บทที่ 3 - มหาวิทยาลัยแม่โจ้

Download Report

Transcript บทที่ 3 - มหาวิทยาลัยแม่โจ้

บทที่ 2
การเปรียบเทียบตัวแทน 2 กลุ่ม
เป็นวิธีที่มุ่งเน้นในการประมาณความแตกต่างระหว่างวิธี
ปฏิบัติ 2 วิธี
ตรวจสอบความแตกต่างระหว่างทรีทเมนต์
มีวิธีการ 2 อย่าง
1. การเปรียบเทียบแบบรวมกลุ่ม (ไม่มีการจับคู่)
2. การเปรียบเทียบแบบจับคู่สิ่งทดลอง
1
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
1.การเปรียบเทียบแบบรวมกลุ่ม (ไม่มีการจับคู่)
เป็นการศึกษาในกรณีที่มี 2 ประชากร แบ่งออกโดยสุ่ม และให้ทรีท
เมนต์โดยสุ่ม เช่น ต้องการทดลองอาหารสุกร 2 ชนิด โดยใช้สุกรในฟาร์ม
เดียวกัน แต่แบ่งสุกรออกเป็น 2 กลุ่ม จานวนเท่า ๆ กัน กลุ่มหนึ่งให้กินอาหาร
ก อีกกลุ่มหนึ่งให้กินอาหาร ข แล้วเปรียบเทียบผลเฉลี่ยของแต่ละพวก
2. การเปรียบเทียบแบบจับคู่สิ่งทดลอง
เพื่อเพิ่มความเที่ยง (precision) ในการเปรียบเทียบ โดยจับคู่ระหว่าง
สิ่งทดลองที่คล้ายคลึงกันมากที่สุด เพื่อผลแตกต่างที่ได้รับจากการทดลองจะ
เป็นผลจากทรีทเมนต์มากที่สุด เช่น สุกรเพศเดียวกัน ครอกเดียวกัน ซากซีก
ซ้ายและขวา
2
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
1.การเปรียบเทียบแบบรวมกลุ่ม (ไม่มีการจับคู่)
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างตัวแทน 2 กลุ่ม โดยการ
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ได้แก่
= เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง
= เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของประชากร
3
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
1.การเปรียบเทียบแบบรวมกลุ่ม (ไม่มีการจับคู่)
การทดลอบแยกออกได้ 3 วิธี ได้แก่
1.1 ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร 12 และ 22
1.2 ไม่ทราบ ค่าความแปรปรวนของประชากร 12 และ 22
แต่ทราบว่า 12 = 22
1.3 ไม่ทราบ ค่าความแปรปรวนของประชากร 12 และ 22
แต่ทราบว่า 12 ≠ 22
4
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
1.1 ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร
และ
5
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
= ค่าเฉลี่ยของตัวแทนจากประชากรที่ 1
= ค่าเฉลี่ยของตัวแทนจากประชากรที่ 1
= ขนาดของตัวแทนประชากรที่ 1
= ขนาดของตัวแทนประชากรที่ 1
6
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
1.2 ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร
และ
แต่ทราบ
7
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
1.2 ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร
และ
แต่ทราบ
8
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
1.3 ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร
และ
แต่ทราบ
ความแปรปรวนของทั้งสองตัวแทนไม่เท่ากัน อาจเกิดโดย
1. เมื่อตัวแทนมาจากประชากรที่ต่างกัน
2. เมื่อค่าเฉลี่ยทั้ง 2 ประชากร มีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้
ชัด เนื่องจากความแปรปรวนมักผันแปรตามค่าเฉลี่ย เช่น ค่าเฉลี่ยสูง
ความแปรปรวนจะสูงตาม
3.เมื่อตัวแทนมาจากประชากรที่มีการกระจายตัว เบ้
9
(skew)ทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนสูงมาก
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
1.3 ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร
และ
แต่ทราบ
10
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
11
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
2. การเปรียบเทียบแบบจับคู่สิ่งทดลอง
ในการทดลองเปรียบเทียบ 2 ประชากร สามารถทาได้อีกวิธี
คือการจับคู่ทดลอง เช่น การศึกษาผลของการใช้ยาลดความดันก่อน
และหลังรับประทานยาในคนไข้คนเดียวกัน ดังนั้นความแตกต่างของ
ความดันโลหิตจะเป็นผลต่อเนื่องจากประสิทธิภาพของยาดังกล่าว
12
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
2. การเปรียบเทียบแบบจับคู่สิ่งทดลอง
13
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
14
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
15
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
16
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
การตรวจสอบว่าความแปรปรวนสองค่าเท่ากัน
ในการตรวจสอบว่า S1 2 กับ S2 2 จากตัวแทนสองตัวแทน มาจาก
ประชากรที่มกี ารกระจายตัวปกติ ทีความแปรปรวนเดียวกัน
- หากก่อนการตรวจสอบ ไม่ทราบว่า S2 ใดมากกว่ากันให้
ตรวจสอบ แบบสองหาง (two tailed)
-หากทราบว่า S2 ค่าไหนมากกว่า ใช้การตรวจสอบแบบหาง
เดียว (one tailed)
- นาค่า F ที่คานวณได้ มาเปรียบเทียบกับค่า F ในตาราง
17
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
18
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
19
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
20
มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ วิทยาเขตแพร่ เฉลิมพระเกียรติ
21
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
22
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
23
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
24
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
25
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
26