ADR - เอกชน`52

Download Report

Transcript ADR - เอกชน`52

The Central Intellectual Property and International Trade Court
ทางเลือกอื่นในการระงับข้อพิพาททางการค้า
ระหว่างประเทศ
Alternative Dispute Resolution in
International Trade
วิชยั อริยะนันทกะ
ศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง
The Central Intellectual Property and International Trade Court
องค์ประกอบของการระงับข้อพิพาท
ที่มีประสิทธิภาพ
•
•
•
•
เป็ นธรรม (FAIR) เป็ นกลาง (Neutral)
เชี่ยวชาญ (Expertise) รวดเร็ว (SPEEDY)
ประหยัด (CHEAP)
มีกลไกการบังคับที่มีประสิทธิภาพ
(EFFECTIVE ENFORCEMENT
MECHANISM)
The Central Intellectual Property and International Trade Court
องค์ประกอบของการระงับข้อพิพาท
• การรักษาความลับหรือมาตรการป้องกันความอื้อฉาวที่
เกิดจากข้อพิพาท (MEASURE AGAINST
BAD PUBLICITY)
• การรักษาสัมพันธภาพระหว่างคู่ความ
(PRESERVATION OF
RELATIONSHIP)
The Central Intellectual Property and International Trade Court
วิธีการระงับข้อพิพาท
• การเจรจาต่อรอง (Negotiation)
• การประนอมข้อพิพาท (Conciliation or
Mediation)
• อนุญาโตตุลาการ (Arbitration)
• การพิจารณาพิพากษาโดยศาล (Litigation,
Adjudication)
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ADR
• Alternative Dispute Resolution
– Negotiation
– Conciliation, Mediation
– Arbitration
• Traditional (Conventional) Dispute
Resolution
– Litigation
The Central Intellectual Property and International Trade Court
การเจรจาต่อรอง (Negotiation)
• คู่ความเจรจากันเองก็ได้, รวดเร็ว, ประหยัด
• คู่ความกาหนดผลแห่งการเจรจาในรูปของสัญญา
ประนีประนอมยอมความ (settlement
Agreement)
• Win/Win Solution ไม่มีใครแพ้
• รักษาความสัมพันธ์ รักษาความลับ รักษาชื่อเสียง
• หากมีผชู ้ ่วยในการเจรจา (Facilitator) ก็
กลายเป็ นการไกล่เกลี่ย (Conciliation)
The Central Intellectual Property and International Trade Court
Harvard Law School, Negotiation Project, Roger Fisher,
“Getting to Yes”
• อย่าเข้าสูก่ ารเจรจาโดยมีการตั้งเงื่อนไขไว้ก่อน
(Don’t bargain over position)
• แยกปั ญหาคนจากประเด็นข้อพิพาท
(Separate the people from the
problem)
• เน้นผลประโยชน์รว่ มกัน ไม่เน้นเงื่อนไขของตน
(Focus on interests, not positions)
The Central Intellectual Property and International Trade Court
หลัก 5 ประการในการเจรจาต่อรอง ของ Roger
Fisher
• สร้างทางเลือกเพื่อผลประโยชน์รว่ มกัน
(Invent options for mutual gains)
• เน้นข้อเท็จจริงที่เป็ นกลาง (Insist on objective
criteria)
• BATNA – Best alternative to
negotiated Agreement
The Central Intellectual Property and International Trade Court
การประนอมข้อพิพาท (Conciliation)
• คู่ความสมัครใจ
• มีบุคคลที่สามเข้ามาช่วยในการไกล่เกลี่ย
(Facilitate, Facilitator)
• ผูไ้ กล่เกลี่ยไม่มีอานาจบังคับให้ค่คู วามตกลงกัน
• Settlement Agreement ต้องลงนามตัง้ สอง
ฝ่ าย
• One text procedure ใช้รา่ งสัญญาฉบับ
เดียว
The Central Intellectual Property and International Trade Court
Guidelines: Opening statement by the
mediator (Conciliator)
• Introductions – conciliator to chair
the meeting
– Introduce yourself, Thank the parties for coming
– Ask each party to introduce themselves- name, title and position
• Explain your role and the Process
– Role as a neutral, not a decision-maker, not to evaluate, not to give legal advice
– Dealing with impasse
– Maintenance of neutrality
The Central Intellectual Property and International Trade Court
การไกล่เกลี่ยตาม ปวิพ. ม. ๑๙, ๒๐, ๒๐ ทวิ
Court-annexed conciliation
• ม. ๑๙ อานาจศาลในการสั ่งให้คู่ความมาศาลด้วย
ตนเอง แม้จะมีทนายว่าต่างแก้ตา่ ง หากเห็นว่าจะ
ยังให้เกิดความตกลง หรือประนีประนอม
• ม. ๓๑ (๕) หากขัดขืนคาสั ่งตาม ม. ๑๙ (หมายเรียก)
ให้ถือว่ากระทาผิดฐานละเมิดอานาจศาล
• ม. ๓๓ จาคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๕๐๐
บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
The Central Intellectual Property and International Trade Court
การไกล่เกลี่ยตาม ปวิพ. ม. ๑๙, ๒๐, ๒๐ ทวิ
Court-annexed conciliation
• ม. ๒๐ ไม่ว่าการพิจารณาคดีจะได้ดาเนินไปแล้วเพียงใด ให้ศาลมี
•
•
•
•
อานาจไกล่เกลี่ย
ไกล่เกลี่ยได้ทุกชั้นศาล ก่อนมีคาพิพากษา
ม. ๒๐ ทวิ (แก้ไข ฉบับ ๑๗ พ.ศ. ๒๕๔๒) ศาลอาจดาเนินการไกล่
เกลี่ยเป็ นการลับเฉพาะต่อหน้าตัวความทุกฝ่ าย หรือฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง
โดยจะให้มีทนายความอยูด่ ว้ ยหรือไม่ก็ได้
วรรคสอง ศาลอาจตั้งผูป้ ระนีประนอมเพื่อช่วยเหลือศาล
วรรคสาม หลักเกณฑ์และวิธีการ ดู ระเบียบคณะกรรมการบริหาร
ศาลยุตธิ รรมว่าด้วยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. ๒๕๔๔
The Central Intellectual Property and International Trade Court
การไกล่เกลี่ยตาม ปวิพ. ม. ๑๙, ๒๐, ๒๐ ทวิ
Court-annexed conciliation
• ข้อสังเกต ม. ๑๙ – ๒๐ ทวิ
• ศาลควรบังคับตัวความให้มาศาลโดยใช้หมายเรียก และบทบัญญั ติ
เรื่องละเมิดอานาจศาลหรือไม่
• ศาลควรแยกตัวความและทนายความหรือไม่
• Confidentiality, without prejudice and caucus
• ศาลควรเป็ นผูไ้ กล่เกลี่ยเอง หรือควรตั้งบุคคลภายนอกเป็ นผูไ้ กล่
เกลี่ย
• การไกล่เกลี่ยในศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา
The Central Intellectual Property and International Trade Court
Conciliation V. Mediation
• บทบาทที่แตกต่างกัน Active V. Passive
• ไม่มี Concept นี้ ในการประนี ประนอมของไทย
• Judge as mediator: Common Law and Civil
Law
• Adversarial system V. Inquisitorial System
• Consent by parties
The Central Intellectual Property and International Trade Court
Some Techniques in Conciliation
• Request everybody to sign confidentiality
and without prejudice agreement
• Request consent to hold caucuses
• Maintain neutrality: never in the
affirmative, ask questions instead
• Impasse: Go to the Balcony
• Crack a joke!
