กฎหมายฟื้ นฟูกจิ การ โดย...อาจารย์เอื้อน ขุนแก้ว AUEN KUNKEAW E-mail:[email protected] เนติบณั ฑิต ภาคคา่ วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

Download Report

Transcript กฎหมายฟื้ นฟูกจิ การ โดย...อาจารย์เอื้อน ขุนแก้ว AUEN KUNKEAW E-mail:[email protected] เนติบณั ฑิต ภาคคา่ วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

กฎหมายฟื้ นฟูกจิ การ
โดย...อาจารย์เอื้อน ขุนแก้ว
AUEN KUNKEAW
E-mail:[email protected]
เนติบณั ฑิต ภาคคา่
วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
ผูท้ าแผน
๑. การตัง้ ผูท้ าแผน (ม.๙๐/๑๗)
๒. การประชุมเจ้าหนี้เพือ่ เลือกผูท้ าแผน
๓. อานาจหน้าที่ของผูท้ าแผน
(ม.๙๐/๒๕)
๔. แผนฟื้ นฟูกจิ การ
มาตรา ๙๐/๑๗
ในการพิจารณาตัง้ ผูท้ าแผน ถ้าลูกหนี้หรือเจ้า หนี้ผูค้ ดั ค้าน
ไม่ได้เสนอบุคคลอื่นเป็ นผูท้ าแผนด้วย เมื่อศาลสัง่ ให้ฟ้ ื นฟู
กิจการ ศาลจะมีคาสัง่ ตัง้ บุคคลที่ผูร้ อ้ งขอเสนอเป็ นผูท้ าแผน
ก็ไ ด้ ถ้า ศาลเห็ นว่ า บุค คลที่ ผู ร้ อ้ งขอเสนอไม่ สมควรเป็ น
ผูท้ าแผนก็ดี หรือลูกหนี้ เจ้าหนี้ผูค้ ดั ค้านเสนอบุคคลอื่น
เป็ นผู ท้ าแผนด้ว ยก็ ดี ให้ศ าลมี ค าสัง่ ให้เ จ้า พนัก งานพิทกั ษ์ทรัพย์เรียกประชุมเจ้าหนี้ทงั้ หลายโดยเร็วที่สุดเพื่อ
พิจารณาเลือกว่าบุคคลใดสมควรเป็ นผูท้ าแผน
๑. ไม่มีผูค้ ดั ค้าน
ตัง้ ผูท้ าแผน
๒. คัดค้านแต่ไม่เสนอ
ผูท้ าแผนแข่ง
๑ หรือ ๒ ศาลเห็นสมควร
คาสัง่ ให้ฟ้ ื นฟูกจิ การ
๑ หรือ ๒
ให้ จ.พ.ท.เรียกประชุมเจ้าหนี้ ศาลเห็น
เลือกผูท้ าแผน (ม.๙๐/๑๗) ไม่สมควร
ตัง้ ผูบ้ ริหารชัว่ คราว
มีการเสนอ
(ม.๙๐/๒๐ วรรคหนึง่ )
ผูท้ าแผนแข่ง
ข้อสอบเนติบณั ฑิต
สมัย ๕๔
คาถาม
คดีฟ้ ื นฟูกิจ การเรื่อ งหนึ่ง ในการพิจ ารณาตัง้ ผู ท้ า
แผนฟื้ นฟูกิจ การของลู ก หนี้ ป รากฏว่ า เจ้า หนี้ ผู ร้ อ้ งขอ
เสนอนายเชีย่ วเป็ นผูท้ าแผน ศาลล้มละลายกลางพิจารณา
แล้วเห็นว่ า นายชาญที่ ลูกหนี้เสนอมี คุณสมบัติสมควร
เ ป็ น ผู ้ ท า แ ผ น จึ ง มี ค า สั่ ง แ ต่ ง ตั้ ง น า ย ช า ญ เ ป็ น
ผูท้ าแผน
ดังนี้ ให้วินิจฉัยว่ า คาสัง่ ของศาลดังกล่าวเห็นชอบ
