ภาคทบทวน (ครัง้ ที่ ๒) กฎหมายฟื น้ ฟูกิจการ อ.วิรัตน์ วิศิษฏ์ วงศกร สภาวะพักการบังคับชาระหนี้ (ต่ อ) (๙) ห้ามมิให้ลกู หนี้จาหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า ชาระหนี้ ก่อหนี้ หรื อกระทา การใด.

Download Report

Transcript ภาคทบทวน (ครัง้ ที่ ๒) กฎหมายฟื น้ ฟูกิจการ อ.วิรัตน์ วิศิษฏ์ วงศกร สภาวะพักการบังคับชาระหนี้ (ต่ อ) (๙) ห้ามมิให้ลกู หนี้จาหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า ชาระหนี้ ก่อหนี้ หรื อกระทา การใด.

ภาคทบทวน (ครัง้ ที่ ๒)
กฎหมายฟื น้ ฟูกิจการ
อ.วิรัตน์ วิศิษฏ์ วงศกร
สภาวะพักการบังคับชาระหนี้ (ต่ อ)
(๙) ห้ามมิให้ลกู หนี้จาหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า ชาระหนี้ ก่อหนี้ หรื อกระทา
การใด ๆ ที่ก่อให้เกิดภาระในทรัพย์สิน นอกจากเป็ นการกระทาที่จาเป็ นเพื่อให้
การดาเนินการค้าตามปกติของลูกหนี้สามารถดาเนินต่อไปได้ เว้นแต่ศาลที่รับคา
ร้องขอจะมีคาสั่งเป็ นอย่างอื่น)
คาพิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลหรื อคาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการที่ขดั หรื อ
แย้งกับบทบัญญัติในอนุมาตราหนึ่ งอนุมาตราใดของวรรคหนึ่ ง ไม่มีผลผูกพัน
ลูกหนี้

การออกคาสัง่ ของนายทะเบียนหุ น้ ส่ วนบริ ษทั นายทะเบียนนิติบุคคลที่
เกี่ยวข้อง หรื อผูม้ ีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับนิติบุคคลซึ่ งเป็ นลูกหนี้ การทานิติกรรม
หรื อการชาระหนี้ใด ๆ ที่ขดั หรื อแย้งกับบทบัญญัติในอนุมาตราหนึ่ งอนุมาตราใด
ของวรรคหนึ่ง การนั้นเป็ นโมฆะ (มาตรา ๙๐/๑๒ วรรคสามและวรรคสี่ )

การพิจารณาตั้งผู้ทาแผน


กรณี ศาลมีคาสัง่ อนุญาตให้ฟ้ื นฟูกิจการแล้ว ศาลจะมีคาสัง่ ตั้งผูท้ า
แผนด้วยก็ต่อเมื่อ
๑. เห็นว่าบุคคลที่ผรู ้ ้องขอเสนอเป็ นผูท้ าแผนสมควรเป็ นผูท้ าแผน
และ
๒.ไม่มีผคู ้ ดั ค้านเสนอบุคคลอื่นเป็ นผูท้ าแผนด้วย
มิฉะนั้นให้ศาลมีคาสัง่ ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เรี ยกประชุมเจ้าหนี้
โดยเร็ วที่สุดเพื่อพิจารณาเลือกผูท้ าแผน (มาตรา ๙๐/๑๗ วรรคหนึ่ง)
การบริ หารกิจการก่อนศาลมีคาสัง่ ตั้งผูท้ าแผน


นับแต่ศาลมีคาสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการของลูกหนี้ โดยยังไม่มีคาสัง่ ตั้ง
ผูท้ าแผน อานาจจัดการกิจการและทรัพย์สินของผู้บริหารของลูกหนี้
สิ้นสุ ดลง และให้ศาลแต่งตั้งผูบ้ ริ หารชัว่ คราว บริ หารกิจการและ
ทรัพย์สินภายใต้การกากับดูแลของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์จนกว่าจะมีการ