• Know your BATNA: Best Alternative to
Negotiated Agreement
The Central Intellectual Property and International Trade Court
การอนุญาโตตุลาการ
• อนุญาโตตุลาการในศาล (Court-annexed
arbitration) - ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่ง มาตรา 210 - 222 (ยกเว้นมาตรา
221)
• อนุญาโตตุลาการนอกศาล - พระราชบัญญัติ
อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 (ยกเลิกฉบับปี
พ.ศ. 2530)
The Central Intellectual Property and International Trade Court
การอนุญาโตตุลาการ
• เป็ นการระงับข้อพิพาททางแพ่งและพาณิชย์
• มีขอ้ สัญญาอนุญาโตตุลาการ (Arbitration
Clause) ม. ๑๑
• มีบุคคลที่สามอาจเป็ นคนเดียวหรือหลายคน (จานวนเลข
คี่) เป็ นผูว้ ินิจฉัยข้อพิพาท ม. ๑๗
• อาจดาเนินการโดยใช้สถาบัน (Institutional
Arbitration) หรือคู่พิพาทดาเนินการเอง (Ad
hoc Arbitration)
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ตัวอย่างข้อสัญญาอนุญาโตตุลาการ
“ข้อพิพาท ข้อขัดแย้ง หรือข้อเรียกร้องใด ๆ ซึ่ งเกิดจากสัญญา
นี้ หรือเกี่ ยวเนื่ องกับสัญญานี้ รวมทัง้ ปั ญหาการผิดสัญญา การเลิก
สัญญา หรือความสมบูรณ์แห่งสัญญาดังกล่าว ให้ทาการวินิจััย
ชี้ขาดโดยการอนุญาโตตุลาการตามข้อบังคับอนุญาโตตุลาการของ
สถาบันอนุญาโตตุลาการ สานักงานศาลยุติธรรม ซึ่ งใช้บงั คับอยูใ่ น
ขณะที่ มีการเสนอข้อพิพาทเพื่ อการอนุญาโตตุลาการ และให้อยู่
ภายใต้การจัดการของสถาบันดังกล่าว”
The Central Intellectual Property and International Trade Court
การยอมรั บ และบั ง คั บ ตามค าชี้ ขาดของ
อนุ ญาโตตุลาการ
Recognition
and
Enforcement of Arbitral Awards
• อนุสญ
ั ญาว่าด้วยการยอมรับนับถือและการใช้บงั คับคา
ชี้ขาดอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ ฉบับนิวยอร์ค
ค.ศ. ๑๙๕๘ – อนุสญ
ั ญานิวยอร์ค ๑๙๕๘
• Convention on the Recognition and
Enforcement of Foreign Arbitral Awards
1958
• New York Convention1958
The Central Intellectual Property and International Trade Court
การระงับข้อพิพาทภายใต้ความตกลงอื่น ๆ
• ICSID (International Centre for
Settlement of Investment Disputes)
• MIGA (Multilateral Investment
Guarantee Agency)
• WTO (World Trade Organization)
The Central Intellectual Property and International Trade Court
การดาเนินกระบวนพิจารณาในศาลต่างๆและ
ปั ญหาเรื่องเขตอานาจศาล(Jurisdiction)
• การดาเนินคดีในศาลปกครอง
• การดาเนินคดีในศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและ
การค้าระหว่างประเทศกลาง
• การดาเนินคดีในศาลแพ่งหรือศาลยุตธิ รรมอื่นที่
มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่ง
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ปั ญหาเรื่องเขตอานาจศาล (Jurisdiction)
• บ่อเกิดของปั ญญา ม. ๙ อ้างถึง ศาลทรัพย์สินฯ,
ศาลที่การพิจารณาอนุญาโตฯอยูใ่ นเขต, คู่พพ
ิ าท
มีภูมิลาเนา, หรือมีอานาจ (jurisdiction)
เหนือข้อพิพาทที่เสนอต่ออนุญาโตฯ
• ม. ๔๕ วรรคท้าย อุทธรณ์คาสั ่งหรือคาพิพากษา
ของศาลต่อศาลฎีกา หรือศาลปกครองสูงสุด
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ปั ญหาเรื่องเขตอานาจศาล (Jurisdiction)
• ศาลยุตธิ รรม หรือศาลปกครอง
• ศาลยุตธิ รรม: ศาลทรัพย์สินฯหรือศาลที่มีอานาจใน
การพิจารณาคดีแพ่ง
• ศาลทรัพย์สินฯ ม. ๗ (๑๑) คดีอนุญาโตฯเกี่ยวกับข้อ
พิพาททรัพย์สินทางปั ญญาหรือการค้าระหว่างประเทศ
• ผูย้ กร่างพรบ. จัดตัง้ ศาลทรัพยสินฯ และอนุญาโตฯ
พยายามจะให้ศาลทรัพย์สินฯมี exclusive jdx แต่
ล้มเหลว!
