บทที่ 6 - Library SSKRU

Download Report

Transcript บทที่ 6 - Library SSKRU

บทที่ 6
การเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
การนาเสนอผลการศึกษาค้ นคว้ าด้ วยลายลักษณ์ อักษร

ความหมายและประเภทของบทนิพนธ์
1. รายงาน
2. ภาคนิพนธ์
3. ปริ ญญานิพนธ์
ส่ วนประกอบของรายงาน

1. ส่ วนประกอบตอนต้น
- หน้าปกนอก
- ใบรองปก --- เป็ นกระดาษเปล่า 1 แผ่น
- หน้าปกใน --- เหมือนหน้าปกนอกทุกประการ
- คานา
- สารบัญ
- บัญชีตารางและบัญชีภาพประกอบ
ตัวอย่ างปกรายงาน
การฝึ กโยคะ
นายประพันธ์ รายงานดี
รหัส 531263105 โปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร์
รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่ งของการศึกษาวิชา 1500101 ภาษาไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏศรี สะเกษ
ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2553
ส่ วนประกอบของรายงาน (ต่ อ)
2. ส่ วนเนื้อหา เป็ นส่ วนที่สาคัญที่สุดของรายงาน
- ใช้กระดาษคุณภาพดี
- ใช้เพียงด้านเดียว พิมพ์ขนาดมาตรฐาน หมึกสี ดา ไม่มีการขีดฆ่า ลบ
ให้สกปรก หรื อเติมข้อความอย่างไม่เป็ นระเบียบ
- การเว้นขอบกระดาษ บนและซ้าย ให้เว้นเข้ามา 1.5 นิ้ว ล่างและขวา
ให้เว้นเข้ามา 1 นิ้ว
- ย่อหน้าประมาณ 7-9 ตัวอักษร
- การเขียนเลขหน้า เป็ นเลขไทยหรื ออารบิกก็ได้ ตาแหน่งเลขหน้า
ส่ วนประกอบของรายงาน (ต่ อ)
อาจอยูต่ รงกลาง หรื อมุมบนขวาของหน้า ยกเว้นหน้าแรกของแต่ละบท
หรื อหน้าแรกของบรรณานุกรม ภาคผนวก อภิธานศัพท์ เหล่านี้ไม่ตอ้ ง
ใส่ เลขหน้า
- บทที่ หรื อหน่วยที่ และชื่อบท ควรมีเลขกากับ บทที่ให้เขียนไว้
ตรงกลาง ตอนบนของหน้า
- หัวข้อใหญ่ในแต่ละบท จะเขียนหรื อพิมพ์ชิดแนวขอบเขียนด้าน
ซ้ายมือ หัวข้อรองลงไปให้ยอ่ หน้าเข้าไปตามลาดับ
- การกากับหัวข้อ
ตัวอย่ างการกากับหัวข้ อ
บทที่ 1
.............................
1.
...........................................
1.1 ..................................................
1.2 ..................................................
1.2.1 ......................................
1.2.2 ......................................
1.3 ..................................................
2. ...................................................................
ส่ วนประกอบของรายงาน (ต่ อ)
3. ส่ วนประกอบตอนท้ าย
3.1 บรรณานุกรม (Bibliography) เป็ นรายชื่อสิ่ งพิมพ์และวัสดุอา้ งอิง
ต่าง ๆ ที่ผเู ้ ขียนใช้ในการศึกษาค้นคว้าเพื่อทารายงาน และต้องเขียน
เรี ยงลาดับตัวอักษร
3.2 ภาคผนวก (Appendix) เป็ นข้อมูลที่นามาเพิม่ เติมซึ่งเกี่ยวพันกับ
เนื้อหาของรายงานแต่มีขนาดยาว และเป็ นเอกสารหายาก ถ้านาไปรวม
ไว้ในเนื้อเรื่ อง อาจทาให้เนื้อหาไม่ติดต่อกัน
3.3 ดรรชนี (Index) เป็ นบัญชีคน้ คาศัพท์หรื อชื่อสาคัญ ๆ ที่ปรากฏใน
รายงาน เรี ยงตามลาดับอักษร พร้อมทั้งบอกเลขหน้าของรายงานทีค่ า
นั้น ๆ ปรากฏอยู่
3.4 อภิธานศัพท์ (Glossary) เป็ นส่ วนที่รวบรวมคาอธิบายศัพท์ยากในเนื้อ
เรื่ องของรายงาน ซึ่งส่ วนมากจะเป็ นรายงานทางวิชาการที่มีคาศัพท์มาก
ๆ และคาศัพท์เหล่านี้จะเรี ยงตามลาดับอักษร
ขั้นตอนการเขียนรายงาน