ตั้งผูท้ าแผน ซึ่งผูบ้ ริ หารชัว่ คราวอาจเป็ นผูบ้ ริ หารของลูกหนี้กไ็ ด้
(มาตรา ๙๐/๒๐)
“ผูบ้ ริ หารของลูกหนี้” หมายถึง กรรมการ ผูจ้ ดั การ หรื อผูม้ ีอานาจ
ดาเนินกิจการของลูกหนี้อยูใ่ นวันที่ศาลมีคาสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการ
(มาตรา ๙๐/๑)
- คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๖๘๕๘/๒๕๔๖
คดีนีเ้ มื่อผู้ร้องขอเสนอให้ ตั้งบริ ษทั บ. เป็ นผู้ทำแผน ส่ วนลูกหนีเ้ สนอ
ให้ ตั้งบริ ษทั ป. เป็ นผู้ทำแผนมำด้ วย ศำลจึงไม่ อำจพิจำรณำและมี
คำสั่งตั้งบุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็ นผู้ทำแผนในชั้นนี ไ้ ด้ จะต้ องให้ เจ้ ำ
พนักงำนพิทักษ์ ทรั พย์ เรี ยกประชุมเจ้ ำหนีโ้ ดยเร็ วที่สุด เพื่อพิจำรณำ
เลือกว่ ำบุคคลใดสมควรเป็ นผู้ทำแผน ตำม พ.ร.บ. ล้ มละลำย
ฯ มำตรำ ๙๐/๑๗ และเพื่อให้การบริ หารงานต่าง ๆ เป็ นไปอย่าง
ต่อเนื่องในระหว่างดาเนินการตั้งผูท้ าแผน จึงสมควรตั้งผูบ้ ริ หารของ
ลูกหนี้เป็ นผูบ้ ริ หารชัว่ คราว ตามมาตรา ๙๐/๒๐ วรรคหนึ่ง
- คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๕๔๑๔-๕๔๑๕/๒๕๔๗
ผูร้ ้องเป็ นกรรมการของลูกหนี้อยูใ่ นวันที่ศาลมีคาสัง่ ให้
ฟื้ นฟูกิจการจึงอยูใ่ นฐานะผูบ้ ริ หารของลูกหนี้ตามบท
นิยาม มาตรา ๙๐/๑ เมื่อศาลมีคาสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการของลูกหนี้
แล้ว อานาจในการจัดการกิจการและทรัพย์สินของผู้บริหารของลูกหนี้
ย่ อมสิ้นสุ ดลง ตามบทบัญญัติในมาตรา ๙๐/๒๐ วรรคหนึ่ง (ผูบ้ ริ หาร
ชัว่ คราว) มาตรา ๙๐/๒๕ (ผูท้ าแผน) และมาตรา ๙๐/๕๙ วรรค
หนึ่ง (ผูบ้ ริ หารแผน) แต่คาสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการ มิ ได้ ทาให้ สถานะ
ผู้บริหารของลูกหนีส้ ิ้นสุ ดไปแต่อย่างใด เป็ นแต่เพียงให้มีการพักการ
ใช้อานาจในการบริ หารจัดการกิจการและทรัพย์สินของลูกหนี้ใน
ระหว่างการฟื้ นฟูกิจการเป็ นการชัว่ คราวเท่านั้น ตามมาตรา ๙๐/๗๕
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๖๔๑๔/๒๕๕๕
มาตรา ๙๐/๑ บัญญัติวา่ “ในหมวดนี้ เว้นแต่ขอ้ ความจะแสดงให้
เห็นเป็ นอย่างอื่น...” เช่นนี้ หาก พ.ร.บ. ล้มละลายฯ ส่ วนที่วา่ ด้วยการฟื้ นฟู
กิจการแสดงให้เห็นเป็ นอย่างอื่นตามบทบัญญัติหรื อเจตนารมณ์ของ
บทบัญญัติน้ นั ไม่ตอ้ งนาความหมายตามบทบัญญติดงั กล่าวมาใช้บงั คับ
เมื่อการดาเนินการฟื้ นฟูกิจการ อาจมีการเปลี่ยนแปลงกรรมการ
หรื อผูม้ ีอานาจกระทาการแทนลูกหนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ หรื อเพื่อ