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ปั ญหาเรื่องเขตอานาจศาล (Jurisdiction)
• อานาจของศาลปกครอง
• พรบ จัด ตั้ง ศาลปกครองและวิ ธี พิจ ารณาคดีป กครอง พ.ศ.
๒๕๔๒ ม. ๙ (๔) ศาลปกครองมี อานาจพิจารณาพิพากษา
หรือมีคาสั ่ง “คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง”
• ม. ๓ นิ ย าม สัญ ญาทางปกครอง ว่ า หมายความรวมถึ ง
สัญญาที่คู่สญ
ั ญาอย่างน้อยฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งเป็ นหน่วยงานทาง
ปกครองหรือเป็ นบุ คคลซึ่ งกระทาการแทนรัฐ และมีลกั ษณะ
เป็ นสัญญาสัมปทาน สัญญาที่ให้จดั ทาบริการสาธารณะ หรือ
จั ด ใ ห้ มี สิ่ ง ส า ธ า ร ณู ป โ ภ ค ห รื อ แ ส ว ง ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก
ทรัพยากรธรรมชาติ
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ปั ญหาเรื่องเขตอานาจศาล (Jurisdiction)
• สัญ ญาทางปกครอง กั บ สัญ ญาระหว่ า งรัฐ กั บ เอกชนที่ อ ยู่
ภายใต้บงั คับของปพพ.
• เทียบความคิดกฎหมายระหว่างประเทศเรื่อง sovereign
(state) immunity: ความคุม้ กันของรัฐ
• แยกบทบาทของรัฐในเชิงพาณิชย์ Jure Gestionis –ไม่
อาจอ้าง sovereign immunity และกรณีบทบาทของ
รัฐที่ใช้อานาจอธิปัตย์ของรัฐ Jure Imperri --อ้างได้
• นักกฎหมายแก้โดยใช้สญ
ั ญา waiver of immunity
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ปั ญหาเรื่องเขตอานาจศาล (Jurisdiction)
• Model waiver of immunity clause
• Waiver of immunity: …agrees that no
immunity from any proceedings (whether
injunction,
specific
performance,
damages or otherwise), from attachment
(whether in aid of execution, before
judgment or otherwise) of its assets or
from the execution of judgment shall be
claimed, any such immunity being
irrevocably waived…
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ปั ญหาเรื่องเขตอานาจศาล (Jurisdiction)
• ศาลไทยกับการแก้ปัญหาเรือ่ ง state immunity
• ฎ. ๗๒๔/๒๔๙๐ ระหว่างพระยาปรีดานฤเบศร์ โจทก์ รัฐบาล
จาเลย ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า ผูท้ ี่จะฟ้องหรือถูกฟ้องในศาลได้น้นั
จะต้องเป็ นบุคคลธรรมดาหรือนิ ติบุคคล รัฐบาลมิได้เ ป็ นนิ ติ
บุ ค คล จึง เป็ นคู่ ค วามไม่ ไ ด้ –ศาลน่ า จะใช้โ อกาสนี้ ในการ
ยืนยันหลักกฎหมายนี้
• ต้องถือว่ าหลักกฎหมายนี้ เป็ นกฎหมายไทย สัญญาระหว่ าง
รัฐ: เอกชนที่ยกร่างโดยนักกฎหมายเชี่ยวชาญพิเศษต้อ งมีขอ้
สัญญานี้เสมอ
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ปั ญหาเรื่องเขตอานาจศาล (Jurisdiction)
• สัญญาทางปกครอง กับสัญญาทางแพ่งระหว่างรัฐกั บ
เอกชน
• สัญญาทางปกครอง: ศาลปกครองเป็ นศาลที่มีอานาจ
พิ จ ารณาพิ พ ากษา, กฎหมายที่ ใ ช้บั ง คั บ คื อ หลั ก
กฎหมายมหาชน (อยูใ่ นระหว่างยกร่างเป็ นลายลักษณ์
อักษร) ปั จจุบันต้องอาศัยตัวข้อสัญญา และความคิด
กฎหมายมหาชนเช่ น หลั ก ประโยชน์ ส าธารณะ
(public interest) และ jurisprudence ของ
droit public
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ปั ญหาเรื่องเขตอานาจศาล (Jurisdiction)
• ศาลปกครอง
• คุณสมบัติ ม. ๑๓, ๑๘: ทรงคุณวุฒิทางนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์
รัฐประศาสนศาตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือในการ
บริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น , เป็ นกรรมการร่า งกฎหมาย ศาล
อัยการ อธิบดี ทนายความ อาจารย์
• Rules of the court: วิธีพิจารณาคดีปกครอง ศาลออก
เองตาม ม.๔๔ ระเบี ย บของที่ ป ระชุ ม ใหญ่ตุล าการในศาล
ปกครองสูงสุดว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๓
• ม. ๔๕ วรรคสี่ สัญ ญาทางปกครอง ให้ใ ช้เ งิ น หรื อ ส่ ง มอบ
ทรัพย์สินเสียค่า “ธรรมเนี ย มศาล” ๒.๕%
ไม่ เกิ น
๒๐๐,๐๐๐ บาท
The Central Intellectual Property and International Trade Court
กาหนดเวลาการฟ้องคดี V. อายุความ
• ม. 51 การฟ้องคดีตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ ง (3) หรื อ (4) ให้
