หรื อยุโรปกับเอเชีย) ยาว 183 กม
คลองต้ำยวิน่ เหอ (จีน)
เป็ นคลองขุดด้ วย
แรงงานมนุษย์ กว่ า
6 ล้ านคน นาน
30 ปี เพื่อเชื่อม
ภาคเหนือกับ
ภาคใต้ ของจีนเข้ า
ด้ วยกัน ยาวถึง
2,500 กิโลเมตร
คลองต้ ายวิ่นเหอ (อ่าน ต้ า-ยวิ่นเหอ)
http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/c/
cb/Modern_Course_of_Grand_Canal_of_China.png
กำรขนส่ งทำงอำกำศ
ควำมฝันอยำกจะบินของ
มนุษย์มีมำนำน เช่น
หลักฐำนของศิลปิ น
Leonardo da
Vinci (ภาพโมนาลิซ่า)
เกีย่ วกับปี กเพือ่ การบิน
http://eveba.exteen.com/20090827/leonardo-da-vinci
กำรขนส่ งทำงอำกำศ
15 ต.ค. 1783 ยีน ฟรังซัว พีเล (JEAN FRANCOIS PELE) และมาควิสเคอ อาลาน
ได้ ทาการบินบอลลูนอากาศร้ อน Mongolfier สาเร็จ และในธันวาคมถัดมา เจ.เอ.ชารส์
(J”A” CHARLES) นักเคมีชาวฝรั่งเศสได้ มีการพัฒนาเป็ นบอลลูนชนิดที่บรรจุก๊าซ
ไฮโดรเจนสาเร็จ
http://www.vcharkarn.com/varticle/38717
กำรขนส่ งทำงอำกำศ
บอลลูนไฮโดรเจน มี
บทบาทในการขนส่ง
ทางอากาศอย่างมาก
ทังยามสงบ
้
และยาม
สงคราม(ww 1)
จนกระทัง่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2480 ฮินเดนเบิร์กขณะที่ลอยอยู่
กลางอากาศ เหนือเลคเฮิร์ส (Lakehurst) รัฐนิวเจอร์ ซีย์
สหรัฐอเมริกา เกิดระเบิด ลุกเป็ นไฟ ทาให้ มีผ้ เู สียชีวิต 36 คน จาก
จานวนผู้โดยสาร 97 คน จึงเสื่อมความนิยมแต่นนมา
ั้
http://topicstock.pantip.com/wahkor/topicstock/2008/05/X6641996/X6641996.html
กำรขนส่ งทำงอำกำศ
จากนัน้ นักประดิษฐ์ ก็หนั มาหาการ
บินโดยเครื่ องร่อน
Otto Lilienthal ชาวเยอรมัน
สร้ างเครื่ องร่อน และบินสาเร็ จนับ
พันครัง้ จนเสียชีวิตเมื่อ10
ส.ค.1896 ด้ วยวัยเพียง 48 ปี จาก
อุบตั ิเหตุการร่อน แต่นบั เป็ นจุดเริ่ม
แห่งศักราชการบินยุคต่อมา
http://en.wikipedia.org/wiki/Otto_Lilienthal
กำรขนส่ งทำงอำกำศ
ค.ศ. 1900 ออร์ วิล และ วิลเบอร์ ไรท์ Orville and Wilbur Wright ได้
สร้ างเครื่ องร่อน Kitty Hawk และร่อนสาเร็จอย่างดี สองปี ต่อมาจึงติดตัง้
เครื่ องยนต์เข้ าไปและบินสาเร็จในปี ค.ศ. 1908
http://www.bigscalemodels.com/planes/wright_flyer/wright_flyer.html
http://turnkeymarketingpros.com/wp-content/uploads/2010/01/wrightbros.jpg
กำรขนส่ งทำงอำกำศของไทย
พ.ศ. 2462 กรมอากาศยานทหารบก
ทดลองทาการบินรับ – ส่ งไปรษณีย์
เส้ นทาง ดอนเมือง - จันทบุรี ต่ อมาก็รับ
ผู้โดยสารด้ วยนับว่ าไทยเป็ นประเทศแรก
ที่เริ่มการบินพาณิชย์ ขนึ ้ ในภูมิภาคนี ้
ควำมสำเร็ จของกำรบิน
เกิดจากความเข้ าใจ
กลศาสตร์ การบิน ซึง่ มี
หลักการโดยย่อ ดังนี ้
แรงยก แรงดึงดูด แรง
ขับ แรงต้ าน
ที่มำ http://www.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/virtual2/lift-force/index.html
