วัฒนธรรมทางความคิด

Download Report

Transcript วัฒนธรรมทางความคิด

วัฒนธรรม
วัฒนะ
ธรรม
เจริญงอกงาม
ระเบียบ
รุ่งเรือง
ข้อปฏิบตั ิ
Culture
การเพาะปลูก บารุงให้เจริญงอกงาม
ประเภทของวัฒนธรรม
 วัฒนธรรมทางวัตถุ
(Material Culture)
สิง่ ประดิษฐ์
เครือ่ งจักร
ประติมากรรม
อาคาร
เครือ่ งมือ
สถาปั ตยกรรม
บ้านเรือน
ฯลฯ
ประเภทของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วตั ถุ
(Non – material Culture)
วัฒนธรรมทางความคิด
(Ideas)
ความคิด
ความเชือ่
ภาษา
วิธีการ
ทฤษฎีต่างๆ
การศึกษา
ฯลฯ
วัฒนธรรมทางบรรทัดฐาน
(Norms)
วิถชี าวบ้าน
(Folkways)
จารีต
(Mores)
กฎหมาย
(Lows)
ลักษณะของวัฒนธรรม
 มนุษย์สร้างขึ้นและเป็ นแบบแผนพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู ้
(Pattern of learned behavior)
 เป็ นมรดกทางสังคม (Social heritage)
 เป็ นวิถีชีวติ (Way of life)
 เป็ นของสมาชิกในสั งคม (Culture is shared)
 เป็ นสิ่ งทีเ่ ปลีย่ นแปลง (Culture is changed)
ความสาคัญของวัฒนธรรมต่อการดารงชีวิตของมนุษย์
 ชีวิตสะดวกสบายมากขึ้น ช่วยแก้ปัญหาและสนองความต้องการ
 สมาชิกในสังคมมีความผูกพัน เป็ นอันหนึง่ อันเดียว
 เป็ นเครือ่ งแสดงเอกลักษณ์ของชาติ / สังคม
 เป็ นเครือ่ งกาหนดพฤติกรรม
 สังคมมีความเจริญรุ่งเรือง
การเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรม
 การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
 การเปลีย่ นแปลงทางธรรมชาติ
 ความต้องการของมนุษย์และผูม้ ีอานาจในสังคม
 จานวนประชากร
 การแลกเปลีย่ นติดต่อสือ่ สาร
การแพร่กระจายทางวัฒนธรรม (Culture differs ion)
ความล้าหลังทางวัฒนธรรม (Culture Lag)
ช่ องว่ างทางวัฒนธรรม (Culture gab)
 ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม (Culture conflict)
 อารยธรรม (Civilization)
 คนดี คนเก่ ง
 เศรษฐกิจยัง่ ยืน เมืองชุมชนน่ าอยู่
2. สั งคมแห่ งภูมิปัญญา
และการเรียนรู้
 การเมืองการปกครองโปร่ งใส เป็ นธรรม
 คิดเป็ น ทาเป็ น เรียนรู้ ตลอดชีวติ
 มีนวัตกรรม / ความคิดริเริ่ม
 สื บสานประเพณี วัฒนธรรมภูมิปัญญา
3. สั งคมสมานฉันท์
และเอือ้ อาทรต่ อกัน




พึง่ พา เกือ้ กูล
ดูแลผู้ด้อยโอกาส และยากจน
ครอบครัวอบอุ่น เข้ มแข็ง
เครือข่ ายชุมชนเข้ มแข็ง
ลักษณะสาคัญของสังคมและวัฒนธรรมไทย
 ยกย่องเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
 เป็ นสังคมพุทธที่แฝงลัทธิความเชือ่ ทางวิญญาณนิยมและ
ลัทธิพราหมณ์
 ยึดครอบครัวและเครือญาติ
 เสรี มีนา้ ใจ สนุกและสบาย