ความจาเป็ นในทางธุรกิจในการฟื้ นฟูกิจการ เช่นนี้ คาว่า “ผูบ้ ริ หารของ
ลูกหนี้” ตามมาตรา ๙๐/๗๔ หรื อมาตรา ๙๐/๗๕ ย่อมหมายความถึง
ผูบ้ ริ หารของลูกหนี้ในวันที่ศาลมีคาสัง่ ยกเลิกคาสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการหรื อวันที่
ศาลมีคาสัง่ ยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการ แล้วแต่กรณี
-
การประชุมเจ้าหนี้เพื่อเลือกผูท้ าแผน
(๑) ถ้าที่ประชุมเจ้าหนี้มีมติเลือกผูท้ าแผนได้ และ
๑.๑ ศาลเห็นชอบด้วย ให้ศาลตั้งบุคคลดังกล่าวเป็ นผูท้ าแผน
๑.๒ ศาลไม่เห็นชอบด้วย ศาลจะมีคาสัง่ ให้ จ.พ.ท. เรี ยกประชุม
เจ้าหนี้เพื่อพิจารณาเลือกผูท้ าแผนอีกครั้ง
(๒) ถ้าที่ประชุมเจ้าหนี้ไม่อาจมีมติเลือกผูท้ าแผนได้ และ
๒.๑ ศาลเห็นสมควรให้มีคาสัง่ ยกเลิกคาสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการ
๒.๒ ศาลยังไม่เห็นสมควรให้มีคาสัง่ ยกเลิกคาสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการ ให้
เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เรี ยกประชุมเพื่อเลือกผูท้ าแผนอีกครั้งหนึ่ง
ได้ ถ้าที่ประชุมมีมติเลือกผูท้ าแผนได้ แต่ศาลไม่เห็นชอบด้วย หรื อ
ยังคงไม่อาจมีมติเลือกผูท้ าแผนได้ ให้ศาลมีคาสัง่ ยกเลิกคาสัง่ ให้ฟ้ื นฟู
กิจการ (มาตรา ๙๐/๑๗ วรรคสามถึงวรรคห้ า)
ผลของคาสั่ งตั้งผู้ทาแผน

(๑) ให้ผบู ้ ริ หารของลูกหนี้ยนื่ คาชี้แจงเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สิน
ของลูกหนี้ต่อผูท้ าแผนภายในเวลา ๗ วัน นับแต่วนั ทราบคาสัง่ ตั้ง
ผูท้ าแผน และกาหนดเวลาดังกล่าวผูท้ าแผนขยายให้ได้ไม่เกิน ๓๐
วัน (มาตรา ๙๐/๓๔)
(๒) การยื่นคาขอรับชาระหนี้ มีหลักเกณฑ์ดงั นี้
๒.๑ เจ้าหนี้ซ่ ึงมูลหนี้เกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคาสัง่ (อนุญาต)ให้
ฟื้ นฟูกิจการ
๒.๒ มิใช่หนี้ซ่ ึงเกิดขึ้นโดยฝ่ าฝื นข้อห้ามตามกฎหมายหรื อศีลธรรม
อันดี หรื อหนี้น้ นั ไม่อาจฟ้ องร้องบังคับคดีได้ เจ้าหนี้มีสิทธิขอรับ
ชาระหนี้ได้แม้หนี้ยงั ไม่ถึงกาหนดชาระหรื อมีเงื่อนไขก็ตาม
๒.๓ เจ้าหนี้จะต้องยืน่ คาขอรับชาระหนี้ในการฟื้ นฟูกิจการของ
ลูกหนี้ภายในกาหนด ๑ เดือน นับแต่ วนั โฆษณาคาสัง่ ตั้งผูท้ าแผน
(มาตรา ๙๐/๒๖, ๙๐/๒๗)
มาตรา ๙๐/๒๗ วรรคท้าย หนี้ที่เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์หรื อผูบ้ ริ หาร
ชัว่ คราวก่อขึ้นซึ่งเกิดขึ้นตั้งแต่วนั ที่ศาลมีคาสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการจนถึงวันที่
ศาลมีคาสัง่ ตั้งผูท้ าแผน เจ้าหนี้มีสิทธิได้รับชาระหนี้โดยไม่ตอ้ งขอรับ
