กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง

Download Report

Transcript กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง

ดร. อ ุทัย อาทิเวช
อัยการผูเ้ ชี่ยวชาญ
สานักงานอัยการสูงส ุด
17 เมษายน 2556
ได้ก ล่ า วเกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ง านของเจ้า หน้า ที่ รั ฐ ใน
กระบวนการยุติ ธ รรมทางอาญาและผลกระทบที่
ประชาชนจะได้รบั จากการปฏิบตั งิ านดังกล่าวไว้ว่า
“ไม่มีความเลวร้ายใดที่ย่ งิ ไปกว่าความเลวร้าย
ที่ได้กระทาโดยอาศัยอานาจตามกฎหมายและ
ในนามของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา”
สิ ทธิมนุษยชนในกระบวนการยุตธิ รรม
 กฎหมายระหว่างประเทศด้านสิ ทธิ มนุ ษยชน
 สิ ทธิ ของผูเ้ สี ยหาย
 สิ ทธิ ของผูถ
้ ูกจับ ผูต้ อ้ งหา จาเลย
 มาตรการบังคับในคดีอาญา
 จับ ค้น ควบคุม ขัง
 การรื้ อฟื้ นคดีข้ ึนพิจารณาใหม่
 การคุม
้ ครองสิ ทธิเด็ก ฯลฯ
 Cherif
M. Bassiouni, “Human Rights in the Context of
Criminal Justice”, 1993 กล่าวถึงหลักประกันสาคัญในการ
คุ้ม ครองสิ ท ธิ ข องผู้ต ้อ งหาหรื อ จ าเลยในคดี อ าญาว่ า จะต้ อ ง
ประกอบด้วยหลักการอย่างน้อย 3 ประการคือ
1. สิทธิที่จะได้รบั การสันนิษฐานไว้กอ่ นว่าเป็นผูบ้ ริส ุทธิ์
(Right to presumption of innocence)
2. สิทธิที่จะได้รบั การช่วยเหลือทางคดี
(Right to assistance of counsel)
3. สิทธิที่จะได้รบั การพิจารณาโดยชอบธรรม
(Right to a fair trial)

“ Human Rights are about the inherent,
inalienable, interrelated and universal
rights of individuals and groups
guaranteed to them under both domestic
and international legal frameworks.”
Muhammed Tawfiq Ladan
1999-2000 Hubert Humphrey Fellow
Head of the Department of Public Law
Ahmadu Bello University, Zaria
Kaduna, Nigeria
1. Universal Declaration of Human
Rights - UDHR
2. International Covenant on Civil and
Political Rights - ICCPR
3. European Convention on Human Rights
- ECHR
สาระสาคัญของกติการะหว่ างประเทศว่ าด้ วย
สิ ทธิพลเมืองและสิ ทธิทางการเมือง (ICCPR)
ลักษณะทัว่ ไปของกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิ ทธิ พลเมือง
และสิ ทธิทางการเมือง
 หลักการพื้นฐานของกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิ ทธิ พลเมือง
และสิ ทธิทางการเมือง
 สิ ทธิ เสรี ภาพตามกติกา ICCPR
 กฎหมายภายในที่เกี่ยวข้องกับกติกา ICCPR
 กรณี ศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศ

กติการะหว่ างประเทศว่ าด้ วยสิ ทธิพลเมืองและสิ ทธิทางการเมือง
(International Covenant on Civil and Political Rights: ICCPR)




ในปี ค.ศ.1948 สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้รับปฏิญญาสากลว่าด้วย
สิ ทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ในฐานะที่เป็ น
มาตรฐานขั้นต่าในการเคารพสิ ทธิมนุษยชนพื้นฐานของทุกชาติในโลก
หลังจากนั้น มีความพยายามในการทาให้การปฏิบตั ิตามมาตรฐานขั้นต่า
ภายใต้ปฏิญญาสากลนั้นชัดเจนมากขึ้น ในปี ค.ศ.1966 สมัชชาใหญ่แห่ง
สหประชาชาติได้รับรองกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิ ทธิพลเมืองและ
สิ ทธิทางการเมือง (ICCPR)
ประเทศไทยได้เข้าเป็ นภาคีกติกา ICCPR โดยการภาคยานุวตั ิ เมื่อวันที่ 29
ตุลาคม พ.ศ.2539 โดยมีผลบังคับใช้กบั ประเทศไทยเมื่อวันที่ 29 มกราคม
พ.ศ.2540
โดยมีการทาถ้อยแถลงตีความไว้ใน 4 ประเด็นคือ ข้อ 1 วรรค 1, ข้อ 6
วรรค 5, ข้อ 9 วรรค 3, และข้อ 20 วรรค 1
หลักการพืน้ ฐานของกติการะหว่ างประเทศว่ าด้ วย
สิ ทธิพลเมือง และสิ ทธิทางการเมือง
๑.
