ความหมายวัฒนธรรมไทย ประเพณี ในแต่ละเดือน วัฒนธรรมไทย/การละเล่น วัฒนธรรมในสมัยก่อน เอกลักษณ์วฒั นธรรมไทย จบการนาเสนอ คาว่า วัฒนธรรมเป็ นภาษาบาลีและสันสกฤต วัฒน เป็ น ภาษาบาลี แปลว่า เจริ ญงอกงาม ส่ วนคาว่า ธรรม เป็ นภาษาสันสกฤต แปลว่า ความดี ซึ่งถ้าแปลตามศัพท์กค็ ือ.
Download
Report
Transcript ความหมายวัฒนธรรมไทย ประเพณี ในแต่ละเดือน วัฒนธรรมไทย/การละเล่น วัฒนธรรมในสมัยก่อน เอกลักษณ์วฒั นธรรมไทย จบการนาเสนอ คาว่า วัฒนธรรมเป็ นภาษาบาลีและสันสกฤต วัฒน เป็ น ภาษาบาลี แปลว่า เจริ ญงอกงาม ส่ วนคาว่า ธรรม เป็ นภาษาสันสกฤต แปลว่า ความดี ซึ่งถ้าแปลตามศัพท์กค็ ือ.
ความหมายวัฒนธรรมไทย
ประเพณี ในแต่ละเดือน
วัฒนธรรมไทย/การละเล่น
วัฒนธรรมในสมัยก่อน
เอกลักษณ์วฒั นธรรมไทย
จบการนาเสนอ
คาว่า วัฒนธรรมเป็ นภาษาบาลีและสันสกฤต วัฒน เป็ น
ภาษาบาลี แปลว่า เจริ ญงอกงาม ส่ วนคาว่า ธรรม เป็ นภาษาสันสกฤต
แปลว่า ความดี ซึ่งถ้าแปลตามศัพท์กค็ ือ สภาพอันเป็ นความเจริ ญงอก
งามหรื อลักษณะที่แสดงถึงความงอกงาม วัฒนธรรมเป็ นวิถีชีวิตหรื อ
การดาเนินชีวิตของกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ซึ่งหมายรวม ถึงความคิด ศิลปะ
วรรณคดี ดนตรี ปรัชญา ศีลธรรม จรรยา ภาษา กฎหมาย ความเชื่อ ขนบ
ธรรม เนียมประเพณี และสิ่ งต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งได้ถ่ายทอดให้กบั
คนรุ่ นต่อๆมา
เมนูหลัก
สมัยโบราณ ในความหมายทีเ่ ป็ นสากล จะหมายถึง ช่ วงเวลาที่
มนุษย์ รู้จักการตั้งถิ่นฐานถาวร สร้ างอารยธรรม วัฒนธรรม อักษร
ต่ างๆ ขึน้ มา ซึ่งในแต่ ละประเทศ สมัยโบราณจะมาถึงเร็วหรือช้ า
จะไม่ เท่ ากัน ขึน้ อยู่กบั ว่ าช่ วงเวลาใดทีประเทศนั้นอยู่ในช่ วงสร้ าง
และประดิษฐ์ อารยธรรมที่จะเป็ นหลักฐานยืนยันได้ ว่าอารยธรรม
ของประเทศ
เมนูหลัก
มกราคม ฤดูเก็บเกีย่ ว
เดือนยีเ่ มือ่ การเก็บเกีย่ วข้ าวในนาเเละนวดข้ าวเสร็จสิ้นลง
เกษตรกรชาวนาซึ่งทางานหนัก เพราะต้ องทางานตรากตรา
กลางเเดดฝนอยู่ในโคลนตมเป็ นเวลานานๆ เมือ่ ไถหว่ านปักดา
จนต้ นข้ าวงอกงามเติบโตเเละออกรวง ได้ เก็บเกีย่ วพืชผลที่ลง
เเรงไว้ เมือ่ นวดข้ าวเเละเก็บข้ าวขึน้ ใส่ ยุ้งฉางเรียบร้ อยเเล้ ว
เสร็จสิ้น การทางานอีกครั้งหนึ่ง ก็ร่วมกันทาบุญให้ ทานเพือ่
ความเป็ นสิ ริมงคล เเก่ ตนเอง ครอบครัวเเละหมู่บ้าน
เมนูหลัก
กุมภาพันธ์ เดือนมาฆะ