ชาระหนี้ในการฟื้ นฟูกิจการ แต่เจ้าหนี้ตอ้ งมีหนังสื อขอให้ผทู ้ าแผนออก
หนังสื อรับรองสิ ทธิของตนก่อนวันประชุมเจ้าหนี้เพื่อพิจารณาแผน
และผูท้ าแผนมีสิทธิปฏิเสธสิ ทธิ ของเจ้าหนี้ได้โดยทาเป็ นหนังสื อไปยัง
เจ้าหนี้ภายในสิ บสี่ วนั นับแต่วนั ที่ได้รับหนังสื อของเจ้าหนี้ มิฉะนั้น ให้
ถือว่ายอมรับสิ ทธิของเจ้าหนี้ตามที่ขอมา
มาตรา ๙๐/๒๗ วรรคท้าย (ต่อ) ถ้ าเจ้ าหนี ้มิได้ มีหนังสือขอให้ ผ้ ทู าแผน
ออกหนังสือรับรองสิทธิของตนเองหรื อผู้ทาแผนมีหนังสือปฏิเสธสิทธิ
ของเจ้ าหนี ้ภายในกาหนดเวลาดังกล่าวข้ างต้ น เจ้ าหนี ้นันอาจยื
้
่นคา
ขอรับชาระหนี ้ในการฟื น้ ฟูกิจการต่อเจ้ าพนักงานพิทกั ษ์ ทรัพย์ภายใน
สิบสี่วนั นับแต่วนั ประชุมเจ้ าหนี ้เพื่อพิจารณาแผนหรื อวันที่เจ้ าหนี ้ได้ รับ
คาปฏิเสธนัน้ แล้ วแต่กรณี
- คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๖๓๖/๒๕๔๖
ลูกหนี้แต่มิได้ระบุชื่อและที่อยูข่ องเจ้าหนี้ในบัญชีเจ้าหนี้ที่เสนอต่อ
ศาล ทั้งที่ทราบชื่อที่อยูเ่ จ้าหนี้ในขณะยืน่ คาร้องขอให้ฟ้ื นฟูกิจการ เป็ น
การจงใจฝ่ าฝื นมาตรา ๙๐/๖ เป็ นเหตุให้ศาลไม่อาจส่ งสาเนาคาร้อง
ขอให้ฟ้ื นฟูกิจการแก่เจ้าหนี้ ตามมาตรา ๙๐/๙ วรรคหนึ่ง และ จ.พ.ท.
ไม่อาจแจ้งคาสัง่ ตั้งผูท้ าแผนและกาหนดเวลาเสนอคาขอรับชาระหนี้
ให้เจ้าหนี้ทราบได้ ตามมาตรา ๙๐/๒๔ วรรคสองและวรรคสาม
เมื่อไม่ปรากฏว่าเจ้าหนี้ทราบคาสัง่ ตั้งผูท้ าแผน และกาหนดเวลายืน่
คาขอรับชาระหนี้ก่อนหน้านี้ กรณี จึงมีเหตุที่จะรับคาขอรับชาระหนี้
ของเจ้าหนี้ที่ยนื่ ต่อจ.พ.ท. เกินกาหนด ๑ เดือน นับแต่วนั โฆษณา
คาสัง่ ตั้งผูท้ าแผนไว้พิจารณา
- คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๑๙๑/๒๕๔๖
กาหนดเวลายืน่ คาขอรับชาระหนี้ภายในหนึ่งเดือนนับแต่วนั
โฆษณาคาสัง่ ตั้งผูท้ าแผนตามมาตรา ๙๐/๒๖ วรรคหนึ่ง นั้น ต้อง
ถือเอาวันที่ได้มีการโฆษณาคาสัง่ ต่อสาธารณชนเป็ นสาคัญ หากวัน
โฆษณาในราชกิจจานุเบกษากับในหนังสื อพิมพ์รายวันไม่ตรงกัน ต้อง
นับวันที่ประกาศโฆษณาในราชกิจจานุเบกษาซึ่งลงประกาศเป็ นฉบับ
หลังสุ ด
เมื่อคดีน้ ีการลงโฆษณาในราชกิจจานุเบกษาไม่ได้ความชัดแจ้งว่า
ได้นาออกเผยแพร่ ต่อสาธารณชนเมื่อใด จึงต้องนับเอาวันที่ได้จดั พิมพ์
หนังสื อราชกิจจานุเบกษาแล้วเสร็ จและนาออกเผยแพร่ ให้สมาชิกรับ
ไป เป็ นวันเริ่ มต้นนับระยะเวลาวันยืน่ คาขอรับชาระหนี้
๒.๔ เจ้ าหนีอ้ นื่ ลูกหนี้ หรือผู้ทาแผน ต้ องตรวจและโต้ แย้ งคาขอรับ
ชาระหนีต้ ่ อ จ.พ.ท. ภายใน ๑๔ วัน นับแต่ วนั พ้นกาหนดเวลายืน่ คา
ขอรับชาระหนี้ (มาตรา ๙๐/๒๙)