 ยกย่องผูม้ ีความรูค้ วามสามารถ
 เคารพผูอ้ าวุโส
 มีความประณีตงดงามของจิตวิญญาณ
เป็ นสังคมพึง่ พา
1. ความสามารถในการใช้ ภาษา
2. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
3. มีความรู้ คู่คุณธรรม
4. มีความรู้ ความสามารถทั้งกว้ างและลึก
5. มีทกั ษะการเรียนรู้ คลอดชีวติ
6. มีทกั ษะในด้ านบริหารจัดการ
7. มีการสร้ างค่านิยมร่ วมสมัย
รักสงบ ประจบเจ้ านาย
กรีดกรายการงาน ชานาญนินทา
หน้ าใหญ่ ใจกว้ าง ชอบสร้ างหนีส้ ิ น ได้ กนิ บันเทิง ชั้นเชิงเจ้ าชู้
เชิดชู คนมี เชื่อผีทรงเจ้ า
คราวสู้ ทรหด เจ้ าบทเจ้ ากลอน
ชอบสอนชาวบ้ า ไหว้ วานกันได้
ใฝ่ ใจกุศล ความจนไม่ รับรู้
รักหมู่พนี่ ้ อง รักที่อาศัย
ติดใจการพนัน ขบขันคา่ เช้ า
ของเมาไม่ เบื่อ เชื่อโชคเชื่อดวง
1. ความมีอุดมการณ์ / จิตสานึกสาธารณะ
2. สั งคมทีถ่ ูกครอบงาโดยวัตถุนิยม
3. ค่ านิยมอยู่สุขสบาย
4. ทักษะในการเผชิญปัญหา
อิทธิพลที่มีต่อสังคม
และวัฒนธรรมไทย
การเปลีย่ นแปลงทางสังคม
และวัฒนธรรมไทย
การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมไทย
• การบารุงรักษา
• การส่งเสริม / สร้างเสริม
• เป็ นสั ตว์ สังคม (Social animal)
• ตอบสนองความต้ องการพืน้ ฐาน
1. ด้ านร่ างกาย (Physiological Needs)
2. ความมั่นคงปลอดภัย (Safety Needs)
3. สั งคม: ติดต่ อสั มพันธ์ (Social Needs)
4. ยอมรับ: ยกย่ อง (Esteem Needs)
5. ศักยภาพของตนเอง: ความสาเร็จ-ความสมหวังในชีวติ
(Self Actualization Needs)
1. ความอยู่รอด
2. ความปลอดภัย
3. สื บต่ อเผ่ าพันธุ์
4. พัฒนาตนเอง/ กลุ่ม
5. ประสิ ทธิภาพของงาน
6. รักษาประโยชน์ ของตนเอง/ กลุ่ม
1. ทักษะเชิงเทคนิค (Technical Skill)
2. ทักษะเชิงมนุษย์ หรือสั งคม
(Human Skill: Social Skill)
3. ทักษะเชิงมโนทัศน์ (Conceptual Skill)
1. ทักษะด้ านสติปัญญา
(IQ: Intelligence Quotient)
2. ทักษะด้ านอารมณ์
(EQ: Emotion Quotient)
3. ทักษะด้ านคุณธรรม
(MQ: Moral Quotient)
4. ทักษะด้ านการเล่ น
(PQ: Play Quotient)
5. ทักษะด้ านการเผชิญ – แก้ ปัญหา
(AQ: Adversity Quotient)
ปัจเจกบุคคล
ครอบครัว
เพื่อนเล่น, เพื่อนบ้าน
สถาบันการศึกษา
สถานที่ทางาน
ผูใ้ ห้บริ การ - ผูร้ ับบริ การ
Dr.Edgar Dle
“บุคคลจะเรียนรู้ได้ ดีและเร็ว
นั้นเกิดจากประสบการณ์ ที่
เป็ นรูปธรรม และการ
เรียนรู้จะน้ อยลงเมื่อการ
เรียนรู้น้ัน เกิดจาก
ประสบการณ์ ที่เป็ น
นามธรรม”
การ
บรรยาย
การอ่าน
5%
10 %
การเรี ยนรู้ดว้ ยสื่ อโสตทัศน์
(Audio Visual)
การสาธิต
การอภิปรายกลุ่ม
การฝึ กปฏิบตั ิ