"มาฆะ" เเปลว่ า เดือน ๓ ทางจันทรคติเรียกว่ า มาฆมาส หรือ
มาฆบูชาจาตุรงคสั นนิบาต วันมาฆบูชากาหนดตรงกับวันเพ็ญ
เดือน ๓ ของทุกๆปี พระราชพิธีกศุ ลวันมาฆบูชานี้ เกิดเมือ่ ครั้ง
รัชกาล พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ทรงมี
พระราชดาริว่า วันเพ็ญกลางเดือน ๓ เป็ นวันพระจันทร์ เสวยมาฆ
ฟกษ์ มีเหตุการณ์ สาคัญยิง่ จึงได้ พระกรุ ณาโปรดเกล้าให้ จัดทาพิธี
มาฆบูชาขึน้
เมนูหลัก
มีนาคม วันตรุ ษสิ้นปี
พิธีทาบุญวันตรุษเดือน ๔ หรือประเพณีการทาบุญวันตรุษสิ้นปี
เริ่มตั้งเเต่ วนั เเรม ๑๔ คา่ เดือน ๔ ไปจนถึง วันขึน้ ๑ คา่ เดือน ๕
รวม ๓ วัน ตรุษนีบ้ อกกาหนดสิ้นปี มีการทาบุญให้ ทาน เพือ่ ระลึก
ถึงสั งขารทีล่ ่ วงมา ด้ วยดีอกี ปี เเล้ ว มีการยิงปื นใหญ่ จุดประทัด
ดอกไม้ ไฟ ตีกลอง เคาะระฆัง เพือ่ ขับไล่ สิ่ งชั่วร้ ายต่ างๆ ออกจาก
เมือง ชาวบ้ านต่ างก็ทาความสะอาด เคหะสถาน เพือ่ เตรียมตัวรับปี
ใหม่ ทีก่ าลังจะมาถึง
เมนูหลัก
เมษายน รดนา้ วันสงกรานต์
ในวันเเละเวลาทีพ่ ระอาทิตย์ ยกขึน้ สู่ ราศีเมษ เฉพาะในเดือน ๕ เรียกว่ าวัน
มหาสงกรานต์ เพราะถือว่ าเป็ นวัน เเละ เวลาตั้งต้ นปี ใหม่ คอื วันที่ ๑๓ เป็ นวันต้ น
คือวันสงกรานต์ วันที่ ๑๔ วันกลาง คือวันเนา เเละ วันที่ ๑๕ วันสุ ดท้ าย คือวันเถลิง
ศก วันสงกรานต์ เป็ นประเพณีทผี่ ้ คู นมีความ สนุกสนานกัน หลังงานเก็บเกีย่ ว
ว่ างเว้ นจากการทาไร่ ทานา เป็ นเวลาที่ ชาวเกษตรกร ได้ พกั ผ่อน เวลาทีจ่ ะหาความ
สนุกใส่ ตน ก่ อนทีเ่ วลา ทีจ่ ะต้ องไปทาการเพาะปลูก อีกครั้ง ผู้คนสาดนา้ ใส่ กนั ซึ่ง
หมายถึงอวยพร ให้ เเก่กนั เเละขอให้ โชคดี ในปี ใหม่ ทจี่ ะย่างกลายเข้ ามา
เมนูหลัก
ศาสนา
ศาสนาเป็ นสถาบันทีส่ าคัญควบคู่กบั สั งคมมนุษย์ มาตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบันนี้ ไม่ ว่า
สั งคมของชนชาติใด หรือภาษาใด เพราะศาสนาเป็ นสิ่ งทีม่ ากับชีวิตมนุษย์ ทุกคน
และมีความ สั มพันธ์ ต่ อปรากฏการณ์ ต่าง ๆ ในสั งคมมนุษย์ เป็ นอย่ างมาก เนื่องจาก
ศาสนา เป็ นสื่ อระหว่ าง มนุษย์ กบั ปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติที่มอี านาจเหนือ
มนุษย์
เมนูหลัก
ศิลปกรรม
ชนชาติไทยเป็ นชนชาติทมี่ เี อกลักษณ์ ทางศิลปกรรมสู งงานศิลปะเป็ นงาน ที่
ให้ ความรู้ สึกทางด้ านสุ นทรีย์ของมนุษย์ ทมี่ จี ิตใจสู ง ซึ่งถ่ ายทอดความรู้ สึกทีม่ ี
