โรงงานหลอมโลหะที่มีกำลังการผลิตตั้งแต่ 50 ตันต่อวันขึ้นไป

Download Report

Transcript โรงงานหลอมโลหะที่มีกำลังการผลิตตั้งแต่ 50 ตันต่อวันขึ้นไป

ข้ อเสนอต่ อกิจกรรมในลำดับที่ 8
โรงงำนถลุงหรือหลอมโลหะ รวมเหล็กหรือเหล็กกล้ำ ที่มีกำลังกำรผลิตตั้งแต่ 50 ตันต่ อวันขึน้ ไป
นำยสำธิต เทอดเกียรติกลุ ([email protected])
กรมอุตสำหกรรมพืน้ ฐำนและกำรเหมืองแร่ อก.
26 มีนำคม 2553
ขอบเขตหัวข้อการนาเสนอ
โรงงำนหลอมโลหะทีม่ ีกำลังกำรผลิตตั้งแต่ 50 ตันต่ อวันขึน้ ไป

โดยเพิ่มเติมจากการนาเสนอในการประชุม คณะอนุกรรมการรับฟังความคิดเห็นของ
ประชาชน ครั้งที่ 1-4 ที่มีผแู ้ ทนจากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
อก. มานาเสนอแล้วในขอบเขตต่อไปนี้
–
–
โรงงำนถลุงโลหะ
โรงงำนเหล็กหรือเหล็กกล้ ำ
ซึ่ งจะไม่เน้นในการนาเสนอในครั้งนี้
กรณีกำรหลอมโลหะตะกัว่ ทีม่ ีกำลังกำรผลิตตั้งแต่ 50 ตันต่ อวันขึน้ ไป
(เห็นด้ วยกับกำรถูกจัดอยู่ในโครงกำร/กิจกรรมที่ “อำจรุ นแรง” ของ อนุHIA)
1.
เนื่องจากตะกัว่ เป็ นโลหะมีพิษ และไอตะกัว่ สามารถรวมกับฮีโมโกลบิน
ในกระแสเลือดได้อย่างรวดเร็ ว จึงควรมีกระบวนการจัดการสิ่ งแวดล้อมที่
ค่อนข้างดีเป็ นพิเศษ เมื่อเทียบกับการหลอมโลหะอื่นๆ มิฉะนั้นอาจ
ก่อให้เกิดผลกระทบด้านอาชีวอนามัยได้สาหรับพนักงาน สังคม และ
ชุมชนล้อมรอบ ดังนั้นการจัดทา HIA เพิ่มขึ้นมาจาก EIA จึงค่อนข้างมี
ความจาเป็ น
2.
สาหรับอุตสาหกรรมหลอมโลหะตะกัว่ จากเศษแบตเตอรี่ ได้รับการตีความตาม
กฤษฎีกาให้ถือว่าเป็ นการประกอบโลหกรรมตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ.2510ประเภท
หนึ่ง* ซึ่งอยูภ่ ายใต้การกากับดูแลของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ใน
ปัจจุบนั นอกจากรายงานการติดตามผลกระทบสิ่ งแวดล้อมแล้ว โรงงานในกลุ่มนี้ตอ้ ง
แสดงผลวิเคราะห์ตะกัว่ ในเลือด/ปัสสาวะทุกๆระยะ 3 เดือน
* -การถลุงโลหะตะกัว่ แบบทุติยภูมิ หรื อ Secondary Lead Smelting
-การผลิตเหล็กกล้าไม่วา่ จะมีปริ มาณการผลิตขนาดใด ถูกจัดเป็ นการประกอบโลหกรรมตามพ.ร.บ.แร่ เช่นเดียวกัน
กรณีกำรหลอมโลหะอืน่ ทีม่ ีกำลังกำรผลิตตั้งแต่ 50 ตันต่ อวันขึน้ ไป
(ไม่ เห็นด้ วยกับกำรถูกจัดอยู่ในโครงกำร/กิจกรรมที่ “อำจรุ นแรง” ของ อนุHIA)
1.
เนื่องจากเป็ นการนาเศษโลหะที่ค่อนข้างบริ สุทธิ์ มาหลอม หรื อมาหลอม
ซ้ า โดยไม่มีข้ นั ตอนการทาให้บริ สุทธิ์ เพื่อให้ได้เนื้อโลหะที่มีเปอร์เซ็นต์
สู งขึ้นซึ่ งจะไม่ก่อให้เกิดกากตะกรัน น้ าเสี ย และฝุ่ นควัน ในปริ มาณมาก
ดังเช่นในการถลุงแร่ โลหะ ที่มีของเสี ยค่อนข้างสู งเนื่องจากดิน หิ น และ
สารมลทินที่เจือปนมาในแร่ และวัตถุดิบ ดังนั้นกระบวนการจัดการ
สิ่ งแวดล้อมจากกระบวนการผลิตให้มีความสะอาดและปลอดภัยมักทาได้
ไม่ยากสาหรับโรงงานหลอมโลหะทัว่ ไป
2.
ในกรณี ของกิจกรรม/โครงการอุตสาหกรรมหลอมโลหะที่มีขนาดใหญ่ข้ ึน
(เหล็ก 100 ตันต่อวัน โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก 50 ตันต่อวัน)* จะต้องจัดทารำยงำน
กำรวิเครำะห์ ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อมประกอบการขออนุญาต โดยจะต้องได้รับ
ความเห็นชอบจากสผ.ก่อนการก่อสร้างโรงงาน โดยสผ. อาจกาหนดเพิ่มเติม
มำตรกำรตรวจสอบคุณภำพสิ่ งแวดล้ อม และมำตรกำรป้ องกันและแก้ ไข
ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อมตามความเหมาะสม ดังนั้นจึงค่อนข้างเพียงพอต่อการ
จัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เพื่อไม่ให้กระทบต่อสังคมและ
สิ่ งแวดล้อม
* พรบ.ส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 (ม.46-ม.51)
และบัญชีแนบท้ายประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลวท.24 ส.ค. 2535
3.
เท่าที่ผา่ นมาในอดีต นับตั้งแต่มีการออกใบอนุญาตประกอบโลหกรรม
ตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 เป็ นต้นมาจนถึงปัจจุบนั ยังไม่เคย
มีปัญหาการร้องเรี ยนผลกระทบที่รุนแรง จากกาก น้ าเสี ย ฝุ่ น ควัน และ
เสี ยง จากกระบวนการผลิตโลหะซึ่ งอยูภ่ ายใต้การกากับดูแล
(ยกเว้นกรณี ของการสั่งให้หยุดการผลิตเพื่อทาการแก้ไข 1 ครั้งของกำร
ถลุงแร่ ตะกัว่ ซึ่ งอยูภ่ ายใต้ขอบเขตการนาเสนอในการประชุม
คณะอนุกรรมการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งก่อนๆ )
ขอบคุณครับ