โดยปี กจะทาหน้ าที่สร้ างแรงยก เครื่ องยนต์จะสร้ างแรงขับ เพื่อเอาชนะแรง
ดึงดูด และแรงต้ าน ก็จะสามารถบินไปข้ างหน้ าได้
ปี กเครื่ องบินสร้ำงแรงยกได้อย่ำงไร
http://www.zoo.cam.ac.uk/zoostaff/ellington/aerodynamics.html
รูปทรงของปี กเป็ นส่ วนสาคัญ
ในการสร้ างแรงยกตัว เมื่อ
อากาศเคลือ่ นผ่ าน ความกด
อากาศด้ านบนจะต่ากว่ า
ด้ านล่าง
แรงยกมากหรือน้ อยขึน้ กับ
ความเร็วอากาศ และมุมของปี ก
เป็ นสาคัญ
ลองดูภาพเคลื่อนไหวต่อไปนี ้ http://www.youtube.com/watch?v=bv3m57u6ViE
ระบบขนส่ งทางท่ อ (Pipeline Transportation)
เป็ นระบบขนส่งมีลกั ษณะเฉพาะ สินค้ าที่ขนส่งต้ องอยูใ่ นรู ปของเหลว
หรื อก๊ าซ การวางท่อจะต้ องมีความชันไม่มากเกินไป เพื่อให้ ของเหลวที่
ไหลผ่านท่อไม่ไหลย้ อนกลับ และไม่มีการขนส่งเที่ยวกลับ
สินค้ าที่นิยมขนส่งทางท่อ ได้ แก่ น ้ามันดิบ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และ
ก๊ าซธรรมชาติ
จุดเด่ น จุดด้ อย การส่ งพลังงานด้ วยระบบท่ อในประเทศไทย
ความเป็ นจริงเป็ นการขนส่งที่ดี ช่วยเรื่ องมลภาวะ และความปลอดภัย
แต่ปัจจุบนั ระบบท่อยังไม่ครอบคลุมพื ้นที่ ประกอบกับต้ นทุนการวาง
ระบบสูงมาก จึงไม่เอื ้ออานวยต่อการแข่งขันการขนส่งเชื ้อเพลิงด้ วยรถ
คำถำมเกี่ยวกับกำรขนส่ ง
A
C
D
B
ข้ อ 10 จากภาพด้ านบน ตัวเลือกข้ อใดกล่าวถูกต้ อง เมื่อต้ องการให้
เครื่ องบินเคลื่อนที่ไปทางด้ านหน้ า(ซ้ ายมือของภาพ)
1) ต้ องให้ แรง A มีคา่ มากกว่าแรง B แรง C และแรง D
2) ต้ องให้ แรง C มีคา่ มากกว่าแรง A แรง B และแรง D
3) ต้ องให้ แรง A และแรง C มีคา่ มากกว่าแรง B และแรง D
4) ให้ แรง A แรง B แรง C และแรง D สมดุลกันจะบินนิ่งนุ่มที่สดุ
ตอบ 3
ต้นกำลังแห่งกำรขับเคลื่อน
เครื่ องยนต์
คือหัวใจหลักสำหรับยำนพำหนะทั้งหลำย เครื่ องยนต์
เป็ นแหล่งให้พลังงำนในกำรขับเคลื่อน ซึ่งเครื่ องยนต์ที่ถูก
นำมำใช้อย่ำงแพร่ หลำย นับแต่อดีต สำมำรถจำแนกเป็ น
ประเภท ได้ ดังนี้
1)เครื่ องยนต์สนั ดำปภำยนอก
2)เครื่ องยนต์สนั ดำปภำยใน
3)เครื่ องยนต์ไฟฟ้ ำ
เครื่ องยนต์สนั ดำปภำยนอก
เครื่ องยนต์สนั ดำปภำยนอก หรื อเครื่ องจักรไอน้ ำ มีหลักกำรทำงำนโดยกำร
นำควำมร้อนจำกเชื้อเพลิง (ถ่ำนหิ น ฟื น หรื อพลังงำนนิวเคลียร์) ไปทำให้น้ ำ
เปลี่ยนสถำนะเป็ นไอ ซึ่งจะมีพลังงำนสูงขึ้น และนำพลังงำนนี้เปลี่ยนเป็ น
พลังงำนกลขับลูกสูบ หรื อกังหัน ต่อไป
http://www.rmutphysics.com/charud/special
news/3/heat-engine/heat-engine5.htm
http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1391
จุดเด่นของเครื่ องจักรไอน้ ำ
ในปั จจุบัน ยังคงมีการใช้ เครื่องจักรไอนา้ อยู่ เนื่องจากความ
ยืดหยุ่นด้ านแหล่ งเชือ้ เพลิง เช่ น
โรงไฟฟ้าบางปะกง ใช้ เครื่องจักรไอนา้ ที่ใช้ เชือ้ เพลิงร่ วม