1. การเลือกหัวข้อเรื่ องและกาหนดชื่อเรื่ องของรายงาน
- เลือกเรื่ องที่ตนเองสนใจ และถนัด
- เลือกเรื่ องที่ตนเองพอมีความรู ้อยูบ่ า้ ง
- เลือกเรื่ องที่มีแหล่งข้อมูลให้ศึกษาค้นคว้า
- เลือกเรื่ องที่มีขอบเขตของเนื้อหาไม่กว้างหรื อแคบเกินไป
- การตั้งชื่อเรื่ องควรตั้งให้กะทัดรัด ตรงตามเนื้อหาและ
วัตถุประสงค์ที่จะเขียน
ตัวอย่ างชื่อรายงานที่ดี





แนวโน้มการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระบบการบริ หารการศึกษาของไทย
ปัญหาแหล่งน้ าสาหรับการเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การปลูกฝังนิสยั รักการอ่านในโรงเรี ยนประถมศึกษา
การใช้ภาษาไทยในหนังสื อพิมพ์
ขั้นตอนการเขียนรายงาน (ต่ อ)
2. การสารวจและรวบรวมข้อมูล
ควรสารวจและรวบรวมข้อมูลให้ได้มากที่สุดและต้องเป็ นข้อมูลที่
ทันสมัย จากแหล่งที่น่าเชื่อถือ เช่น บัตรรายการ ดรรชนีวารสาร
หนังสื ออ้างอิง โสตทัศนวัสดุ ซีดี-รอม หนังสื อ วารสาร อินเทอร์เน็ต
ขั้นตอนการเขียนรายงาน (ต่ อ)
3. การวางโครงเรื่ อง
- โครงเรื่ องจะต้องประกอบด้วยชื่อของรายงาน เนื้อหา แบ่งอกเป็ นบท
ๆ แต่ละบทประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ หัวข้อใหญ่มีความสาคัยมาก และ
หัวข้อย่อยที่มีความสาคัญรองลงมาเรี ยงตามลาดับ
- เนื้อหาของแต่ละบทควรมีความสั้น-ยาวใกล้เคียงกัน
- ชื่อหัวข้อควรสั้น กะทัดรัด ได้ใจความ ครอบคลุมเนื้อหาในตอนนั้นๆ
- หัวข้อต่าง ๆ ควรเรี ยงลาดับสัมพันธ์กนั
- โครงเรื่ องต้องเขียนอย่างเป็ นระบบ สะดวกแก่การอ่านและทาความ
เข้าใจ
ตัวอย่ างโครงเรื่อง ชีวติ และงานของศรีบูรพา
1.ชีวประวัติ
1.1 ปฐมวัย
1.2 มัชฌิมวัย
1.3 ปัจฉิ มวัย
2. ผลงาน
2.1 งานประพันธ์
2.1.1 งานประพันธ์ยคุ ก่อน พ.ศ. 2475
2.1.2 งานประพันธ์หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
(พ.ศ. 2475-2594)
ตัวอย่ างโครงเรื่อง ชีวติ และงานของศรีบูรพา
2.1.3 งานประพันธ์ พ.ศ. 2495 – 2500
2.2 งานด้านหนังสื อพิมพ์
2.3 งานต่อสูเ้ พื่อประชาธิปไตย และสันติภาพ
ขั้นตอนการเขียนรายงาน (ต่ อ)
4. การค้นคว้า รวบรวมข้อมูลและจดบันทึก
- บันทึกย่อ เอาแต่ใจความสาคัญ
- บันทึกแบบถอดความจากต้นฉบับเดิมโดยใช้สานวนของผูบ้ นั ทึก
- บันทึกแบบคัดลอกข้อความ
5. เรี ยบเรี ยงและจัดทาเป็ นรู ปเล่ม
- นาข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้ามาเรี ยงลาดับตามโครงเรื่ องที่เขียนไว้
ตอนต้น
- เมื่อได้ขอ้ มูลครบตามโครงเรื่ องให้พิจารณาตัวโครงเรื่ องอีกครั้ง
ขั้นตอนการเขียนรายงาน (ต่ อ)
- เขียนรายงานฉบับร่ างให้เป็ นไปตามลาดับโครงเรื่ อง โดยใช้ภาษา
เข้าใจง่าย กระชับ ได้ใจความ สะกดการันต์ถูกต้อง ส่ วนใดจาเป็ นต้อง
อ้างอิงก็ควรอ้างอิงตามแบบแผนการอ้างอิง
- อ่านตรวจทานความถูกต้องของการเขียนสะกดการันต์
ตรวจสอบการจัดลาดับหน้าของรายงาน ก่อนเย็บเล่ม
การเขียนอ้ างอิง