ยื่นฟ้องภายในหนึ่ งปี นั บแต่ วันที่ร้ ู หรื อควรรู้ ถึงเหตุแห่ งการ
ฟ้องคดี แต่ ไม่ เกินสิบปี นับแต่ วันที่มีเหตุแห่ งการฟ้องคดี
• ม. 52 การฟ้องคดีปกครองที่เกี่ยวกับการคุ้มครองประโยชน์
สาธารณะหรือสถานะของบุคคลจะยื่นฟ้องคดีเมื่อใดก็ได้
• การฟ้ องคดี ป กครองที่ย่ ื น เมื่ อ พ้ น ก าหนดเวลาการฟ้ องคดี
แล้ ว ถ้ าศาลปกครองเห็นว่ าคดีท่ ีย่ ืนฟ้องนัน้ จะเป็ นประโยชน์
แก่ ส่วนรวมหรื อมีเหตุจาเป็ นอื่นโดยศาลเห็นเองหรื อคู่กรณีมี
คาขอ ศาลปกครองจะรับไว้ พจิ ารณาก็ได้
The Central Intellectual Property and International Trade Court
กาหนดเวลาการฟ้องคดี V. อายุความ
• กาหนดอายุความตาม ปพพ ๑๐ ปี ม. ๑๙๓/๓๐
• ศาลอ้างอายุความเพื่อยกฟ้องไม่ได้ ปพพ ม. ๑๙๓/๒๙
คู่ความต้องยกขึ้นต่อสู ้
• ม. ๑๙๓/๑๑ คู่กรณีตกลงงดใช้ ขยายหรือย่นไม่ได้
• กฎหมายที่ใช้บงั คับจึงมีความสาคัญ
• สัญญาทางปกครอง: สัญญาทางแพ่งระหว่างรัฐ กับ
เอกชน
The Central Intellectual Property and International Trade Court
กาหนดเวลาการฟ้องคดี V. อายุความ
• กาหนดอายุความตาม ปพพ ๑๐ ปี ม. ๑๙๓/๓๐
• ศาลอ้างอายุความเพื่อยกฟ้องไม่ได้ ปพพ ม. ๑๙๓/๒๙
คู่ความต้องยกขึ้นต่อสู ้
• ม. ๑๙๓/๑๑ คู่กรณีตกลงงดใช้ ขยายหรือย่นไม่ได้
• กฎหมายที่ใช้บงั คับจึงมีความสาคัญ
• สัญญาทางปกครอง: สัญญาทางแพ่งระหว่างรัฐ กับ
เอกชน
The Central Intellectual Property and International Trade Court
สัญญาทางปกครอง V. สัญญาทางแพ่ง
• สถานะหรื อ อ านาจที่ แ ตกต่ า งของคู่ สัญ ญาในสัญ ญาทาง
ปกครอง
• สถานะหรืออานาจที่เท่าเทียมกันตามกฎหมายแพ่ง (ปพพ)
ไม่ ไ ด้ใ ช้อ านาจรัฐ อ านาจปกครอง หรื อ ด าเนิ น กิ จ การทาง
ปกครอง
• กองเรือพาณิ ชย์นาวี ของรัฐ กระทรวงกลาโหมทาสัญญาซื้ อ
เครื่องแบบให้ทหาร สานักนายกจัดงานสโมสรสันนิษบาตโดย
ใช้ฝ่ ายจัด เลี้ ยงของดุ สิ ต ธานี กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารสร้า ง
โรงเรีย น ส านัก งานศาลปกครองเช่ า อาคารเพื่ อ จัด ตั้ง ศาล
ปกครอง
The Central Intellectual Property and International Trade Court
สัญญาทางปกครอง V. สัญญาทางแพ่ง
• การใช้อานาจรัฐ อานาจทางปกครอง หรือดาเนินกิจการทาง
ปกครอง:
หน่ วยงานทางปกครอง ราชการส่วนภูมิภาค
ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นที่ได้รบั มอบหมาย หรือ
บุคคลซึ่งกระทาการแทนรัฐ
• ลักษณะแห่งสัญญา: สัญญาสัมปทาน, จัดทาบริการสาธารณะ
, จั ด ใ ห้ มี สิ่ ง ส า ธ า ร ณู ป โ ภ ค , แ ส ว ง ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก
ทรัพยากรธรรมชาติ
• Concession, public service, public
utilities, exploitation of natural resources
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ศาลทรัพย์สินทางปั ญญาฯ: Jurisdiction
• ม. ๗ การค้า ระหว่ า งประเทศ, ทรัพ ย์สิ น ทางปั ญ ญา
(ทั้ ง ละเมิ ด สิ ท ธิ แ ละอุ ท ธรณ์ ค าสั ง่ ทางปกครอง)
อนุ ญ าโตตุล าการ, ทุ่ ม ตลาดและอุ ด หนุ น สิ น ค้า หรื อ
บริการจากต่างประเทศ anti-dumping, anti
subsidies, กักเรือ
• คุณ สมบัติ ผู พ
้ ิ พ ากษา มี ค วามรู ท้ รัพ ย์สิ น ทางปั ญ ญา
หรือการค้าระหว่างประเทศ
• ผูพ้ ิพากษา + ผูพ้ ิพากษาสมทบ (องค์คณะสามคน)
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ศาลทรัพย์สินทางปั ญญาฯ: Jurisdiction
• อุทธรณ์ไปศาลฎีกา
• มี ข ้อ ก าหนดคดี ท รัพ ย์สิ น ทางปั ญญาและการค้า ระหว่ า ง
ประเทศ
–
–
–
–
ใช้ Video conference ได้
ยืน่ บันทึกคำเบิกควำม (written statement) ได้
สำมำรถตกลงไม่ ต้องแปลเอกสำรภำษำอังกฤษ
มีผ้ พู พิ ำกษำเชี่ยวชำญเฉพำะทำง (โดยเฉพำะระบบผู้พพิ ำกษำสมทบ)
• ศาลแพ่ง ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลแพ่งธนบุรี ศาลจังหวัด
The Central Intellectual Property and International Trade Court
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าที่
ระหว่างศาล
• ความคิด tribunal des conflits ของฝรั ่งเศส
• จัดตัง้ ขึ้นตาม รธน ม. ๒๔๘