ระหว่ างก๊ าซธรรมชาติ และนา้ มันเตา
โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ ในต่ างประเทศ ก็เป็ นเครื่องจักรไอ
นา้ ใช้ เชือ้ เพลิงนิวเคลียร์
นอกจากนัน้ ยังสามารถใช้ เชือ้ เพลิงชีวะมวล ซึ่งได้ จากผลผลิต
ทางการเกษตร ซึ่งน่ าจะเหมาะกับประเทศไทย
เครื่ องยนต์สันดำปภำยใน (internal combustion)
หมายถึงเครื่ องยนต์ที่ใช้ เชื ้อเพลิงประเภท น ้ามันก๊ าซโซลีน (เบนซิน) น ้ามันดีโซลีน
(ดีเซล) หรื อใช้ ก๊าซ (LPG or NGV)
หลักการทางานคือ ให้ เชื ้อเพลิงสันดาปร่วมกับก๊ าซออกซิเจนในห้ องเผาไหม้ ขนาด
จากัด ซึง่ หลังการเผาไหม้ จะกลายเป็ นก๊ าซร้ อน ที่ขยายตัวปริมาตรมากกว่าเดิม และ
นาไปเปลี่ยนเป็ นพลังงานกล เช่น ขับลูกสูบ หรื ออุปกรณ์อื่นใดต่อไป
เครื่ องยนต์ก๊าซเทอร์ ไบน์
เครื่ องยนต์ลกู สูบ และเครื่ องยนต์โรตารี่
http://www.rmutphysics.com/charud/howstuffwork/howstuff1/engine/enginethai1.htm
http://www.thairath.co.th/content/life/35860
motor age
เกิดจากผลงานของ เฮนรี่ ฟอร์ ด ผู้ผลิตรถแบบ mass production ทาให้
รถยนต์มีราคาถูก ประชาชนจึงนิยมใช้ รถยนต์เพิ่มขึ ้น ทังในอเมริ
้
กาและยุโรป ซึง่ เรี ยก
กันว่ายุค motor age
รถยนต์จงึ กลายเป็ นพาหนะที่มีบทบาทในการขนส่งแทบทุกประเภท และมี
วิวฒ
ั นาการต่อเนื่องมาจนถึงยุคปั จจุบนั อย่างมากมาย
http://carveyourdestiny.com/the-get-inspired-zone/the-inspiring-stories-offamous-people/henry-fords-philosophy-for-getting-to-the-top/
Model T
http://www.art.com/products/p14459308-sa-i2811765/henry-ford-in-model-t.htm
ควำมรุ่ งเรื องของเครื่ องยนต์สนั ดำปภำยใน
ซิกฟริด มาร์ คสั (Siegfried Marcus) ชาวออสเตรี ย และชาวเยอรมัน 2
คน คือ คาร์ ล เบนซ์ (Carl Benz) และกอตเลียบ เดมเลอร์ (Gottlieb
Daimler) ถือว่าเป็ นผู้นาที่นาเครื่ องยนต์นี ้มาติดตังบนรถส
้
าเร็จ และตังบริ
้ ษัท
เมอร์ เซเดสเบนซ์ ในเยอรมันนี และบริษัทเดมเลอร์ ในอังกฤษ ขึ ้น
http://www.vrclassiccar.com/contentnews.php?nid=230151_05
http://www.thaiscooter.com/
ปั จจุบนั และอนำคตของเครื่ องยนต์สันดำปภำยใน
จำกกำรที่มนุษย์ผกู พันกับเครื่ องยนต์สนั ดำปภำยในมำเป็ นเวลำนำน
ได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภำวะแวดล้อมโลกที่ละน้อย อีกทั้งปิ โตรเลียม
ซึ่งเป็ นแหล่งพลังงำนสำคัญของโลก นับวันจะลดน้อยลง ทำให้รำคำ
เชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์สูงขึ้น จนกลำยเป็ นปัญหำถมทับ ทวีคูณ
ปั จจุบนั จึงได้ มีความพยายามลด
การใช้ เชื ้อเพลิง ด้ วยวิธีตา่ งๆ เช่น
รถอีโค คาร์
รถพลังงานทางเลือก
รถHybrid
http://play.kapook.com/photo/showfull-126893-14
http://www.rakcar.com/ForumId-269-ViewForum.aspx