สิ ทธิในการกาหนดเจตจานงของตนเอง (ข้ อบท ๑)
๒.
หลักการไม่ เลือกปฏิบัติ (ข้ อบท ๒ วรรค ๑, ข้ อบท ๓, ข้ อบท ๔, ข้ อ
บท ๒๐ วรรค ๒)
๓.
หลักการความเสมอภาคกันตามกฎหมาย และสิ ทธิที่จะได้ รับ
ความคุ้มครองเท่ าเทียมกันตามกฎหมาย (ข้ อบท ๒๖, ข้ อบท ๑๔
วรรค ๑, วรรค ๓, ข้ อบท ๒๕)
๔.
หลักการความเสมอภาคระหว่ างบุรุษและสตรี (ข้ อบท ๓)
๕.
หลักการรอนสิ ทธิ (ข้ อบท ๔)
หลักการพืน้ ฐานของกติการะหว่ างประเทศว่ าด้ วย
สิ ทธิพลเมือง และสิ ทธิทางการเมือง
๑.
สิ ทธิในการกาหนดเจตจานงของตนเอง (ข้ อบท ๑)
สิ ท ธิ ใ นการก าหนดเจตจ านงตนเอง เป็ นสิ ท ธิ ที่ ส าคัญ ยิ่ ง จึ ง ถู ก
กาหนดไว้ก่ อนสิ ทธิ อื่น ๆ เพราะการบรรลุ สิทธิ ประการนี้ เป็ นเงื่ อนไขที่
จาเป็ นต่อการรับประกันและการใช้สิทธิ มนุ ษยชนของปั จเจกบุคคลอย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพ และจาเป็ นต่อการส่ งเสริ มและการเสริ มความแข็งแกร่ งของ
สิ ทธิเหล่านั้น
หลักการพืน้ ฐานของกติการะหว่ างประเทศว่ าด้ วย
สิ ทธิพลเมือง และสิ ทธิทางการเมือง


สิ ทธิทจี่ ะกาหนดสถานะทางการเมือง หมายถึง สิ ทธิของประชาชนที่จะ
เลือกระบอบการปกครองของตนเองได้โดยปราศจากการการแทรกแซง
หรื อการควบคุมของต่างชาติ
สิ ทธิในการกาหนดการพัฒนาเศรษฐกิจ สั งคม และวัฒนธรรมของตน
อย่ างเสรี หมายถึง ประชาชนมีสิทธิในการพัฒนาตนเองและประเทศของ
ตน ซึ่งเป็ นสิ ทธิที่มีอยูม่ าแต่เดิมของประชาชน
หลักการพืน้ ฐานของกติการะหว่ างประเทศว่ าด้ วย
สิ ทธิพลเมือง และสิ ทธิทางการเมือง

สิ ทธิของประชาชนในการจัดการโภคทรัพย์ และทรัพยากรธรรมชาติของ
ตนเองอย่ างเสรี เป็ นการแสดงให้เห็นว่าทรัพยากรภายในรัฐใดย่อมเป็ น
ของรัฐนั้น ประชาชนภายในรัฐนั้นเป็ นเจ้าของทรัพยากร ซึ่งทุกคนต้อง
ได้รับการคุม้ ครองอย่างเท่าเทียมกัน เป็ นสิ ทธิในการจัดการและการใช้
ทรัพยากรอย่างอิสระ และรัฐจะต้องจัดการให้เกิดประโยชน์ต่อ
ประชาชนทุกคน การจัดการทรัพยากรโดยรัฐหรื อประชาชนภายในรัฐ
จะต้องไม่ทาลายหรื อกระทาการอันจะเป็ นการเสื่ อมเสี ยต่อพันธกรณี
ใดๆที่เกิดจากความร่ วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศโดยขึ้นอยูก่ บั
หลักการแห่งผลประโยชน์กนั
หลักการพืน้ ฐานของกติการะหว่ างประเทศว่ าด้ วย
สิ ทธิพลเมือง และสิ ทธิทางการเมือง
หลักการไม่ เลือกปฏิบัติ (ข้ อบท ๒ วรรค ๑, ข้ อบท ๓, ข้ อบท ๔, ข้ อ
๒. บท ๒๐ วรรค ๒)
 การไม่เลือกปฏิบต
ั ิเป็ นหลักการขั้นพื้นฐานทัว่ ไปในการคุม้ ครองสิ ทธิ
มนุษยชน เพราะจะค้ าประกันว่าจะไม่มีบุคคลใดถูกปฏิเสธที่จะได้รับ
การคุม้ ครองสิ ทธิมนุษยชนเนื่องจากปัจจัยภายนอกบางประการ
 “การเลือกปฏิบต
ั ิ” ที่ใช้ในกติกาควรจะเป็ นที่เข้าใจว่าหมายถึง