ด้วยกฎหมายหรือไม่
่
การตัง้ ผูบ้ ริหารชัวคราว
ม.๙๐/๒๐
่
ม.๙๐/๒๐ วรรคหนึง
ในกรณีท่ีศาลสัง่ ให้ฟ้ ื นฟูกิจการ แต่ยงั
ไม่ มีการตัง้ ผูท้ าแผน ให้อานาจหน้าที่
ในการจัด กิ จ การและทรัพ ย์ สิ น ของ
ผูบ้ ริหารของลูกหนี้ส้ นิ สุดลง
และให้ศาลมีคาสัง่ ตัง้ ...เป็ นผูบ้ ริหาร
ชัว่ คราว มีอานาจหน้าที่จดั การกิจการ
และทรัพย์สนิ ของลูกหนี้ต่อไป ภายใต้
การกากับดูแลของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์
ทรัพย์จนกว่าจะมีการตัง้ ผูท้ าแผน
ฎ. ๖๘๕๘/๒๕๔๖


การตัง้ ผูท้ าแผน
การตัง้ ผูบ้ ริหารชัว่ คราว
P.๗๕
่
ผลของคาสังตัง้ ผูท้ าแผน
- ผูท้ าแผน
- ลูกหนี้
- เจ้าหนี้
่
อานาจหน้าทีของผูท้ าแผน
ม.๙๐/๒๕
มาตรา ๙๐/๒๕
ภายใต้ บ ัง คับ มาตรา ๙๐/๔๒ และมาตรา
๙๐/๖๔ เมื่ อ ศาลมี ค าสัง่ ตัง้ ผู ท้ าแผนแล้ว ให้
อานาจหน้าที่ในการจัดการกิจการและทรัพย์สนิ ของ
ลูกหนี้ และบรรดาสิทธิตามกฎหมายของผูถ้ ือหุน้
ของลูกหนี้ ยกเว้นสิทธิท่ีจะได้รบั เงินปั นผลตกแก่
ผูท้ าแผน และให้นาบทบัญญัติมาตรา ๙๐/๑๒
(๙) มาใช้บงั คับแก่ผูท้ าแผนโดยอนุโลม
มาตรา ๙๐/๑๒ (๙)
ห้า มมิ ใ ห้ลู ก หนี้ จ าหน่ า ย จ่ า ย โอน .....หรื อ
กระทาการใด ๆ ที่ก่อให้เกิดภาระในทรัพย์สิน
นอกจากเป็ นการกระท าที่ จ าเป็ นเพื่อ ให้ก าร
ด าเนิ น การค้า ตามปกติ ข องลู ก หนี้ ส ามารถ
ดาเนินต่อไปได้ เว้นแต่ศาลที่รบั คาร้องขอ จะมี
คาสัง่ เป็ นอย่างอืน่
จาหน่าย จ่าย โอน ...
การดาเนินการค้าตามปกติ
หรือการกระทาใดๆ ที่ก่อให้เกิดภาระ
ในทรัพย์สนิ
การดาเนินการค้าตามปกติ
Ordinary Course of business
ลูกหนี้สามารถกระทาได้เอง
ฎ. ๔๖๓๗/๒๕๔๖
P.๕๕
บรรดาสิทธิ ตามกฎหมายของ
ผูถ้ อื หุน้ ของลูกหนี้ ยกเว้นสิทธิ
ที่จะได้รบั เงินปั นผลตกแก่ผูท้ า
แผน
ป.พ.พ.
มาตรา ๑๑๕๑ อันผูเ้ ป็ นกรรมการ
นัน้ เฉพาะแต่ท่ีประชุมใหญ่เท่านัน้
อาจจะตัง้ หรือถอนได้
พ.ร.บ.บริษทั มหาชนจากัด
พ.ศ.๒๕๓๕
มาตรา ๗๐ เว้นแต่บริษทั มีขอ้ บังคับ
ไว้เป็ นอย่างอืน่ กรรมการนัน้ ให้ท่ีประชุม
ผูถ้ อื หุน้ เลือกตัง้ ตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการดังต่อไปนี้ ...