การอ้างอิงข้อความที่คดั ลอก หรื อได้แนวคิดจากเอกสารใด ๆ ผูเ้ ขียน
รายงานจาเป็ นต้องบอกที่มาของข้อมูล สามารถตรวจสอบหลักฐานเดิม
หรื อค้นคว้าหาอ่านเพิ่มเติมได้
การอ้ างอิงแบบแทรกปนไปในเนือ้ หา

การอ้างอิงแบบนี้มี 2 ระบบ คือ ระบบ นาม-ปี และระบบตัวเลข
1) ระบบนาม-ปี ระบุชื่อผูแ้ ต่ง ปี ที่พิมพ์ และเลขหน้าที่อา้ งอิง โดยใส่
ไว้ในวงเล็บ ดังนี้ (ชื่อผูแ้ ต่ง.//ปี ที่พิมพ์/:/เลขหน้า)
ตัวอย่าง
...................................................................................................................
...................................................................................................................
........................... (เอกวิทย์ ณ ถลาง. 2542 : 130)
การอ้ างอิงแบบแทรกปนไปในเนือ้ หา (ต่ อ)


พระยาอุปกิตศิลปสาร (2520 : 85) ได้กล่าวถึงความหมายของกาดไว้
ว่า ...................................................................................................
แมคโดนัฟ (McDonough. 1984 : 111) ให้ความเห็นว่า
...................................................................................................................
การอ้ างอิงแบบแทรกปนไปในเนือ้ หา (ต่ อ)
1.2 ระบบหมายเลข
ระบุหมายเลขตามลาดับ เอกสารที่อา้ งอิงก่อนหลัง พร้อมกากับ
เลขหน้าที่อา้ งอิงเอกสารนั้น
ตัวอย่าง
.... การอ่านหนังสื อพิมพ์มีลกั ษณะแตกต่างจากการอ่านหนังสื อประเภท
ตารา (12 : 72)
12. วิสิทธิ์ จินตวงศ์. “วิธีอ่านหนังสื อพิมพ์อย่างฉลาด”
วิทยาสาร 21 (มิถุนายน 2541) : 72-78

หลักเกณฑ์ การลงรายการอ้างอิง
1.
ผูแ้ ต่งคนเดียว ถ้าเป็ นชาวต่างประเทศ ใช้นามสกุลเท่านั้น ถ้าเป็ น
ชาวไทย ให้ใส่ ชื่อก่อนแล้วตามด้วยนามสกุล
(เปลื้อง ณ นคร. 2511 : 160)
(Fontana. 1985 : 91)
2. ผูแ้ ต่งที่มีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์ ให้ใส่ ลงไปด้วย
(กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์. 2516 : 40)
หลักเกณฑ์ การลงรายการอ้างอิง (ต่ อ)
3. ผูแ้ ต่งที่มียศทางทหาร ตารวจ ตาแหน่งทางวิชาการ ไม่ตอ้ งใส่
4. ผูแ้ ต่ง 2 คนให้ใส่ ชื่อทั้ง 2 คน คัน่ ด้วยคาว่า และ
5. ผูแ้ ต่ง 3 คน ให้ใส่ ชื่อทั้ง 3 คน เช่น
(คณิ ต มีสมมนต์, แสวง โพธิ์เงิน และ สนอง ค้านสิ ทธิ์. 2502 : 4)
6. ผูแ้ ต่งมากกว่า 3 คน ลงเฉพาะผูแ้ ต่งคนแรก และตามด้วยคาว่า คระ
หรื อ คนอื่น ๆ เช่น
(วิญญู อังคณารักษ์ และคนอื่น ๆ. 2516 : 28-29)
การเขียนบรรณานุกรม