• พรบ ว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าที่ระหว่างศาล
พ.ศ. ๒๕๔๒
• ข้อ บัง คับ คณะกรรมการวิ นิ จ ฉั ย ชี้ ขาดอ านาจหน้า ที่
ระหว่างศาล ว่าด้วยวิธีการเสนอเรื่อง การพิจารณาและ
วินิจฉัย พ.ศ. ๒๕๔๔
The Central Intellectual Property and International Trade Court
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าที่
ระหว่างศาล
• ศาลยุตธิ รรม ศาลปกครอง ศาลทหาร
• คณะกรรมการ ประธานศาลฎีกา เป็ นประธาน ประธานศาล
ปกครองสูงสุด หัวหน้าสานักตุลาการทหาร และผูท้ รงคุ ณวุฒิ
อีกสี่คน (รวม ๗ คน)
• นายอรรถนิติ ดิษฐอานาจ มล. เฉลิมชัย เกษมสันต์
• นายอักขราทร จุฬารัตน นายโภคิน พลกุล
• พลโทสมัยรบ สุทธิวาทนฤพุฒิ พลโทอาชวัน อินทรเกสร
• นายพรชัย รัศมีแพทย์
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ข้อสัญญาอนุญาโตตุลาการในสัญญาทาง
ปกครอง
• มำตรำ ๑๕ ในสัญญาระหว่ างหน่ วยงานของรั ฐกับ
เอกชนไม่ ว่ า เป็ นสั ญ ญาทางปกครองหรื อ ไม่ ก็ ต าม
คู่สั ญ ญาอาจตกลงให้ ใ ช้ วิธีก ารอนุ ญ าโตตุ ล าการใน
การระงับข้ อพิพาทได้ และให้ สัญญาอนุญาโตตุลาการ
ดังกล่ าวมีผลผูกพันคู่สัญญา
• เป็ นบทบัญ ญั ติพิเศษเฉพาะที่มีในกฎหมายไทยเพื่ อ
แก้ ปัญหา abitrability ของสัญญาทางปกครอง
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ข้อสัญญาอนุญาโตตุลาการในสัญญาทาง
ปกครอง
•
•
•
•
วิธีพจิ ำรณำคดีอนุญำโตตุลำกำรในสั ญญำทำงปกครอง
ข้ อบังคับอนุญำโตตุลำกำรต้ อง address ปัญหำนี้
บทบำทในกำร “ไต่ สวน” (Inquisitorial) มำกขึน้
ใช้ หรื อ อิ ง หลั ก “กฎหมำยมหำชน” มำกขึ้น เช่ น หลั ก
public interest, หลักในพรบว่ ำด้ วยข้ อสั ญญำที่ไม่ เป็ นธรรม
พศ ๒๕๔๐ ม. ๔ สั ญญำสำเร็จรู ปทีใ่ ห้ เปรียบอีกฝ่ ำยหนึ่งเกิน
สมควร ให้ บังคับเท่ ำที่เป็ นธรรมและพอสมควรแก่ กรณี
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ข้อสัญญาอนุญาโตตุลาการในสัญญาทาง
ปกครอง
• ฝ่ ำยรั ฐอำจตั้งอนุญำโตตุลำกำรที่มีพนื้ ทำงกฎหมำยมหำชน
มำกขึน้
• เช่ นอำจตั้งจำกสำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ แทนที่ จะ
เป็ นสำนักทีป่ รึกษำ สำนักงำนอัยกำรสู งสุ ด?
• ตัวอย่ ำงควำมคิดที่ต่ำงกันของนักกฎหมำยสองสำขำ หลัก
competence de la competence กับหลัก no one can be a
judge of his/her own cause
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิบตั ิ
ตามคาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ พ.ศ.
๒๕๔๔
• ข้อ ๕ หน่ วยงานของรัฐพึงปฏิบตั ิตามคาชี้ ขาด เว้นแต่ คาชี้ ขาดไม่
ชอบด้วยกฎหมายที่ ใช้บังคับ เกิดจากการกระทาหรือวิธี การไม่
ชอบ หรือมิได้อยูใ่ นขอบแห่งสัญญาอนุ ญาโตตุลาการ
• กรณี ต ามข้อ ๕ ให้ห น่ ว ยงานของรัฐ แจ้ง การปฏิ เ สธแก่ คู่ ก รณี
ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วนั ที่ได้รบั สาเนาคาชี้ ขาด
• ห า ก มี เ ห ตุ ค ว ร ส ง สั ย ใ ห้ ส่ ง ส า เ น า พ ร้ อ ม ค า ชี้ แ จ ง ใ ห้
กระทรวงการคลังเพื่อขอความเห็นภายใน ๑๕ วัน
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิบตั ิ
ตามคาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ พ.ศ.
๒๕๔๔ (ต่อ)
• ข้ อ ๙ ในคดี บั ง คั บ ตามค าชี้ ขาด หน่ วยงานของรั ฐ อาจ
ประนี ประนอมยอมความในศาลได้
• ข้อ ๑๑ Special
Treatment
for
MIGA
(Convention Establishing the Multilateral
Investment Guarantee Agency) สถาบันประกันการ
ลงทุนพหุภาคี
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิบตั ิ
ตามคาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ พ.ศ.
๒๕๔๔ (ต่อ)
• ข้อ ๑๑ Special
Treatment
for
MIGA
(Convention Establishing the Multilateral
Investment Guarantee Agency) สถาบันประกันการ
ลงทุนพหุภาคี
• เมื่ออนุ ญาโตตุลาการมีคาชี้ ขาด ให้หน่ วยงานของรัฐทาการเบิก
จ่ายเงินตามคาชี้ ขาดโดยเร็ว มิให้นาข้อ ๕, ๖, ๗, ๘ (กรณีเห็น
แย้งกับคาชี้ ขาด) มาใช้
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิบตั ิ
ตามคาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ พ.ศ.