การแยกแยะ ความแตกต่าง การกีดกัน การจากัด หรื อการปฏิบตั ิเป็ น
พิเศษใดๆ บนพื้นฐานแห่งเชื้อชาติ ผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทาง
การเมืองหรื อความคิดเห็นอื่นใด เผ่าพันธุ์แห่งชาติหรื อสังคม ทรัพย์สิน
กาเนิด หรื อสถานะอื่นๆ ซึ่งมีจุดประสงค์หรื อก่อให้เกิดผลในการล้มล้าง
หรื อบัน่ ทอนการได้รับหรื อการได้ใช้สิทธิและเสรี ภาพของคนทั้งปวง
บนพื้นฐานแห่งความเท่าเทียมกัน
หลักการพืน้ ฐานของกติการะหว่ างประเทศว่ าด้ วย
สิ ทธิพลเมือง และสิ ทธิทางการเมือง
หลักการความเสมอภาคกันตามกฎหมาย และสิ ทธิที่จะได้ รับ
ความคุ้มครองเท่ าเทียมกันตามกฎหมาย (ข้ อบท ๒๖, ข้ อบท ๑๔
วรรค ๑, วรรค ๓, ข้ อบท ๒๕)
หลักการความเสมอภาคตามกฎหมาย และการได้รับความคุม้ ครองโดย
กฎหมายอย่างเสมอภาคโดยปราศจากการเลือกปฏิบตั ิได้กาหนดว่า
บุคคลทุกคนมีความเสมอภาคตามกฎหมาย และมีสิทธิได้รับการ
คุม้ ครองเท่าเทียมกันทางกฎหมาย โดยปราศจากการการเลือกปฏิบตั ิ
และกฎหมายจะต้องประกันการคุม้ ครองบุคคลทุกคนอย่างเสมอภาคและ
มีประสิ ทธิภาพจากการเลือกปฏิบตั ิดว้ ยเหตุความแตกต่างใด อทิ เชื้อชาติ
ผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมืองหรื อความคิดเห็นอื่นใด
เผ่าพันธุ์แห่งชาติหรื อสังคม ทรัพย์สิน กาเนิด หรื อสถานะอื่นๆ
๓.

สิ ทธิเสรีภาพตามกติกาว่ าด้ วย
สิ ทธิพลเมือง และ สิ ทธิทางการเมือง
๑
สิ ทธิในชีวติ (ข้ อบท ๖)
๒
ห้ ามการทรมาน การปฏิบัติหรือการลงโทษทีโ่ หดร้ าย
ไร้ มนุษยธรรม (ข้ อบท ๗)
๓
ห้ ามการเอาตัวบุคคลลงเป็ นทาส และการบังคับใช้ แรงงาน (ข้ อบท ๘)
๔
สิ ทธิในเสรีภาพและความปลอดภัยของบุคคล (ข้ อบท ๙)
๕
สิ ทธิของบุคคลทีถ่ ูกลิดรอนเสรีภาพ (ข้ อบท ๑๐)
สิ ทธิเสรีภาพตามกติกาว่ าด้ วย
สิ ทธิพลเมือง และ สิ ทธิทางการเมือง
๖
สิ ทธิที่จะได้ รับการพิจารณาคดีที่เป็ นธรรม (ข้ อบท ๑๔)
๗
เสรีภาพในการเดินทางและเสรีภาพในการเลือกถิ่นทีอ่ ยู่ (ข้ อบท ๑๒)
๘
สิ ทธิทจี่ ะได้ รับการยอมรับว่ าเป็ นบุคคลตามกฎหมาย (ข้ อบท ๑๖)
๙
สิ ทธิในความเป็ นส่ วนตัว (ข้ อบท ๑๗)
๑๐
สิ ทธิในเสรีภาพทางความคิด มโนธรรม และศาสนา
(ข้ อบท ๑๘ วรรค ๒ และ วรรค ๔)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2550
มาตรา 28
บุคคลย่อมอ้างศักดิ์ศรีความเป็ นมนุษย์หรือใช้สิทธิ
และเสรี ภาพของตนได้เท่าที่ไม่ละเมิดสิทธิและเสรี ภาพ
ของบุคคลอื่น ไม่เป็ นปฏิปักษ์ตอ่ รัฐธรรมนูญ หรือไม่ขดั
ต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน
บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รั ฐธรรมนูญ
นี้รับรองไว้ สามารถยกบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
เพื่อใช้สิทธิทางศาลหรือยกขึน้ เป็ นข้อต่อสูค้ ดีในศาลได้
....