ฎ.๑๖๔๑๔/๒๕๕๕
(ศาลฎีกาอ่านคาพิพากษาวันที่ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๕)
ผูท้ าแผนมีอานาจในการแต่งตัง้ หรือถอดถอนกรรมการได้ภายใต้
กรอบของพระราชบัญ ญัติ บ ริ ษ ทั มหาชนจ ากัด พ .ศ.๒๕๓๕
พระราชบัญญัติลม้ ละลาย พ.ศ.๒๔๘๓ และความจาเป็ นในการ
ฟื้ นฟูกิจการของลูกหนี้ ทัง้ นี้ในการแต่งตัง้ หรื อถอดถอนกรรมการ
นัน้ จะต้องดาเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อบังคับของลูกหนี้ตาม
แนวทางที่ ก าหนดในแผนหรือ แผนที่ แก้ไ ขตามพระราชบัญญัติ
ล้มละลาย พ.ศ.๒๔๘๓ มาตรา ๙๐/๖๔
ฎ. ๑๖๖๑/๒๕๕๐
ความสัมพันธ์ระหว่าง
ลูกหนี้กบั ผูท้ าแผน
ฎ ๗๒๓๖/๒๕๔๕
ฎ.๗๒๓๖/๒๕๔๕
เมื่อการกระทาของผูท้ าแผน อยู่ในขอบอานาจและ
กฎหมายว่าด้วยการฟื้ นฟูกจิ การ ความสัมพันธ์และ
ความรับ ผิ ด ระหว่ า งลู ก หนี้ ก บั ผู ท้ าแผน จึง ต้อ ง
บังคับตามกฎหมายว่ าด้วยตัวแทนตาม ป.พ.พ.
มาตรา ๗๗ และมาตรา ๘๑๖
่
หนี้ทีเกิดจากการกระทา
ของผูท้ าแผน
(มาตรา ๙๐/๖๒)
มาตรา ๙๐/๖๒
เจ้าหนี้มีสทิ ธิได้รบั ชาระหนี้ โดยไม่ตอ้ งขอรับ
ชาระหนี้ในการฟื้ นฟูกิจการในหนี้ ท่ีเกิดขึ้น
เนื่ อ งจากการฟื้ นฟู กิ จ การของลู ก หนี้
ตามแผน ดังต่อไปนี้
(๑) หนี้ซ่ึง ผู ท้ าแผน...หรือ ตัว แทนของบุค คล
ดังกล่าวก่อขึ้น
ฎ.๔๖๓๗/๒๕๔๖
การฟ้ องลูกหนี้เป็ นคดีแพ่งเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้
ในมูลหนี้ท่ีเกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้วยแผน
ต้องห้ามตามมาตรา ๙๐/๑๒ (๔) แต่เจ้าหนี้อาจขอให้
ศาลมี คาสัง่ แก้ไขข้อจ ากัด สิท ธิ ข องตนได้ ตามมาตรา
๙๐/๑๓ หากข้อจากัดสิทธินนั้ ไม่มีความจาเป็ นในการ
ฟื้ นฟูกจิ การ
คาวินจิ ฉัยประธานศาลฎีกา
ที่ ๘/๒๕๔๗
P.๘๒
คาถาม
บริษทั หวานดี จากัด ลูกหนี้ ประกอบธุรกิจโรงงานผลิตนา้ ตาล
มี
นายสามารถเป็ นกรรมการผูม้ ีอานาจ บริษทั ประสบปั ญหาขาดสภาพคล่ องและ
มีหนี้สินล้นพ้นตัว จึงยื่นคาร้องขอฟื้ นฟูกิจการต่อศาลล้มละลายกลาง ศาลมี
คาสัง่ รับคาร้องไว้พจิ ารณา ต่อมานายสามารถในฐานะกรรมการของบริษทั ตก
ลงซื้ออ้อยจากนายจันทร์ จานวน ๕๐๐ กิโลกรัม เป็ นเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