๒๕๔๔ (ต่อ)
• ให้กระทรวงการคลังส่งเรื่องให้ “คณะกรรมการพิจารณาคาชี้ ขาด
ของอนุ ญาโตตุลาการ” เพื่อพิจารณาให้ความเห็นโดยไม่ชกั ช้า
• องค์ป ระกอบ ผู้แ ทนกระทรวงการคลัง (ประธานกรรมการ)
ผูแ้ ทนสานั กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และผูแ้ ทนสานั ก งาน
อัยการสูงสุด เป็ นกรรมการ อธิบดีกรมบัญชีกลางแต่งตั้ งผูแ้ ทน
เป็ นเลขานุ การ
• คณะกรรมการพิจารณาเสร็จภายใน ๓๐ วัน
• ให้หน่ วยงานของรัฐพิจารณาและสัง่ ภายใน ๓๐ วัน
The Central Intellectual Property and International Trade Court
กฎหมายอื่นที่ส่งเสริมระบบอนุญาโตตุลาการไทย
• พรฎ. ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร
• พรฎ. กาหนดงานในอาชีพและวิชาชีพที่หา้ มคนต่างด้าวทา
– ให้คนต่างด้าวเป็ นอนุญาโตตุลาการ
– ให้คนต่างด้าวสามารถว่าต่างแก้ต่างในชั้นอนุญาโตตุลาการ ถ้ากฎหมายที่ใช้
บังคับแก่ขอ้ พิพาทนั้นไม่ใช่กฎหมายไทย
• ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยคาชี้ ขาดของอนุ ญาโตตุลาการ
The Central Intellectual Property and International Trade Court
พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวล
รัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่
๓๗๔) พ.ศ. ๒๕๔๓
• สาระสาคัญ “ยกเว้นอากรแสตมป์ ให้แก่อนุ ญาโตตุลาการในเรื่อง
ตราสารคาชี้ ขาดของอนุ ญาโตตุลาการ”
• กฎหมายเดิม (ข้อ ๒๒ บัญชีอากรแสตมป์ ท้ายหมวด ๖ ลักษณะ ๒
ประมวลรัษฎากร) คาชี้ ขาดต้องปิ ดอากรแสตมป์ ร้อยละ ๐.๑ ของ
ทุนทรัพย์พิพาท
• ทาให้เกิดข้อแตกต่างระหว่างคาชี้ ขาดในและต่างประเทศ เทียบ
อากรแสตมป์ หนังสือมอบอานาจ (Power of Attorney)
The Central Intellectual Property and International Trade Court
พระราชกฤษฎีกากาหนดงานในอาชีพและ
วิชาชีพที่หา้ มคนต่างด้าวทา (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.
๒๕๔๓
• (๓๙) บัญชีทา้ ยพระราชกฤษฎีกากาหนดงานในอาชีพฯพ.ศ.
๒๕๒๒ ตามที่ได้แก้ไขใหม่
• (๓๙) งานให้บริการทางกฎหมายหรืออรรถคดี ยกเว้น
(ก) งานปฏิบตั ิหน้าที่อนุ ญาโตตุลาการ
(ข) งานว่าต่างแก้ต่างในชั้นอนุ ญาโตตุลาการ ถ้ากฎหมาย
ซึ่งใช้บงั คับแก่ขอ้ พิพาทที่พิจารณาโดยอนุ ญาโตตุลาการนั้ นมิใช่
กฎหมายไทย หรื อ เป็ นกรณี ที่ ไ ม่ ต ้อ งขอบัง คั บ ค าชี้ ขาด ของ
อนุ ญาโตตุลาการนั้นในราชอาณาจักรไทย
The Central Intellectual Property and International Trade Court
“It is almost a truism to state that
arbitration is better than litigation,
conciliation better than arbitration,
and prevention of legal disputes better
than conciliation”.
Clive Schmitthoff
Export Trade, The Law and
Practice of International Trade
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ARBITRATION
• New York Convention for the Recognition
and Enforcement of Foreign Arbitral
Awards 1958 (The New York Convention
1958)
• The UNCITRAL Model Law on Arbitration
1985
• ICSID Convention 1965
The Central Intellectual Property and International Trade Court
ARBITRATION ACT 2002
• UNCITRAL Model Law compliant
• Treat domestic and foreign arbitration on
the same footing (under New York regime)
• Allow practice of foreign arbitrators in
Thailand
• Promote Bangkok as a new venue for
international commercial arbitration
The Central Intellectual Property and International Trade Court
หลักการใหม่ใน พรบ. อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545
• แก้ไขปั ญหาทางปฏิบตั ิในการใช้พระราชบัญญัติ
อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2530
• สร้างมาตรฐานกฎหมายอนุญาโตตุลาการไทยให้ทดั เทียมกับ
นานาอารยประเทศ
• ส่งเสริมกระบวนการระงับข้อพิพาทโดยวิธีอนุญาโตตุลาการใน
ประเทศไทย
• ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางด้านการอนุญาโตตุลาการ
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
The Central Intellectual Property and International Trade Court
สาระสาคัญของ พรบ. อนุญาโตตุลาการ
2545 (ต่อ)
• ยกเลิกความแตกต่างของการบังคับคาชี้ขาดในประเทศ
(Domestic) และต่างประเทศ (Foreign)
• กาหนดอานาจของศาลในการตรวจสอบคาชี้ขาด (ม 9,
45 วรรคสอง)
• ส่งเสริมและสนับสนุนสถาบันที่จดั ตัง้ ขึ้ นเพื่อดาเนิ นการ
ระงับข้อพิพาทโดยวิธีอนุญาโตตุลาการ (ม. 47)
The Central Intellectual Property and International Trade Court
สาระสาคัญของ พรบ. อนุญาโตตุลาการ 2545
(ต่อ)
• กาหนดให้มีขอ้ สัญญาอนุญาโตตุลาการในสัญญาทาง
ปกครองได้ (ม.15)
• กาหนดเขตอานาจศาลตามพระราชบัญญัติน้ ี (ม. 9,
45)
– ศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศ
– ศาลปกครอง
– ศาลที่มีการพิจารณาชัน้ อนุญาโตตุลาการ
The Central Intellectual Property and International Trade Court
สาระสาคัญของ พรบ. อนุญาโตตุลาการ 2545
• กาหนดความรับผิ ดของอนุญาโตตุลาการ (แพ่ง จงใจ
ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ม. 23 วรรคแรก อาญา ม.
23 วรรคสอง)
• กาหนดให้ศาลสามารถขยายระยะเวลาในพิจารณาเพื่อ
บังคับหรือเพิกถอนคาชี้ขาด
• แก้ไขปั ญหาทางตันการกระบวนการแต่งตัง้
อนุญาโตตุลาการ
The Central Intellectual Property and International Trade Court
สาระสาคัญของ พรบ. อนุญาโตตุลาการ
2545 (ต่อ)
• กาหนดกฎหมายที่ให้อนุ ญาโตตุลาการเลื อกใช้ (ม.
๓๔ เทียบพรบ. ว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ.