มาตรา 39
บุคคลไม่ตอ้ งรับโทษอาญา เว้นแต่ได้
กระทาการอันกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระทานั้ นบัญญัติ
เป็ นความผิด และกาหนดโทษไว้ และโทษที่จะลงแก่บคุ คลนัน้
จะหนัก กว่ า โทษที่ ก าหนดไว้ใ นกฎหมายที่ ใ ช้อ ยู่ใ นเวลาที่
กระทาความผิดมิได้
ในคดี อ าญา ต้อ งสัน นิษ ฐานไว้ก่อ นว่ า ผูต้ อ้ งหาหรื อ
จาเลยไม่มคี วามผิด
ก่ อ นมี ค าพิ พ ากษาอั น ถึ ง ที่ ส ุด แสดงว่ า บุค คลใดได้
กระทาความผิดจะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็ นผูก้ ระทา
ความผิดมิได้
มาตรา 40 บุคคลย่อมมีสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
ดังต่อไปนี้
(1)
สิทธิเข้าถึ งกระบวนการยุติธรรมได้โดยง่ าย
สะดวก รวดเร็ว และทั่วถึง
(2) สิทธิพื้นฐานในกระบวนพิจารณา ซึ่งอย่างน้อยต้องมี
หลัก ประกัน ขั้น พื้ น ฐานเรื่ อ งการได้รับ การพิ จ ารณาโดย
เปิ ดเผย การได้รับทราบข้อเท็ จจริงและตรวจเอกสารอย่า ง
เพียงพอ การเสนอข้อเท็ จจริง ข้อโต้แย้ง และพยานหลักฐาน
ของตน การคัดค้านผูพ้ ิพากษาหรือตุลาการ การได้รับ การ
พิจารณาโดยผูพ้ ิพากษาหรือ ตุลาการที่นงั ่ พิจารณาครบองค์
คณะ และการได้รั บ ทราบเหตุผ ลประกอบค าวิ นิ จ ฉั ย ค า
พิพากษา หรือคาสัง่
(3) บุคคลย่อมมีสิทธิที่จะให้คดีของตนได้รบั การ
พิจารณาอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเป็ นธรรม
(4) ผูเ้ สียหาย ผูต้ อ้ งหา โจทก์ จาเลย คู่ก รณี
ผูม้ ีส่วนได้เสีย หรือพยานในคดีมีสิทธิได้รั บการปฏิบัติ
ที่เหมาะสมในการดาเนินการตามกระบวนการยุตธิ รรม
รวมทั้งสิทธิในการได้รับการสอบสวนอย่างถูก ต้อง
รวดเร็ว เป็ นธรรม และการไม่ให้ถอ้ ยคาเป็ นปฏิ ปักษ์
ต่อตนเอง
(7) ในคดีอาญา ผูต้ อ้ งหาหรือจาเลยมีสิทธิได้รับ
การสอบสวนหรื อ การพิ จ ารณาคดี ที่ ถ กู ต้อ งรวดเร็ ว
และเป็ นธรรม โอกาสในการต่อสูค้ ดีอย่างเพียงพอ การ
ตรวจสอบหรือได้รับทราบพยานหลักฐานตามสมควร
ก า ร ไ ด้ รั บ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ใ น ท า ง ค ดี จ า ก
ทนายความ และการได้รบั การปล่อยชั่วคราว
(8) ในคดีแพ่ง บุคคลมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือ
ทางกฎหมายอย่างเหมาะสมจากรัฐ
การพัฒนาระบบการปล่อยชั ่วคราว





สถิตกิ ารปล่อยชัว่ คราว
ความยากจนกับความเสมอภาคทางกฎหมาย
การขาดโอกาสในการขอประกัน