- ไม่มีผโู ้ ต้แย้ง ให้ จ.พ.ท. มีอานาจสัง่ อนุญาตให้รับชาระหนี้ได้
ทันที เว้นแต่มีเหตุสมควรสัง่ เป็ นอย่างอื่น
- มีผโู ้ ต้แย้ง ให้ จ.พ.ท. สอบสวนแล้วมีคาสัง่ (อนุญาตให้ได้รับ
ชาระหนี้เต็มจานวนหรื อแต่บางส่ วน หรื อยกคาขอรับชาระหนี้)
๒.๕ ผูม้ ีส่วนได้เสี ยอาจยืน่ คาร้องคัดค้านคาสัง่ ต่อศาลได้ภายใน
๑๔ วัน นับแต่ วนั ทราบคาสัง่ (มาตรา ๙๐/๓๒)
- คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๐๓๑/๒๕๔๖
การที่เจ้าหนี้จะได้รับชาระหนี้ในคดีฟ้ื นฟูกิจการนั้น แบ่งตามมูล
หนี้ที่เกิดขึ้นเป็ น ๓ ช่วง กล่าวคือ
ช่วงแรก มูลหนี้เกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคาสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการ และหนี้
ที่เกิดขึ้นตั้งแต่วนั ที่ศาลมีคาสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการจนถึงวันที่ศาลมีคาสัง่
ตั้งผูท้ าแผน เจ้าหนี้ยนื่ คาขอรับชาระหนี้ตามมาตรา ๙๐/๒๖, ๙๐/๒๗
ช่วงที่สอง หนี้ที่เกิดขึ้นหลังจากวันที่ศาลมีคาสัง่ ตั้งผูท้ าแผนจนถึง
ก่อนวันที่ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้วยแผน หนี้ส่วนนี้หากแผนมิได้
กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น เจ้าหนี้ฟ้องร้องคดีแพ่งได้ภายใต้บงั คับมาตรา
๙๐/๑๒ (๔) (๕) , ๙๐/๑๓
- คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๐๓๑/๒๕๔๖ (ต่ อ)
ช่วงที่สาม หนี้ที่เกิดขึ้นหลังศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้วยแผน เจ้าหนี้มี
สิ ทธิได้รับชาระหนี้ได้โดยไม่ตอ้ งขอรับชาระหนี้ตามมาตรา ๙๐/๖๒
(และไม่ตอ้ งขออนุญาตฟ้ องหรื อบังคับคดีต่อศาลตามมาตรา ๙๐/๑๒
(๔) (๕))
เมื่อคดีน้ ีเจ้าหนี้ได้ขอให้ผบู ้ ริ หารแผนชาระหนี้ซ่ ึงเกิดขึ้นหลังจาก
ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้วยแผนแล้ว และแผนฟื้ นฟูกิจการมิได้กาหนด
เรื่ องดังกล่าวไว้ เจ้าหนี้จึงหาอาจมีคาขอในคดีฟ้ื นฟูกิจการได้ไม่
เจ้าหนี้จึงต้องไปดาเนินการฟ้ องร้องต่อศาลที่มีเขตอานาจ ที่ศาล
ล้มละลายกลางมีคาสัง่ รับคาร้องของเจ้าหนี้ไว้พิจารณาศาลฎีกาไม่เห็น
พ้องด้วย
- คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๖๓๔๐/๒๕๔๘
หนี้ค่าเช่าซื้ อย่อมเกิดขึ้นตามกาหนดตลอดเวลาที่มีการผูกพันกันตามสัญญา
เมื่อลูกหนี้ชาระค่าเช่าซื้ อจนถึงวันที่ศาลมีคาสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการซึ่ งเป็ นวันเดียวกับ
ที่ศาลมีคาสั่งตั้งผูท้ าแผน ค่าเช่าซื้ อส่ วนที่เหลือจึงเป็ นหนี้ที่เกิดขึ้นหลังจากศาลมี