บรรณานุกรมคือรายชื่อสิ่ งพิมพ์ที่ใช้ประกอบการศึกษาค้นคว้าเพื่อเขียน
รายงาน
บรรณานุกรมจะอยูส่ ่ วนท้ายของรายงาน บางครั้งเรี ยก เอกสารอ้างอิง มี
แบบแผนการเขียนตามลักษณะดังต่อไปนี้
รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมหนังสื อ
ชื่อผูแ้ ต่ง.//(ปี พิมพ์).//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ์.//สถานที่พิมพ์/:/สานักพิมพ์.
ตัวอย่าง
อรทัย มิ่งมงคล. (2548). อาหารชีวจิต. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ :
สกายบุค๊ ส์.
Crawford, Charles. (2005). English for Business. 2nd ed.
New York : Modern Language.
หลักในการเขียนบรรณานุกรม
ชื่อผูแ้ ต่ง
- ผูแ้ ต่งชาวไทย ให้ใช้ชื่อก่อน นามสกุล ผูแ้ ต่งชาวต่างประเทศ ให้ใช้
นามสกุลก่อนชื่อ
เช่น สิ ทธิโชค คณานุรักษ์ / Gomez, Andrea T.
- ไม่ตอ้ งนายศ และตาแหน่ง หรื อคานาหน้าชื่อต่าง ๆ ลงไปด้วย เช่น
นาย นาง นางสาว ผศ. รศ. ดร. พล.ท. พ.ต.ต. พ.ญ. ฯลฯ
- ถ้าเป็ นบรรดาศักดิ์ ให้ใส่ ลงไปด้วย เช่น ม.จ. ม.ล. ม.ร.ว. สมเด็จพระ
ฯลฯ โดยใส่ ไว้หลังชื่อ เช่น คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว.
1.
หลักในการเขียนบรรณานุกรม (ต่ อ)
ถ้ามีผแู ้ ต่ง 2 คนให้ใส่ ชื่อลงไปทั้งสองคน
เช่น สุ ภารัตน์ อุดมศรี และ มยุรี ปั้นทอง