ปั ญหาการใช้ดลุ พินจิ ของเจ้าพนักงานและศาล
ตัวอย่างคดีระหว่าง
พนักงานอัยการ สานักงานคดีอาญา กรุงเทพใต้ 5
โจทก์
นายอนันต์ ยวนสันเทียะ
จาเลย
การขาดโอกาส & ความสามารถในการประกันตัว

คดีของศาลอาญากรุงเทพใต้ หมายเลขแดงที่ 5615/2545
พนักงานอัยการ สานักงานคดีอาญากรุงเทพใต้ 5 โจทก์
ระหว่าง
นายอนันต์ ยวนสันเทียะ
จาเลย
ข้อหา มีเครื่องกระสุนปื นไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รบั อนุญาต
(กระสุนปื นขนาด 9 ม.ม. จานวน 1 นัดจากการค้นบ้าน
ตามหมายของศาลอาญากรุงเทพใต้)
คาร้องต้องได้รบั การพิจารณาอย่างรวดเร็ว

ป.วิอาญา ม. 107
ฎ. 2557/2534 พนั กงานสอบสวนหน่ วงเหนี่ ยวการ
ประกัน ตัว ผูต้ อ้ งหาโดยบอกว่า ตนไม่ว่า งที่ จ ะให้ป ระกัน
จะต้องไปตั้งด่านตรวจ และยังพูดว่าจะรีบประกันไปทาไม
จะดัดสันดานสัก 2-3 วันก่อน แล้วก็ออกไปรับประทาน
อาหาร มิ ได้ไ ปตั้งด่ า นตรวจแต่ อย่า งใด เมื่อกลับ เข้ามา
ญาติของผูต้ อ้ งหาขอประกันตัวผูต้ อ้ งหาอีก พงส.พูดว่า จะ
ประกันไปทาไม ให้ถูกขัง 4-5 วันก่อน แล้วก็ออกไปตีสนุ ก
เกอร์ นอกจากเป็ นการกระทาที่ ขดั ต่อ ป.วิอาญา ม. 107
แล้ว ยังผิดตาม ปอ. ม. 157

8. ทนายความที่เข้าฟั งการสอบสวนปากคา ไม่มี
หน้าที่ตอบคาถามแทนผูต้ อ้ งหา เว้นแต่คาถามนัน้ ไม่
ชั ด เจน ทนายความอาจทั ก ท้ว งขอให้พ นั ก งาน
สอบสวนอธิบายหรือแจงเพิ่มเติมได้ และจะต้องไม่
กระทาการใดอันเป็ นการรบกวนหรือขัดขวางการ
ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข อ ง พ นั ก ง า น ส อ บ ส ว น ใ น ก า ร
สอบปากคาผูต้ อ้ งหา
9. ถ้าทนายความที่เข้าฟั งการสอบปากคาผูต้ อ้ งหาเห็นว่า
การสอบปากคาผูต้ อ้ งหาของพนักงานสอบสวนไม่ชอบด้วย
กฎหมายใด อาจคั ด ค้า นหรื อ ข้อ ทั ก ท้ว งลงไว้ใ นบั น ทึ ก
สอบปากคาของพนักงานสอบสวนได้ และก่อนที่พนักงาน
สอบสวนจะสอบปากคาหรือตั้งคาถามผูต้ อ้ งหาต่อไป ให้
พนักงานสอบสวนจดข้อคัดค้าน หรือ ข้อทักท้วงลงไว้ใน
บันทึกการสอบปากคา หรือจะให้ทนายความยื่นคาคัดค้าน
หรื อ ค าทั ก ท้ว งเป็ นหนั ง สื อ เพื่ อ รวมไว้ใ นส านวนการ
สอบสวนก็ได้
นายชาญชัย
ลิ ขิตจิตถะ อดีตรัฐมนตรี ว่าการกระทรวง
ยุติ ธ รรม เคยกล่ า วไว้ว่ า การพั ฒ นากระบวนการ
ยุติธ รรมให้ส อดคล้อ งกับ สัง คมโลกจะต้อ งปฏิ บัติ ใ น 5
ด้าน ดังนี้
1.ดูแลให้มก
ี ารปฏิบตั แิ ละบังคับการให้เป็ นไปตามกฎหมาย
อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เป็ นธรรมและทัว่ ถึง ส่งเสริมการให้
ความช่วยเหลือและให้ความรูท้ างกฎหมายแก่ประชาชน
2. คุม
้ ครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลให้พน้ จากการล่วง
ละเมิด ทัง้ โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐและโดยบุคคลอื่น
3.จั ด ให้ มี ก ฎหมายเพื่ อ จั ด ตั้ ง องค์ ก รเพื่ อ การปฏิ รูป
กฎหมายที่ดาเนินการเป็ นอิสระเพื่อปรับปรุงและพัฒนา
กฎหมายของประเทศ
4.จั ด ให้ มี ก ฎหมายเพื่ อ จั ด ตั้ ง องค์ ก รเพื่ อ การปฏิ รูป
กระบวนการยุตธิ รรมที่ดาเนินการเป็ นอิสระ เพื่อปรับปรุง
และพัฒนาการดาเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อ งกับ
กระบวนการยุตธิ รรม
5.สนับ สนุน การด าเนิน การขององค์ก รภาคเอกชนที่ ใ ห้
ความช่วยเหลือทางกฎหมาย โดยเฉพาะผูไ้ ด้รับผลกระทบ
จากความรุนแรงในครอบครัว
ความผิดมูลฐาน
1. ยาเสพติด
11.ค้ามนุษย์
10.ซื้อสิ ทธิ /ขายเสียง
ในการเลือกตัง้
2. เพศ
9.การพนัน
8. ก่อการร้าย
3.ฉ้ อโกงประชาชน
4.ยักยอก/ฉ้ อโกงโดย
ผูบ้ ริหารสถาบันการเงิน
7. ลักลอบหนี ศลุ กากร
6. กรรโชก
5.ความผิดต่อ
ตาแหน่ งหน้ าที่ราชการ
/ รีดเอาทรัพย์
มาตรการทางกฎหมาย
ตาม พ.ร.บ.ป้ องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. 2542
มาตรการทางแพ่ง
การดาเนิ นการ
เกี่ยวกับทรัพย์สิน
มาตรการทางอาญา
การดาเนิ นคดีอาญา
ขัน้ ตอนการดาเนินการริบทรัพย์สินตามกฎหมายฟอกเงิน
รายงานจาก
สานักงานที่ดิน
รายงานจาก
สถาบันการเงิน
รายงานจาก 9 วิชาชีพ และ
ข้อมูลจากแหล่งอื่น
สานักงาน ปปง.
การยับยัง้ ธุรกรรม
คณะกรรมการธุรกรรม หรือ
เลขาธิการ ปปง.
การยึด/อายัดชัวคราว
่
มีเหตุอนั ควรเชื่อ
3 วัน*
10 วัน
อัยการ
เจ้าของทรัพย์ยื่นคาร้อง
คณะกรรมการ ปปง.
ศาลแพ่ง
คณะกรรมการ ปปง.
90 วัน*
ประกาศ
เจ้าของ/ผูร้ บั โอน/ผูร้ บั ประโยชน์ ยื่นคาร้อง
เลขาธิ การ ปปง.
อัยการ
การคืนทรัพย์สิน
ริบทรัพย์
พิ สจู น์ ความเป็ นเจ้าของหรือความสุจริ ตของผูร้ บั ประโยชน์
การคืนทรัพย์สิน
ศาลแพ่ง
การดาเนินการเกี่ยวกับทรัพย์สิน ศาล
ทรัพย์สินตกเป็ นของ
แผ่นดิน
พนักงานอัยการ
ทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทาความผิด
การพิจารณาวินิจฉัยของคณะกรรมการธุรกรรม
รายงาน
โดย คณะกรรมการธุรกรรม
กรณี เร่งด่วน
โดย เลขาธิการ ปปง.