ประสบการณ์จากการปฏิบตั ิ
20 %
30 %
50 %
75 %
90 %
Behavior
Environment
Behavior
Heredity
Stimulus
Response
Behavior
• โลกานุวตั ร คือการอนุวตั ร หรือคล้ อยตามโลก
• การคล้อยตาม
• ออกไปสู่ โลกภายนอก
• ภายนอกทะลวงเข้ ามา
ผู้นา (Leader)
บุคคลทีม่ ีตาแหน่ ง มีบทบาท หรือมี
อิทธิพลทีจ่ ะควบคุม หรือชี้นาให้ ผู้อนื่ มี
การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม เพือ่ ให้ การ
ดาเนินงานบรรลุเป้ าหมายทั้งส่ วนบุคคล
และองค์ กร
ภาวะผู้นา (Leadership)
หรือความเป็ นผู้นา
• พฤติกรรมของผู้นาทีส่ ามารถชักจูงให้
สมาชิกปฏิบัติงานด้ วยความเต็มใจ - พอใจ
• ระดับความสามารถในการชักจูงของผู้นา
พลังอานาจ/ บารมีอานาจ
โดยรวมทุกด้ าน
อานาจตามตัวกฏหมายที่กาหนด
ไว้ สาหรับผู้นาในองค์ กร
อิทธิพล เป็ นรูปแบบหนึ่ง
ของ Power มีท้งั บวกและลบ
1. สถาบันบารมี
2. บุคลาธิษฐานบารมี
3. การเมืองบารมี
4. ธนบารมี
5. พลังบารมี
6. ประชาบารมี
7. วุฒิบารมี
8. วัยบารมี
9. ธรรมบารมี
10. ทุรบารมี
เครื่องชี้ทาง
ทีก่ าหนดมาตรฐานพฤติกรรมของการอยู่ร่วมกัน
1. บรรทัดฐานทางสั งคม (Social Norms)
2. สถานภาพ (Status)
3. บทบาท (Role)
• เป็ นมาตรฐานกาหนดว่ า การกระทาใดถูก-ผิด ควร-ไม่ ควร ยอมรับได้ -ยอมรับไม่ ได้
• มือที่มองไม่ เห็น คอยจัดระเบียบให้ มนุษย์ ใช้ ชีวติ ร่ วมกันอย่ างมีแบบแผน เป็ นสั งคมอยู่ได้
• เกิดขึน้ พร้ อมๆ กับสั งคมมนุษย์ ไม่ ได้ ดาเนินไปตามธรรมชาติอย่ างสั งคมสั ตว์
• เป็ นวัฒนธรรมพืน้ ฐานอันจาเป็ นสาหรับสั งคมมนุษย์
• เป็ นแบบแผนการกระทาที่ช่วยให้ มนุษย์ ไม่ ต้องเสี ยเวลาคิด ไตร่ ตรอง ว่ าจะปฏิบัติอย่ างไร
ในสถานการณ์ ต่างๆ
1. สั งคมประกิต (Socialization)
2. การเรียนรู้ ทาให้ เกิดความเคยชิน (Habituation)
3. ทาตามเพราะได้ ประโยชน์ (Utility)
4. ทาตัวเป็ นพวกเดียวกับกลุ่ม (Group Identification)
1. ธรรมเนียมหรือวิถีประชา (Folkways)
2. กฎศีลธรรมหรือจารีต (Mores)
3. กฎหมาย (Laws)
1. สถานภาพทีต่ ิดตัวมา
2. สถานภาพทีไ่ ด้ มาทีหลัง/ ได้ มาด้ วยความสามารถ
ปัญญา
(Intellect)
ความรู้ ความสามารถที่ใช้ แก้ ปัญหาใดๆ มี
ระดับสู งกว่ าความรู้ ซึ่งเป็ นเพียงข้ อมูล คนมี
ความรู้ คือคนมีปริญญา ประกาศนียบัตร แต่
คนมีปัญญาอาจมีปริญญาหรือไม่ กไ็ ด้ แต่ เขา
สามารถแก้ ปัญหาต่ างๆ ได้
1. ปัญญาเกิดจากการคบหากับผู้มีปัญญา
ระดับ
ของปัญญา
2. ปัญญาเกิดจากการศึกษาคาสอนของผู้มปี ัญญา (การฟัง การอ่าน)
3. ปัญญาเกิดจากการพิจารณา ใคร่ ครวญ
4. ปัญญาเกิดจากการลงมือปฏิบัติ