เพื่ อ น ามาใช้ใ นการผลิ ต น้า ตาลของโรงงานโดยไม่ ไ ด้ร บั อนุ ญ าตจากศาล
ล้มละลายกลาง บริษทั ได้รบั อ้อยเรียบร้อยแล้ว แต่ยงั ไม่ได้ชาระราคา และคดี
ฟื้ นฟูกิจการของลูกหนี้อยู่ระหว่างไต่สวนคาร้องขอฟื้ นฟูกิจการ
ให้ท่านวิ นิจฉัยว่ า นายจันทร์จะฟ้ องลูกหนี้ให้ชาระค่ าอ้อยได้ห รือไม่
อย่างไร
คาถาม
บริ ษ ทั เอ จ ากัด ซึ่ง ประกอบธุ ร กิ จ ทอผ้า ต่ อ มาบริ ษ ทั มี ห นี้ สิน ล้น พ้น ตัว
จึงร้องขอฟื้ นฟูกจิ การของตน ศาลล้มละลายกลางมีคาสัง่ ให้ฟ้ ื นฟูกจิ การของบริษทั เอ
จากัด ลูกหนี้และตัง้ นายเชี่ยวกรรมการของลูกหนี้เป็ นผูท้ าแผน หลังจากนัน้ นาย
เชี่ยวได้ไปซื้อเส้นด้ายมาทอผ้า จานวน ๕๐ ม้วน จากนายชาย เป็ นเงิน ๕๐,๐๐๐
บาท โดยไม่ได้ขออนุญาตจากศาลล้มละลายกลางและผูท้ าแผนได้ชาระหนี้ ให้นาย
ชายครบถ้วนแล้ว หลังจากนัน้ นายเชี่ยวได้ซ้ อื เครื่องจักรจากบริษทั
กุ๊ก
แคร์จากัด เพื่อนามาเปลี่ยนเครื่องจักรเก่ า เป็ นเงิน ๕๐ ล้านบาท โดยได้รบั
อนุญาตจากศาลล้มละลายกลางแล้ว ตกลงชาระค่าเครือ่ งจักรภายใน ๒ เดือน ครัน้
ครบกาหนดแล้วบริษทั เอ จากัด ไม่ชาระหนี้
ให้ท่านวินิจฉัยว่ า การที่นายชายรับชาระหนี้ค่าเส้นด้ายไว้ ชอบด้วยกฎหมาย
หรือไม่ และบริษทั กุ๊กแคร์ จากัด จะฟ้ องให้บริษทั เอ จากัด ชาระหนี้ได้หรือไม่
อย่างไร
แผนฟื้ นฟูกจิ การ
มาตรา ๙๐/๔๒ ในแผนให้มีรายการ
ต่อไปนี้เป็ นอย่างน้อย
................................
(๒) รายละเอียดแห่งสินทรัพย์ หนี้สนิ
ฎ.๙๕๐/๒๕๔๖
ฎ. ๙๕๐/๒๕๔๖
การที่ มาตรา ๙๐/๔๒ บัญญัติว่า ในแผนให้มี
ร า ย ก า ร ดั ง ต่ อ ไ ป นี้ เ ป็ น อ ย่ า ง น้ อ ย ไ ม่ ไ ด้
หมายความว่ า ให้ศ าลพิ จ ารณาดู รู ป แบบว่ า
มี ร ายการแต่ ละรายการหรือ ไม่ แต่ ย่อ มรวมถึ ง
การพิจารณาว่ า รายละเอียดของรายการดังกล่า ว
พอสมควรและถูกต้องหรือไม่ดว้ ย
(๓) หลักการและวิธีการฟื้ นฟูกิจการ
- การลดจานวนหนี้
ฎ.๔๘๒๒/๒๕๔๕
- การจัดกลุ่มเจ้าหนี้
ฎ. ๔๘๒๒/๒๕๔๕
แผนฟื้ นฟูกจิ การสามารถ
ปรับลดหนี้ภาษีอากรได้
P.๑๔๖
มาตรา ๙๐/๖๐ วรรคสอง
คาสัง่ ของศาลซึง่ เห็นชอบด้วยแผนไม่มีผลเปลีย่ นแปลงความ
รับ ผิ ด ของบุ ค คลซึ่ ง เป็ นหุ น้ ส่ ว นกับ ลู ก หนี้ หรื อ ผู ร้ บั ผิ ด