คุณค่ าทางจิตใจ ถ่ ายทอดออกมาเป็ นรู ปธรรม ได้ แก่ สถาปัตยกรรม
ประติมากรรม จิตรกรรม และประณีตศิลป์ ถ่ ายทอดออกมาไม่ เป็ นรู ปธรรม ได้
แก วรรณคดี ดนตรี และนาฏศิลป์ ศิลปวัฒนธรรมไทยทีป่ รากฏจะสะท้ อนให้ เห็น
ถึงความสั มพันธ์ ของพุทธศาสนา การถ่ ายทอดทาง อารมณ์ ท้งั 2 ลักษณะ
ก่อให้ เกิดวัฒนธรรมซึ่งเป็ นเอกลักษณ์ เฉพาะชาติของคนไทย
เมนูหลัก
สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรม เป็ นผลทางวัตถุที่ได้รับการสร้างสรรค์
ด้วยศิลปและวิทยาการในการก่อสร้าง เป็ นสิ่ งที่อานวย
ประโยชน์แก่มนุษย์ท้ งั ในด้านความสะดวกสบาย ปลอดภัย
และพึงพอใจ ควรสร้างสรรค์งานทางด้านศิลปแห่งการ
ก่อสร้างมิให้จากัดจาเพาะเพียงแต่การสร้าง ที่อยูอ่ าศัย
เท่านั้น แต่ในความเชื่อและศรัทธาในศาสนา ก็เป็ นเหตุ
สาคัญประการหนึ่งที่ทาให้คน สร้างสรรค์งานทางด้าน
สถาปัตยกรรมขึ้น ต่างไปจากความมัน่ คงแข็งแรงและ
สวยงาม ซึ่งเป็ นผล ต่อจิตใจของผูค้ นส่ วนรวม
เมนูหลัก
ประเพณีไทยภาคเหนือ
1. ประเพณีปอยส่ างลอง
"ปอยส่ างลอง" เป็ นงานประเพณีบวชลูกแก้ วของไทยใหญ่ เป็ นการ
บรรพชาสามเณรให้ สืบทอดพระพุทธศาสนา และเพือ่ เรียนรู้พระธรรมคาสั่ งสอน
ของพระพุทธเจ้ า โดยมีความเชื่อว่ า ถ้ าได้ บวชให้ ลูกของตนเป็ นสามเณรจะได้
อานิสงฆ์ 8 กัลป์ บวชลูกคนอืน่ เป็ นสามเณรได้ อานิสงฆ์ 4 กัลป์ และหากได้
อุปสมบทลูกของตนเป็ นพระภิกษุสงฆ์ จะได้ อานิสงฆ์ 12 กัลป์ และได้ อุปสมบท
ลูกคนอืน่ จะได้ อานิสงฆ์ 8 กัลป์ และเพือ่ เป็ นการสื บทอดประเพณีทมี่ มี าดั้งเดิม
เมนูหลัก
ประเทศไทยเป็ นประเทศที่มีมรดกทางวัฒนธรรมประจาชาติที่
เป็ นของตนเองมาเป็ นระยะเวลายาวนาน ไม่วา่ จะเป็ นศิลปะไทย มารยาทไทย
ภาษาไทย อาหารไทย และชุดประจาชาติไทยแต่ละยุคสมัยล้วนมีรูปแบบการ
แต่งกายที่เป็ นของตนเองซึ่งไม่อาจสรุ ปได้วา่ แบบใดยุคใดจะดีกว่า หรื อ ดีที่สุด
เพราะวิถีชีวิตหรื อวัฒนธรรม ล้วนต้องมีการปรับเปลี่ยนบูรณาการไปตาม
สิ่ งแวดล้อมของสังคมแล้วแต่สมาชิกของสังคมจะคัดสรรสิ่ งที่พอเหมาะพอควร
สาหรับตน พอควรแก่โอกาส สถานที่และกาลเทศะ
เมนูหลัก
"การละเล่นของเด็กไทยใช่ไร้ค่า
เป็ นเอกลักษณ์คงคุณค่ามาช้านาน
บรรพชนสร้างมาเพื่อลูกหลาน
อย่าให้กาลมามลายจนหายไป
สอนลูกสอนหลานให้รู้จกั เป็ น ให้การละเล่นเด็กไทยอยูค่ ู่ไทย
ช่วยนาเหนี่ยวฟื้ นฟูสู่นิสยั
สื บต่อให้เอกลักษณ์เราอยูเ่ นานาน"
เมนูหลัก