เครื่ องยนต์ไฟฟ้ ำ
จากปั ญหาเรื่ องสิง่ แวดล้ อม และปริมาณปิ โตรเลียมที่ลดน้ อยลง ส่งผลให้
รถไฟฟ้ากลับมาอยูใ่ นความคิดอีกครัง้ หลังจากที่เคยใช้ กนั มาแล้ วในอดีต
หลักการทางาน เครื่ องยนต์ จะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้ เป็ นพลังงานโดยตรง
จากพื ้นฐานความรู้เรื่ องแม่เหล็กไฟฟ้า
จุดเด่ น ทางานมีประสิทธิภาพเทียบได้ กบั เครื่ องยนต์สนั ดาปภายในและ
เครื่ องยนต์สนั ดาปภายนอก แต่ปล่อยมลภาวะต่ากว่าอย่างมาก มีเสียงที่เงียบกว่า
การบารุงรักษาต่ากว่า
จุดด้ อย ต้ องมีพลังงาน ปั จจุบนั คือแบตเตอรี่ ซึง่ มีน ้าหนักมาก และเวลาในการ
ประจุไฟค่อนข้ างนาน(เทียบกับการเติมน ้ามัน หรื อก๊ าซ)
แนวทำงกำรพัฒนำเครื่ องยนต์ไฟฟ้ ำ
ได้ มีการสร้ างเซลล์ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก เพื่อเข้ าไปแทนที่แบตเตอรี่ ซึง่
เรี ยกว่า Fuel cell ซึง่ ใช้ ปฏิกิริยาเคมีระหว่างไฮโดรเจนกับออกซิเจนให้
รวมตัวกันได้ ไฟฟ้า และน ้า ซึง่ เป็ นความหวังในอนาคต
ภาพแสดงการทางานของเซลล์เชื ้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า
ที่มา http://www.neutron.rmutphysics.com/teaching-glossary/index.php?option=com_content&task=view&id=2188&Itemid=11
เทคโนโลยีทจี่ าเป็ นบนรถยนต์ ยุคปัจจุบัน
รถยนต์ยคุ ปั จจุบนั มีการปรับปรุงคุณภาพเพื่ออานวยความ
สะดวกสบาย และความปลอดภัยให้ กบั ผู้บริโภค ซึง่ ปั จจุบนั กลายเป็ นสิ่ง
ที่สามารถพบเจอได้ ง่าย แม้ นว่ารถยนต์นนจะมี
ั ้ ราคาไม่แพงนัก
ในส่วนของอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย ได้ แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
1. Passive safety ป้องกันการเกิดอุบตั เิ หตุ
2. Active safety ลดความเสียหายรุนแรงเมื่อเกิดอุบตั ิเหตุ
อุปกรณ์กลุ่ม Passive safety ได้แก่
อุปกรณ์ด้านทัศนวิสยั
อุปกรณ์ด้านอานวยความสะดวกสบาย
อุปกรณ์เกี่ยวกับสัญญาณต่างๆ
อุปกรณ์ห้ามล้ อ
อุปกรณ์เกี่ยวกับการทรงตัว
www.thailandoffroad.com
www.bmwsociety.com
www. autotechbuzz.blogspot.com
อุปกรณ์กลุ่ม Active safety ได้แก่
หมอนรองศีรษะ
เข็มขัดนิรภัย
ถุงลมนิรภัย
ตัวถังแบบเสริมแรงเพื่อปกป้องห้ องโดยสาร
ระบบวาล์วนิรภัยต่างๆ เช่น วาล์วระบายเชื ้อเพลิง เพื่อป้องกันการลุกไหม้
 กระจกนิรภัย
www. fukduk.com
www. whatsyourconundrum.com
http://161.200.184.9/webelarning/elearning%20
Computer53/com-project/airbag.html
กำรใช้อุปกรณ์เหล่ำนี้อยำกถูกต้องเพือ่ ประสิ ทธิภำพสูงสุ ด
หมอนรองศีรษะ สาคัญต่อ
การบาดเจ็บบริเวณคอ กรณี
ถูกชนจากด้ านท้ าย
www. chiro.org
ตาแหน่งที่ถกู ต้ อง ควรเป็ นดังภาพที่แสดง
www. whiplashcompensationclaims.org
ท่ านทาถูกหรื อยัง ?