ร่ ว มกับ ลู ก หนี้ หรื อ ผู ค้ ้า ประกัน หรื อ อยู่ ใ นลัก ษณะอย่ า ง
ผู ค้ ้า ประกัน ของลู ก หนี้ ใ นหนี้ ท่ี มี อ ยู่ ก่ อ น วัน ที่ ศ าลมี ค าสัง่
เห็นชอบด้วยแผน และไม่มีผลให้บุคคลเช่นว่านัน้ ต้องรับผิด
ในหนี้ ท่ี ก่ อ ขึ้ น ตามแผนตัง้ แต่ ว นั ดัง กล่ า ว เว้น แต่ บุ ค คล
เช่นว่านัน้ จะยินยอมโดยมีหลักฐานเป็ นหนังสือด้วย
(๔)...ความรับผิดของผูค้ า้ ประกัน
- ระบุชอ่ื ผูค้ า้ ประกันตกไป
ฎ.๓๓๑๙/๒๕๔๕
- ระบุ ขัดต่อมาตรา ๙๐/๖๐
วรรคสอง
ฎ.๓๓๑๘/๒๕๔๕
ฎ. ๓๓๑๙/๒๕๔๕
การที่ผูท้ าแผนระบุชอ่ื และความรับผิดของ
ผู ้
ค้ า ประกัน ไม่ ค รบถ้ว น ก็ มิ ใ ช่ ร ายการที่ เ ป็ น
สาระสาคัญในการฟื้ นฟูกิจการและเมื่อศาลมีคาสัง่
เห็นชอบด้วยแผน ก็ไม่ มีผลเปลี่ยนแปลงความ
รับผิดของผูค้ ้าประกัน กรณีถือว่ าแผนมีรายการ
ครบถ้วน
P.๑๕๒
ฎ. ๓๓๑๘/๒๕๔๕
การที่แผนฟื้ นฟูกิจการกาหนดให้ผูค้ า้ ประกัน
หลุดพ้นความรับผิด ขณะที่เจ้าหนี้ได้รบั ชาระ
หนี้เพียงบางส่วน ย่อมเป็ นการขัดต่ อมาตรา
๙๐/๖๐ วรรคสอง ข้อกาหนดดังกล่าว จึง
ตกเป็ นโมฆะ
P.๑๕๒
(๙) ระยะเวลาการดาเนินการตามแผน
ซึง่ ไม่เกิน ๕ ปี
ความหมาย ระยะเวลาที่ แ ผนก าหนดให้ก าร
ด าเนิ น การตามแผนนั้น จะต้อ งอยู่ ภ ายใต้
การก ากับ ควบคุ ม ของศาล และด าเนิน การตาม
บทบัญญัติของ พ.ร.บ.ล้มละลายฯ
ฎ.๖๙๘/๒๕๔๖ P.๑๕๕
่
ข้อยกเว้นมิให้นากฎหมายอืน
บางส่วนมาใช้กบั แผน
ป.พ.พ. มาตรา ๑๑๑๙
ฎ.๓๓๑๘/๒๕๔๕
P.๑๕๗
ฎ.๓๓๑๘/๒๕๔๕
ผูท้ าแผนสามารถกาหนด
ให้มีการแปลงหนี้เป็ นทุนได้
ป.พ.พ. มาตรา ๑๑๑๙
วรรคสอง
ในการใช้เงินเป็ นค่าหุน้ นัน้ ผูถ้ อื หุน้
จะหักหนี้กบั บริษทั หาได้ไม่
ฎ. ๕๖๑๓/๒๕๔๘
การที่ แ ผนฟื้ นฟูกิ จ การก าหนดวิ ธี ก ารช าระหนี้
ค่าภาษีอากรด้วยการแปลงหนี้เป็ นทุน อันจะทาให้
กรมศุ ล กากรเข้า เป็ นผู ถ้ ื อ หุ น้ ในบริ ษ ทั เอกชน
ย่อมเป็ นการขัดต่อวัตถุประสงค์ของกรมศุ ลกากร
ในการบริหารราชการแผ่นดิน ข้อกาหนดในแผน
ส่วนนี้จงึ ขัดต่อกฎหมาย ไม่อาจใช้บงั คับได้
การจัดกลุ่มเจ้าหนี้

วัตถุประสงค์
 รายละเอียดในการจัดกลุ่ม
 การร้องคัดค้านการจัดกลุ่ม
่ ๆ
 ผลเกีย่ วพันกับเรือ่ งอืน
รายละเอียดในการจัดกลุ่มเจ้าหนี้
(มาตรา ๙๐/๔๒ ทวิ)