คาสั่งตั้งผูท้ าแผน เจ้าหนี้ไม่อาจนาหนี้ค่าเช่าซื้ อส่ วนที่เหลือมาขอรับชาระหนี้
ตามมาตรา ๙๐/๒๖ และมาตรา ๙๐/๒๗ ได้
หนี้ค่าเช่าซื้ อภายหลังจากศาลมีคาสั่งตั้งผูท้ าแผนจนถึงก่อนวันที่ศาลมีคาสั่ง
เห็นชอบด้วยแผน ซึ่ งมิได้กาหนดไว้ในแผน เจ้าหนี้ยอ่ มมีสิทธิ ฟ้องลูกหนี้เป็ น
คดีแพ่งต่อศาลที่มีเขตอานาจได้โดยอยูภ่ ายใต้บงั คับมาตรา ๙๐/๑๒ (๔), ๙๐/๑๓
ส่ วนหนี้ค่าเช่าซื้ อภายหลังจากศาลมีคาสั่งเห็นชอบด้วยแผน เจ้าหนี้มีสิทธิ
ฟ้ องร้องลูกหนี้เป็ นคดีแพ่งต่อศาลที่มีเขตอานาจได้โดยไม่ตอ้ งขอรับชาระหนี้ ใน
การฟื้ นฟูกิจการตามมาตรา ๙๐/๒๖
-
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๘๑๔/๒๕๕๐
เมื่อโจทก์มิได้ยนื่ คาขอรับชาระหนี้และต่อมาศาลมีคาสัง่ ยกเลิกการ
ฟื้ นฟูกิจการของจาเลยที่ ๑ จึงมีผลให้จาเลยที่ ๑ หลุดพ้นจากหนี้ที่
โจทก์อาจขอรับชาระหนี้ได้ในการฟื้ นฟูกิจการ แต่คงมีผลเฉพาะ
จาเลยที่ ๑ เท่านั้น ที่โจทก์หมดสิ ทธิที่จะได้รับชาระหนี้ และหนี้น้ นั หา
ได้ระงับหมดสิ้ นไปไม่
ความรับผิดของจาเลยที่ ๒ ซึ่งต้องร่ วมรับผิดกับจาเลยที่ ๑ ในมูล
ละเมิดต้องเป็ นไปตามสัญญาประกันภัย และบทบัญญัติใน ป.พ.พ.ว่า
ด้วยเรื่ องประกันภัยค้ าจุน การที่จาเลยที่ ๑ หลุดพ้น ไม่กระทบถึงสิ ทธิ
ของโจทก์ที่มีต่อจาเลยที่ ๒ โจทก์จึงมีอานาจฟ้ องจาเลยที่ ๒ ซึ่งเป็ น
ผูร้ ับประกันภัยได้
-
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๒๘๘/๒๕๕๐
เจ้าหนี้ทาสัญญาค้ าประกันหนี้และออกหนังสื อรับรองตกลงชดใช้
ค่าเสี ยหายแทนลูกหนี้ต่อสถาบันการเงินอื่นตั้งแต่ก่อนศาลมีคาสัง่ ให้
ฟื้ นฟูกิจการของลูกหนี้มูลหนี้ดงั กล่าวเกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคาสัง่ ให้
ฟื้ นฟูกิจการของลูกหนี้ เจ้าหนี้จึงมีสิทธิขอรับชาระหนี้ในการฟื้ นฟู
กิจการของลูกหนี้ตามมาตรา ๙๐/๒๗ แม้เจ้าหนี้ชาระหนี้ตามสัญญา
ค้ าประกันและหนังสื อรับรองดังกล่าวไปภายหลังศาลมีคาสัง่ ให้ฟ้ื นฟู
กิจการของลูกหนี้แล้ว ก็ไม่ทาให้เจ้าหนี้หมดสิ ทธิได้รับชาระหนี้แต่
อย่างใด
การหักกลบลบหนี้ในคดีฟื้นฟูกจิ การ
หากเจ้าหนี้ที่มีสิทธิ ขอรับชาระหนี้ เป็ นหนี้ลูกหนี้ ในเวลาที่มีคาสั่งให้ฟ้ื นฟู
กิจการ เจ้าหนี้อาจใช้สิทธิ หักลบลบหนีไ้ ด้ เว้นแต่เจ้าหนี้ได้ สิทธิเรี ยกร้องมาภาย
หลังจากศาลมีคาสั่ งให้ ฟื้นฟูกจิ การ (มาตรา ๙๐/๓๓)
- คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๗๔๗/๒๕๔๗
ธนาคารผูค้ ดั ค้านเป็ นเจ้าหนี้ที่มีสิทธิ ได้รับชาระหนี้ ในการฟื้ นฟูกิจการฯ และ
ลูกหนี้มีเงินฝากอยูก่ บั ผูค้ ดั ค้านก่อนที่ศาลมีคาสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการของลูกหนี้ จึง