๒๔๘๑ ม. ๑๓)
• กาหนดว่าสัญญาอนุญาโตตุลาการนอกจากจะมี
หลักฐานเป็ นหนังสือแล้ว ยังอาจรวมถึงหลักฐานอื่น
ๆ ที่เกิดจากสื่ ออิเล็ กทรอนิ กส์ (ดูพรบ. ธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิ กส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ ม. ๓, ๗, ๘, ๙)
The Central Intellectual Property and International Trade Court
สาระสาคัญของ พรบ. อนุญาโตตุลาการ
2545 (ต่อ)
• Service of Process ม. ๗
• ข้อสัญญาอนุ ญาโตตุลาการ สภาพบังคับ (ม. ๑๔)
• การตีความที่เคร่งครัดของศาล(๙๔๕/๙๘, ๔๙/๐๒, ๓๔๒๙/
๓๐)
• ข้อต่อสูก้ บั ความพยายามให้ศาลตีความโดยเคร่งครัด ปพพ. ม.
๑๐, ๑๗๑, ๓๖๘)
• แต่ผคู้ ดั ค้านให้ดู พรบ ว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็ นธรรม ๒๕๔๐ ม.
๓, ๔, ๑๐)
The Central Intellectual Property and International Trade Court
สาระสาคัญของ พรบ. อนุญาโตตุลาการ
2545 (ต่อ)
• กาหนดให้ค่สู ญ
ั ญาอาจยื่ นคาร้องต่อศาลให้ใช้
วิธีการคุม้ ครองชัว่ คราวก่อนหรือขณะมีการ
ดาเนิ นการอนุญาโตตุลาการ (ม. ๑๖) คาสัง่ มีผล
๓๐ วัน (วรรคสอง)
• ปั ญหาคุม้ ครองชัว่ คราวก่อนฟ้อง และการโต้แย้ง
สิทธิ cf. preventive injuction เทียบวิ
แพ่ง ม. ๕๕ (การโต้แย้งสิทธิ อานาจฟ้อง)
The Central Intellectual Property and International Trade Court
สาระสาคัญของ พรบ. อนุญาโตตุลาการ
2545 (ต่อ)
• คัดค้านคาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ (ขอเพิกถอน ม.
40 set aside, Challenge of the Award)
• กาหนดห้ามอุทธรณ์คาสัง่ หรือคาพิพากษาของศาลเว้นแต่
เข้าข้อยกเว้น 5 ประการ (ม. 45)
• กาหนดให้อุทธรณ์คาสัง่ หรือคาพิพากษาต่อศาลฎีกาหรือ
ศาลปกครองสูงสุด (ม. 45 วรรคสอง)
The Central Intellectual Property and International Trade Court
สาระสาคัญของ พรบ. อนุญาโตตุลาการ
2545 (ต่อ)
• อนุ ญาโตตุลาการเป็ นเลขคี่ ม. ๑๗ วรรคหนึ่ ง
• เป็ นกลางและอิสระ เปิ ดเผยข้อเท็จจริงซึ่งอาจเป็ นเหตุอนั ควร
สงสัยในความเป็ นกลางและอิสระ (ม. ๑๙)
• อนุ ญาโตตุลาการฝ่ าย (party-appointed arbitrator)
กับปั ญหาความเป็ นกลาง
• พนักงานอัยการกับความเป็ นกลางในฐานะอนุ ญาโตตุลาการ
• จริยธรรมอนุ ญาโตตุลาการ (Code of Conduct)
• การคัดค้านอนุ ญาโตตุลาการ (Challenge) ม. ๒๐
The Central Intellectual Property and International Trade Court
สาระสาคัญของ พรบ. อนุญาโตตุลาการ
2545 (ต่อ)
• ยอมรับหลัก competence de la competence และหลัก
Separability (ม. 24)
• ยอมรับหลัก set aside (ภายในเก้าสิบวัน ม. 40 เหตุ 7 ประการ)
• เปลี่ยนระยะเวลาการขอบังคับใหม่เป็ นสามปี ม. 42 วรรคแรก
• ยอมรับหลัก ex parte proceedings, Default (ม. 31 (2)
(3))
• ยอมรับหลัก amiable composition, amiable
compositeur, ex aequo et bono (ม. 34 วรรคสาม)
The Central Intellectual Property and International Trade Court
สาระสาคัญของ พรบ. อนุญาโตตุลาการ
2545 (ต่อ)
• คาพิพากษาศาลฎีกาที่ใกล้กบั การยอมรับหลัก ex aequo et
bono มากที่สุดคือ คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๘๒๔๔/๒๕๔๒ (คา
ชี้ ขาดข้อพิพาทเกี่ยวกับมรดกของหม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุ ค ล
ระหว่าง หม่อมเจ้าธิติพนั ธุ ์ ยุคล ผูเ้ รียกร้อง และพลตรีพระเจ้าว
รวงศ์เธอพระองค์เจ้า ภานุ พันธุ ์ ยุ ค ล ผูค้ ัด ค้า น) –นายสัญญา
ธรรมศั ก ดิ์ - พลต ารวจตรี อ รรถสิ ท ธิ์ สิ ท ธิ สุ น ทร- พลเรื อ ตรี
หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช อนุ ญาโตตุลาการ)
• ปพพ ม. ๘๕๑ พรบอนุ ญาโตฯ (๒๕๓๐) ม. ๓๔ วรรคสาม
The Central Intellectual Property and International Trade Court
คาชี้ขาดและผลของคาชี้ขาด
•
•
•
•
•
•
แก้ไขข้อผิดพลาด ผิดหลงเล็กน้อย ม. ๓๙ (๑)
ตีความ อธิบายคาชี้ ขาด ม. ๓๙ (๒)
คัดค้านคาชี้ ขาด ม. ๔๐ (๑) (ก) – (จ) ห้าสาเหตุ
คัดค้านคาชี้ ขาด ม. ๔๐ (๒) (ก) (ข) สองสาเหตุ
ปฏิเสธการบังคับตามคาชี้ ขาด ม. ๔๓ (๑) – (๖)
ปฏิเสธการบังคับตามคาชี้ ขาด ม. ๔๔ สองสาเหตุ
The Central Intellectual Property and International Trade Court