๑. หนี้มีประกันรายใหญ่
๒. หนี้มีประกันรายย่อย
๓. หนี้ไม่มีประกัน
๔. หนี้ดอ้ ยสิทธิ
ความหมาย
หนี้มีประกัน (Secured Creditor)
ฎ. ๖๙๘/๒๕๔๖
มาตรา ๙๐/๔๒ ทวิ
(๑) เจ้าหนี้มีประกันแต่ละรายที่มีจานวน
หนี้มีประกันไม่ นอ้ ยกว่ าร้อยละสิบห้าของ
จ านวนหนี้ ท งั้ หมดที่ อ าจขอรับ ช าระหนี้
ใ น ก า ร ฟื้ น ฟู กิ จ ก า ร ไ ด้ ใ ห้ จ ัด เ ป็ น
รายละกลุ่ม
มาตรา ๙๐/๔๒ ทวิ
(๒) เจ้าหนี้มีประกันที่ไม่ ได้จดั กลุ่ม
ไว้ใน (๑) ให้จดั เป็ นหนึง่ กลุ่ม
มาตรา ๙๐/๔๒ ทวิ
(๓) เจ้าหนี้ไม่ มีประกัน อาจจัดได้เป็ นหลาย
กลุ่ ม โดยให้เ จ้า หนี้ ไม่ มี ป ระกัน ที่ มี สิ ท ธิ
เรี ย กร้อ งหรื อ ผลประโยชน์ ท่ี มี ส าระส าคัญ
เหมื อ นกัน หรื อ ท านองเดี ย วกัน อยู่ ใ นกลุ่ ม
เดียวกัน
เจ้าหนี้ไม่มีประกัน
จัด ได้เ ป็ นหลายกลุ่ ม เมื่ อ อยู่ ต่ า ง
กลุ่ ม กัน สามารถได้ร บั ช าระหนี้
ต่างกันได้ แต่ตอ้ งมีเหตุอนั สมควร
ฎ. ๓๓๑๙/๒๕๔๕
P.๑๖๔
การร้องคัดค้านการจัดกลุ่ม
- ๗ วัน นับแต่วนั ที่รถู ้ งึ
การจัดกลุ่ม
่
่
่
ผลเกียวพันกับเรืองอืนๆ
- มาตรา ๙๐/๔๒ ตรี
- มาตรา ๙๐/๕๘ (๒)
- มติยอมรับแผน
มาตรา ๙๐/๔๖
มาตรา ๙๐/๔๒ ตรี
สิทธิของเจ้าหนี้ท่ีอยู่ในกลุ่มเดียวกันต้อง
ได้ร บั การปฏิ บ ตั ิ เ ท่ า เที ย มกัน เว้น แต่
เจ้า หนี้ ผู ไ้ ด้ร บั การปฏิ บ ตั ิ ท่ี เ สี ย เปรี ย บ
ในกลุ่มนัน้ จะให้ความยินยอมเป็ นหนังสือ
ฎ. ๓๓๑๘/๒๕๔๕
การที่ จ ะพิจ ารณาว่ า เจ้า หนี้ไ ด้ร บั ช าระหนี้
อย่ า งเท่ า เที ย มกัน ตามบทบัญ ญัติ ม าตรา
๙๐/๔๒ ตรีหรือไม่ จะต้องพิจารณาเฉพาะ
บรรดาเจ้า หนี้ ท งั้ หลายที่ ถู ก จัด อยู่ ใ นกลุ่ ม
เดียวกัน
P.๑๖๙
ฎ. ๗๕๘๑,๗๕๘๒/๒๕๔๖
การพิจารณาว่า เจ้าหนี้ได้รบั การปฏิบตั ิเท่ าเทียมกันตาม
บทบัญ ญัติ ด งั กล่ า วหรื อ ไม่ ต้อ งพิจ ารณาถึง สิ ท ธิ ข อง
เจ้า หนี้ ต่ า งๆ ซึ่ง แผนฟื้ นฟูกิจ การได้จ ดั ให้อ ยู่ ใ นกลุ่ ม
เดี ย วกัน ส่ ว นเจ้า หนี้ ซึ่ ง อยู่ ต่ า งกลุ่ ม กัน เมื่ อ มี เ หตุ
อัน สมควรหรื อ มี เ หตุ จ าเป็ น เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการ
ฟื้ นฟูกิจการ แผนสามารถกาหนดให้เจ้าหนี้ต่ างกลุ่มกัน
ได้รบั การปฏิบตั ิแตกต่างกันได้
P.๑๗๐