แสดงกำรทำงำนของหมอนรองศีรษะ

www. thesamba.com

www. usroads.com
กำรใช้อุปกรณ์เหล่ำนี้อยำกถูกต้องเพือ่ ประสิ ทธิภำพสูงสุ ด
เข็มขัดนิรภัย
ในรถทัว่ ๆ ไป เป็ นแบบ 3 จุด
ในที่นงั่ ด้ านหน้ าซ้ าย และขวา
และด้ านหลังซ้ ายและขวา ส่วน
ตาแหน่งกลางเป็ นแบบ 2 จุด
www. himikey.com
www. cartype.com
ตาแหน่ งสายล่ าง
ต้ องชิดหน้ าขา
สายบนต้ องเฉียง
จากเอวไปสู่ไหล่
ถุงลมนิรภัย
ช่วยลดแรงปะทะ
ร่างกายที่จะกระทบเข้ า
กับอุปกรณ์ตา่ งๆ ใน
รถยนต์ เพื่อลดความ
รุนแรงของการบาดเจ็บ
เพื่อความปลอดภัย
สูงสุด ควรใช้ ร่วมกับ
เข็มขัดนิรภัยเสมอ
www. adina.com
www. motorauthority.com
ระบบเบรก ABS
www.nissanthai.com/navara-4x4-1_safety.html
ระบบเสริ มเพื่อเพิ่มประสิ ทธิภำพกำรทำงำนของระบบเบรก จะช่วยป้ องกำร
ล้อล๊อค ทำให้สำมำรถควบคุมทิศทำงรถพ้นจำกกำรชนสิ่ งกีดขวำงได้
(ควรได้รับกำรฝึ กในสถำนที่ปลอดภัย เพื่อทดสอบระบบ และกำรควบคุมรถ)
ระบบเสริมแรงเบรก (BA = Break Assist)
หน้ าที่หลัก คือ การเพิ่มแรงกดของเบรกให้ มากขึ ้นเป็ นพิเศษโดย
อัตโนมัติ ซึง่ จะควบคุมการทางานด้ วยคอมพิวเตอร์ โดยประมวลข้ อมูล
จากสภาพการขับขี่ ซึง่ จะทางานควบคูก่ บั ระบบ ABS
ระบบกระจายแรงเบรก (EBD = Electrical Brake force Distribution)
มีการทางานโดยอัตโนมัติ จากการคานวณของกล่องควบคุม
(ECU = Electronic Control Unit)
ซึง่ จะทางานร่วมกับระบบ BA และ ABS
ภำพแสดงกำรบรรทุกสัมภำระในตำแหน่งต่ำงๆ ส่ งผลต่อกำรกระจำยน้ ำหนักสู่ ลอ้ ต่ำงกัน
ที่มำ http://www.phithan-toyota.com
ภาพแสดงน ้าหนักรถที่ล้อซ้ ายและขวาขณะเลี ้ยวโค้ ง
ที่มา http://www.phithan-toyota.com