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
คาชี้ขาดและผลของคาชี้ขาด
คัดค้านคาชี้ ขาด ม. ๔๐ (๑) (ก) – (จ) ห้าสาเหตุ
คัดค้านคาชี้ ขาด ม. ๔๐ (๒) (ก) (ข) สองสาเหตุ
ปฏิเสธการบังคับตามคาชี้ ขาด ม. ๔๓ (๑) – (๖)
ปฏิเสธการบังคับตามคาชี้ ขาด ม. ๔๔ สองสาเหตุ
คูส่ ญ
ั ญาบกพร่องในเรื่องความสามารถ
สัญญาไม่มีผลผูกพัน
ไม่ได้แจ้ง ไม่สามารถต่อสูค้ ดีได้เพราะเหตุอื่น
เกินขอบเขตแห่งสัญญา
องค์ประกอบหรือกระบวนพิจารณาอนุ ญาโตฯมิได้เป็ นไปตามที่ตกลง
คาชี้ ขาดถูกเพิกถอนแล้ว
The Central Intellectual Property and International Trade Court
เหตุอุทธรณ์คาสั ่งหรือคาพิพากษา
•
•
•
•
•
•
•
มี ๕ เหตุ ตาม ม. ๔๕
(๑) คาชี้ ขาดขัดต่อความสงบเรียบร้อย
(๒) คาสัง่ ฯฝ่ าฝื นกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย
(๓) คาสัง่ ฯไม่ตรงกับคาชี้ ขาด
(๔) ผูพ้ ิพากษาหรือตุลาการทาความเห็นแย้ง
(๕) คาสัง่ เกี่ยวด้วยวิธีการชัว่ คราว
วรรคสอง อุทธรณ์ไปยังศาลฎีกา หรือศาลปกครองสูงสุด
The Central Intellectual Property and International Trade Court
พรบ. อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. ๒๕๔๕ มีผล
ย้อนหลังหรือไม่ อย่างไร
• การมีผลใช้บงั คับ ถัดจากวันประกาศในราชกิจจาฯ (ม. ๒)
• ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๔๕ มีผลใช้
บังคับวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๔๕
• บทเฉพาะการ ม. ๔๘ ไม่กระทบความสมบูรณ์แห่งสัญญา และ
การดาเนิ นการทางอนุญาโตฯที่ได้ทาไปก่อน ถ้ายังมิได้ทาและยัง
ไม่ล่วงพ้นกาหนดเวลาตามกฎหมายเก่า ให้ดาเนิ นการได้ภายใน
กาหนดเวลาตามกฎหมายใหม่
The Central Intellectual Property and International Trade Court
พรบ. อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. ๒๕๔๕ มีผล
ย้อนหลังหรือไม่ อย่างไร
• บทเฉพาะการ ม. ๔๘ ไม่กระทบความสมบูรณ์แห่งสัญญา และการ
ดาเนิ นการทางอนุ ญาโตฯที่ได้ทาไปก่อน ถ้ายังมิได้ทาและยังไม่ล่วงพ้น
กาหนดเวลาตามกฎหมายเก่า ให้ดาเนิ นการได้ภายในกาหนดเวลาตาม
กฎหมายใหม่
• กม.เก่ า การบัง คับ ตามค าชี้ ขาดอนุ ญ าโตตุ ล าการต้อ งยื่ น ค าร้อ งขอ
ภายใน หนึ่ งปี นับแต่วนั ส่งสาเนาคาชี้ ขาดให้ฝ่ายที่ ตอ้ งถูกบังคับ ม. ๒๓,
๓๐
• กม. ปั จจุบนั สามปี นับแต่วนั ที่อาจบังคับตามคาชี้ ขาด ม. ๔๒ ดังนัน้ หาก
มิ ไ ด้บ งั คับ ค าชี้ ขาดภายในวัน ที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๔๕ (วัน ที่ ก ฎหมาย
ปั จจุบนั มีผลใช้บงั คับ) และในวันดังกล่าวยังไม่ครบกาหนดหนึ่ งปี นับแต่ส่ง
สาเนาคาชี้ขาด ก็ให้ใช้กาหนดระยะเวลาใหม่คือสามปี นับแต่อาจบังคับได้
The Central Intellectual Property and International Trade Court
พรบ. อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. ๒๕๔๕ มีผล
ย้อนหลังหรือไม่ อย่างไร
• บทเฉพาะการ ม. ๔๘ ไม่กระทบความสมบูรณ์แห่งสัญญา และ
การดาเนิ นการทางอนุญาโตฯที่ได้ทาไปก่อน ถ้ายังมิได้ทาและยัง
ไม่ล่วงพ้นกาหนดเวลาตามกฎหมายเก่า ให้ดาเนิ นการได้ภายใน
กาหนดเวลาตามกฎหมายใหม่
• กม.เก่า ไม่มีบทให้เพิกถอนคาชี้ขาด แต่กฎหมายใหม่มี
• แต่ตาม ม. ๔๐ การขอให้เพิ กถอนคาชี้ ขาด (set aside)
ต้องขอภายใน ๙๐ วันนับแต่วนั ได้รบั สาเนาคาชี้ขาด
The Central Intellectual Property and International Trade Court
พรบ. อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. ๒๕๔๕ มีผล
ย้อนหลังหรือไม่ อย่างไร
• ตามปกติกฎหมายวิธีพิจารณาความมีผลย้อนหลัง เพราะเป็ นประโยชน์กบั
คู่ความ อย่างไรก็ตาม ต้องพิจารณาเป็ นเรื่องๆไป
• ความรับผิดทางอาญาของอนุ ญาโตตุลาการ (ม. ๒๓)ไม่มีผลย้อนหลัง
(รธน ม. ๓๒ ปอ.ม. ๒)
• ความรับผิดทางแพ่งตาม ม. ๒๓ วรรคแรกมีผลย้อนหลัง เพราะน่ าจะถือ
เป็ นบทบัญญัติสร้างความคุม้ กัน (immunity) เพราะให้รบั ผิดเฉพาะ
จงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง คือ มาตรฐานยกเว้นการประมาท
เลินเล่ออย่างธรรมดา ตาม ปพพ ๔๒๐
The Central Intellectual Property and International Trade Court
Thank YOU
• FOR COMMENTS PLEASE CONTACT:
[email protected]