Santana, Robert and Gruel, Simon N.
- ถ้ามีผแู ้ ต่ง 3 คน ให้ใส่ ชื่อทั้งสามคน
เช่น นิรุจน์ ประจักษ์จิต, อิศริ นทร์ พลดี และ สมภพ ปราบภัย
หลักในการเขียนบรรณานุกรม (ต่ อ)
- ถ้ามีผแู ้ ต่ง 4 คนขึ้นไป ให้ลงรายการเฉพาะชื่อแรก ตามด้วยคาว่า “และ
คนอื่น ๆ” หรื อ “และคณะ” ภาษาอังกฤษใช้คาว่า “et al.”
เช่น ชนิดา ส่ องหล้า และคนอื่น ๆ.
Akasawa, Ryuji et al.
- ผูแ้ ต่งที่ใช้นามแฝง ถ้าทราบชื่อจริ งให้ใส่ ไว้ในวงเล็บ หากไม่ทราบ ให้
ใส่ คาว่า นามแฝงในวงเล็บ
เช่น ทมยันตี (วิมล เจียมเจริ ญ) ลูกแก้ว (นามแฝง)
หลักในการเขียนบรรณานุกรม (ต่ อ)
ผูแ้ ต่งที่เป็ นสถาบันให้ลงชื่อสถาบันนั้น ๆ ตามที่ปรากฏ
เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
มหาวิทยาลัยมหิ ดล คณะเภสัชศาสตร์ ภาควิชาเภสัชวิทยา
* ถ้าไม่ปรากฏผูแ้ ต่ง ผูร้ วบรวม หรื อบรรณาธิการ ให้ใส่ ชื่อเรื่ อง หรื อชื่อ
หนังสื อแทนรายการผูแ้ ต่ง
หลักในการเขียนบรรณานุกรม (ต่ อ)
2. ปี ที่พิมพ์ ให้ระบุเฉพาะตัวเลข โดยไม่ตอ้ งระบุ พ.ศ. หรื อ ค.ศ. โดยระบุไว้ใน
เครื่ องหมาย ( ) เสมอ
ถ้าไม่ปรากฏปี ที่พิมพ์ ให้ใส่ คาว่า [ม.ป.ป.]
3. ชื่อหนังสื อ หรื อชื่อเรื่ อง ให้ระบุตามหน้าปกใน โดยให้พิมพ์เป็ นตัวหนา (ถ้าเขียน
ให้ขีดเส้นใต้)
4. ครั้งที่พิมพ์ ให้ใส่ เฉพาะหนังสื อที่พิมพ์เป็ นครั้งที่ 2 เป็ นต้นไปเท่านั้น
โดยใช้คาว่า พิมพ์ครั้งที่ ... ภาษาอังกฤษใช้ 2nd ed 3rd ed 4th ed
หลักในการเขียนบรรณานุกรม (ต่ อ)
5. สถานที่พิมพ์ ให้ระบุชื่อเมืองซึ่งเป็ นที่ต้ งั ของสานักพิมพ์ที่ปรากฏใน
ปกใน ถ้าไม่ปรากฏชื่อเมืองให้ใส่ [ม.ป.ท.] หรื อ [n.p.]
6. สานักพิมพ์ ให้ระบุตามที่ปรากฏที่ปกใน โดยไม่ตอ้ งเขียนคาว่า
สานักพิมพ์อีก ยกเว้นไม่มีสานักพิมพ์ ให้ใช้โรงพิมพ์แทน แต่ตอ้ งเขียน
คาว่าโรงพิมพ์ดว้ ย เช่น สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช ให้เขียนแค่ ไทย
วัฒนาพานิช โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว
รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมบทความจากวารสาร
ชื่อผูเ้ ขียนบทความ.//(วัน เดือน ปี ).//“ชื่อบทความ,”//ชื่อวารสาร.//
ปี ที่(ฉบับที่)/:/เลขหน้า.
ตัวอย่าง
สุ พตั รา สิ งห์ทอง. (ตุลาคม 2546). “วิธีกาจัดพิษในร่ างกาย,” ชีวจิต.
6(10) : 35-39.
รู ปแบบการเขียนบรรณานุกรมบทความจากหนังสื อพิมพ์
ชื่อผูเ้ ขียนบทความ.//(วัน เดือน ปี ).//“ชื่อบทความ”.//ชื่อหนังสื อพิมพ์.
เลขหน้า.
ตัวอย่าง
สุ รเกียรติ์ จันทร์พิทกั ษ์. (11 สิ งหาคม 2550). “การแข็งค่าของเงินบาท
กับการลงทุน”. มติชน. หน้า 12.
รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมจากวิทยานิพนธ์
ชื่อผูเ้ ขียนวิทยานิพนธ์.//(ปี พิมพ์).//ชื่อวิทยานิพนธ์ .//ระดับของวิทยานิพนธ์/
สาขาวิชา/คณะ/ชื่อมหาวิทยาลัยหรื อสถาบัน.
ตัวอย่าง
อมรรัตน์ สิ ทธิเจริ ญโชค. (2545). ความต้ องการใช้ อนิ เทอร์ เน็ตของ
นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคาแหง ชั้นปี ที่ 1. วิทยานิพนธ์
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะ
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
รู ปแบบการเขียนบรรณานุกรมจากสารสนเทศออนไลน์
ชื่อผูเ้ ขียนบทความ.//“ชื่อเรื่อง”.//[ออนไลน์].//เข้าถึงได้จาก หรื อ
Available/:/ระบุแหล่งสารสนเทศ//[วัน เดือน ปี ที่สืบค้น]
ตัวอย่าง
สุ รศักดิ์ ทองทวี. “การใช้ ฐานข้ อมูลออนไลน์ ให้ ได้ ผล”. [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : http://www.dbonline.net
[13 กุมภาพันธ์ 2550]
เย้ เย้ จบแล้ วครับ
Bye Bye
ขอให้โชคดี ได้เกรดเอกันทุกคน