การสั ่งยึดหรืออายัดทรัพย์สิน
มูลเหตุอนั เชื่อได้ว่าทรัพย์สินนัน้ เกี่ยวข้องกับ
การกระทาความผิดฐานฟอกเงิน
การตรวจสอบรายงานและข้อมูลตาม
หลักเกณฑ์ในกฎกระทรวง
(มาตรา 48)
มาตรา 35 ในกรณี ที่มีเหตุอนั ควรสงสัยและมีพยานหลักฐาน
อัน สมควรว่า ธุ ร กรรมใดเกี่ ย วข้อ งหรื อ อาจเกี่ ย วข้อ งกับ การ
กระท าความผิ ด มู ล ฐานหรื อความผิ ด ฐานฟอกเงิ น ให้
คณะกรรมการธุ ร กรรมมี อ านาจสั่งเป็ นหนัง สื อยับยั้งการท า
ธุรกรรมนั้นไว้ก่อนได้ภายในเวลาที่กาหนดแต่ไม่เกินสามวันทา
การ
ในกรณี จ าเป็ นหรื อ เร่ ง ด่ ว น เลขาธิ ก ารจะสั่ ง ยับ ยั้ง การท า
ธุ ร ก ร ร ม ตา มว ร ร คห นึ่ ง ไ ป ก่ อน ก็ ไ ด้ แ ล้ ว ร า ย ง าน ต่ อ
คณะกรรมการธุรกรรม
มาตรา 36 ในกรณี ที่มีพยานหลักฐานเป็ นที่เชื่อได้วา่ ธุรกรรม
ใดเกี่ ยวข้องหรื ออาจเกี่ ยวข้องกับการกระทาความผิดมูลฐาน
หรื อความผิดฐานฟอกเงิน ให้คณะกรรมการธุ รกรรมมีอานาจ
สัง่ เป็ นหนังสื อยับยั้งการทาธุรกรรมนั้นไว้ชวั่ คราวภายในเวลาที่
กาหนดแต่ไม่เกินสิ บวันทาการ
มาตรา 38 เพื่ อประโยชน์ในการปฏิ บัติ หน้าที่ ตามพระราชบัญญัติ น้ ี ให้
กรรมการธรุ กรรม เลขาธิ การ และพนักงานเจ้าหน้าที่ ที่ได้รบั มอบหมายเป็น
หนังสือจากเลขาธิการมีอานาจดังต่อไปนี้
(1) มี ห นัง สื อ สอบถามหรือ เรียกให้ส ถาบันการเงิ น ส่ว นราชการ องค์ก าร
หรือหน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ แล้วแต่กรณี ส่งเจ้าหน้าที่ที่ เกี่ยวข้องมา
เพื่อให้ถอ้ ยคาส่งคาชี้แจงเป็นหนังสือ หรือส่งบัญชี เอกสาร หรื อหลักฐานใดๆ
มาเพื่อตรวจสอบหรือเพื่อประกอบการพิจารณา
(2) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบ ุคคลใดๆ มาเพื่อให้ถอ้ ยคา ส่งคาชี้แจงเป็น
หนังสื อ หรือส่ง บัญ ชี เอกสาร หรือหลัก ฐานใดๆ มาเพื่ อตรวจสอบหรือเพื่ อ
ประกอบการพิจารณา
(3) เข้าไปในเคหสถาน สถานที่ หรือยานพาหนะใดๆ ที่มีเหต ุอันควรสงสัยว่า
มี ก ารซ กุ ซ่ อ นหรื อ เก็ บ รัก ษาทรัพ ย์สิ น ที่ เ กี่ ย วกับ การกระท าความผิ ด หรื อ
พยานหลักฐานที่ เกี่ยวกับการกระทาความผิดฐานฟอกเงิ น เพื่อตรวจค้นหรือ
เพื่ อ ประโยชน์ใ นการติ ด ตาม ตรวจสอบ หรื อ ยึ ด หรื อ อายัด ทรัพ ย์สิ น หรื อ
พยานหลักฐาน เมื่อมีเหต ุอันควรเชื่อได้ว่าหากเนิ่นช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้
ทรัพย์สินหรือพยานหลักฐานดังกล่าวนัน้ จะถกู ยักย้าย ซ ุกซ่อน ทาลาย หรือทา
ให้เปลี่ยนสภาพไปจากเดิม
มาตรา 38/1 ภายใต้บังคับแห่งประมวลกฎหมาย
วิ ธี พิ จ ารณาความอาญาในการปฏิ บัติ ห น้า ที่ ต าม
พระราชบัญญัติน้ ี ให้เลขาธิ การ รองเลขาธิ การ และ
พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รบั มอบหมายเป็นหนังสือจาก
เลขาธิการมีอานาจจับผูก้ ระทาความผิดฐานฟอกเงิน
และบันทึ กถ้อยคา ผูถ้ กู จับเพื่อเป็นหลักฐานเบื้ องต้น
แล้วส่งตัวไปยังพนักงานสอบสวนโดยไม่ชกั ช้าแต่ ตอ้ ง
ไม่เกินยีส่ ิบสี่ชวั่ โมง
การเข้าถึงบัญชี ล ูกค้าของสถาบัน
การเงิน
การเข้าถึงข้อมูลทางการสื่อสาร
การเข้าถึงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
ในกรณีท่มี พี ยานหลักฐานตามสมควรว่าบัญชีลู กค้า
ของสถาบัน การเงิน เครื่อ งมือ หรือ อุ ป กรณ์ ใ นการสื่ อ สาร
หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ใด
ถูกใช้หรืออาจถูกใช้เพื่อ
ประโยชน์ ใ นการกระท าความผิด ฐานฟอกเงิน พนั ก งาน
เจ้าหน้ าที่ซ่ึงเลขาธิการมอบหมายเป็ นหนัง สือจะยื่ นคาขอ
ฝ่ า ยเดี ย วต่ อ ศาลแพ่ ง เพื่อ มี ค าสัง่ อนุ ญ าตให้ พ นั ก งาน
เจ้ า หน้ าที่ เ ข้ า ถึ ง บั ญ ชี ข้ อ มู ล ทางการสื่ อ สาร หรื อ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์เพือ่ ให้ได้มาซึง่ ข้อมูลดังกล่าวนันน ก็ได้
มาตรา 48 ในการตรวจสอบรายงานและข้อมูล
เกี่ยวกับการทาธ ุรกรรม หากมีเหต ุอันควรเชื่ อได้ว่า
อาจมีการโอน จาหน่าย ยักย้าย ปกปิด หรือซ่อ นเร้น
ทรัพ ย์สิ น ใดที่ เ ป็ นทรัพ ย์สิ น ที่ เ กี่ ย วกับ การกระท า
ความผิด ให้คณะกรรมการธ ุรกรรมมีอานาจสั่งยึด
หรื ออายัดทรัพย์สินนั้นไว้ช่ ัวคราวมี ก าหนดไม่ เกิ น
เก้าสิบวัน
ในกรณี จาเป็นหรือเร่งด่วน เลขาธิ การจะสั่งยึด
หรื อ อายัด ทรัพ ย์สิ น ตามวรรคหนึ่ ง ไปก่ อ นแล้ ว
รายงานต่อคณะกรรมการธ ุรกรรม
มาตรา 51 เมื่อศาลทาการไต่ สวนคาร้ องของพนักงานอัยการตามมาตรา 49
แล้ ว หากศาลเชื่ อว่ าทรั พย์ สินตามคาร้ องเป็ นทรั พย์ สินที่เกี่ ยวกับการกระทา
ความผิ ด และค าร้ อ งของผู้ ซึ่ ง อ้ า งว่ า เป็ นเจ้ า ของทรั พ ย์ สิ น หรื อ ผู้ รั บ โอน
ทรัพย์ สินตามมาตรา 50 วรรคหนึ่ง ฟังไม่ ขึน้
ให้ ศาลมีคาสั่ งให้ ทรัพย์ สิน
นั้นตกเป็ นของแผ่ นดิน
ทรั พย์ สินตามวรรคหนึ่งที่เป็ นเงิน ให้ สานักงานส่ งเข้ ากองทุนกึ่งหนึ่งและ
ส่ งให้ กระทรวงการคลัง อีกกึ่งหนึ่ ง ถ้ าเป็ นทรั พย์ สินอื่น ให้ ดาเนิ นการตาม
ระเบียบทีค่ ณะรัฐมนตรีกาหนด
เพื่อประโยชน์ แห่ งมาตรานี้ หากผ้ ูอ้างว่ าเป็ นเจ้ าของหรื อผ้ ูรับโอนทรั พย์ สิน
ตามมาตรา 50 วรรคหนึ่ ง เป็ นผ้ ูซึ่งเกี่ยวข้ องหรื อเคยเกี่ยวข้ องสั มพันธ์ กับ
ผ้ ูกระทาความผิดมูลฐานหรื อความผิดฐานฟอกเงินมาก่ อน ให้ สันนิษฐานไว้
ก่ อนว่ าบรรดาทรั พย์ สินดังกล่ าวเป็ นทรั พย์ สินที่เกี่ยวกับการกระทาความผิด
หรื อได้ รับโอนมาโดยไม่ สุจริ ต แล้ วแต่ กรณี