เป็ นกรณี ที่ต่างเป็ นหนี้ซ่ ึ งกันและกันในเวลาที่ศาลมีคาสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการ แม้ผู้
คัดค้านแสดงเจตนาหักกลบลบหนี้ ต่อลูกหนี้ ภายหลังจากที่ประชุมเจ้าหนี้มีมติ
ยอมรับแผนฟื้ นฟูกิจการแต่กเ็ ป็ นช่วงเวลาก่อนที่ศาลจะมีคาสั่งเห็นชอบด้วยแผน
ดังกล่าว ซึ่ งเจ้าหนี้ยงั ไม่ถกู ผูกมัดให้ได้รับชาระหนี้ ตามเงื่อนไขหรื อเงื่อนเวลาที่
กาหนดไว้ในแผนตามมาตรา 90/60 วรรคหนึ่ง ผูค้ ดั ค้านจึงมีสิทธิหักกลบลบหนี้
ได้
- คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๘๕๙/๒๕๔๓
หนี้ที่เจ้าหนี้ขอรับชาระหนี้ เกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคาสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการ และ
มิใช่เป็ นหนี้ตอ้ งห้ามมิให้ขอรับชาระหนี้ ตามมาตรา ๙๐/๒๗ วรรคหนึ่ง เจ้าหนี้
จึงมีสิทธิ ขอรับชาระหนี้ได้ แม้ปรากฏว่าลูกหนี้ได้ฟ้องเจ้าหนี้ กบั พวกเป็ นคดี
แพ่งฐานผิดสัญญา ละเมิด และให้ร่วมกันชดใช้เงินคืนแก่ลกู หนี้ แต่คดีดงั กล่าว
ยังไม่มีคาพิพากษาถึงที่สุดให้เจ้าหนี้รับผิดชดใช้เงินคืนแก่ลกู หนี้ ถือไม่ได้วา่
เจ้าหนี้เป็ นหนี้ลกู หนี้ ในเวลาที่มีคาสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการ กรณี ไม่อาจใช้สิทธิ หกั
กลบลบหนี้กนั ได้ตามมาตรา ๙๐/๓๓ คาสั่งอนุญาตให้เจ้าหนี้ได้รับชาระหนี้
ของจ.พ.ท. ผูค้ ดั คานจึงชอบด้วยกฎหมายแล้ว
- คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๑๔๙/๒๕๔๘
การหักกลบลบหนี้ตามมาตรา ๙๐/๓๓ นั้น เป็ นระบบการจัดการทรัพย์สินที่
จะก่อให้เกิดความเป็ นธรรมแก่เจ้าหนี้ ที่จะนาหนี้ที่ตนมีภาระต้องชาระให้แก่
ลูกหนี้อยูแ่ ล้วในเวลาที่ศาลมีคาสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการไปหักกับหนี้ที่อาจขอรับชาระ
หนี้ฯ ได้ ฉะนั้น เจ้าหนี้ตอ้ งเป็ นหนี้ลูกหนี้ ก่อนศาลมีคาสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการ เจ้าหนี้
จึงนาหนี้ดงั กล่าวมาหักกลบลบหนี้ได้
แต่ถา้ เจ้าหนี้เป็ นหนี้ลกู หนี้หลังศาลมีคาสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการ และได้สิทธิ
เรี ยกร้องต่อลูกหนี้ภายหลังศาลมีคาสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการเช่นกัน เจ้าหนี้และลูกหนี้
ย่อมสามารถนาหนี้ที่มีต่อกันมาหักกลบลบหนี้ กนั ได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๓๔๑
โดยเจ้าหนี้ขอหักกลบลบหนี้ได้โดยการแสดงเจตนาต่อผูท้ าแผนหรื อผูบ้ ริ หาร
แผนแล้วแต่กรณี