สถานการณ์ค้าปลีก ค้าส่ง 2008 กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา สถานการณ์ค้าปลีก-ค้าส่งทัวไปในประเทศไทย2007-2008 ่ • 2541 – 2548 ค้าปลีกมีการขยายตัวร้อยละ 3 ต่อปี อยู่ใน สภาวะชะลอตัวตามสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ • ณ ปี 2548 มีธรุ กิจค้าปลีก ค้าส่งทัง้

Download Report

Transcript สถานการณ์ค้าปลีก ค้าส่ง 2008 กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา สถานการณ์ค้าปลีก-ค้าส่งทัวไปในประเทศไทย2007-2008 ่ • 2541 – 2548 ค้าปลีกมีการขยายตัวร้อยละ 3 ต่อปี อยู่ใน สภาวะชะลอตัวตามสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ • ณ ปี 2548 มีธรุ กิจค้าปลีก ค้าส่งทัง้

สถานการณ์ค้าปลีก ค้าส่ง 2008
กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา
สถานการณ์ค้าปลีก-ค้าส่งทัวไปในประเทศไทย2007-2008
่
• 2541 – 2548 ค้าปลีกมีการขยายตัวร้อยละ 3 ต่อปี อยู่ใน
สภาวะชะลอตัวตามสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ
• ณ ปี 2548 มีธรุ กิจค้าปลีก ค้าส่งทัง้ สิ้น 752,196 ราย
คิดเป็ นร้อยละ 33 ของ SMEs ทัวประเทศ
่
• อยู่ในสภาวะการเมืองผันผวนและรอร่างกฎหมายค้าปลีก
ให้ผา่ นการพิจารณาในปลายปี 2007
• อยู่ในสภาวะเสี่ยงกับสภาวะเศรษฐกิจถดถอย เพราะราคา
น้ามันปรับตัวสูงขึน้
• ผูบ้ ริโภคเริ่มลดการบริโภคและใช้สอยอย่างประหยัด
เกิดการต่อต้านสาธารณะและผลักดันกฎหมายต่างๆ
เพื่อให้ค้าปลีกดัง้ เดิมอยู่รอด
Ref: http://www.banmuang.co.th/economic.asp?id=134533 24 Feb 2008
สถานการณ์คา้ ปลีกภูธร
“ทาไมกลุม
่ ทุนขนาดใหญ่จึงสนใจตลาดภูธร”
เกิดการรุกคืบของกลุ่มทุนค้าปลีกขนาดใหญ่ส่ภู ธู ร
พฤติกรรม
ผู ้บริโภคภูธร
เปลีย
่ นไป
ความอิ่มตัวของ
การค้าปลีกใน
เมืองหลวง
มีความ
ได้เปรียบด้าน
เงินทุน
เทคโนโลยี
มีกลยุทธ์ตอบสนอง
ความต้องการ
ผู้บริโภคภูธรได้
ดีกว่า
Model แห่งการเปลี่ยนแปลงธุรกิจค้าปลีก 2007-2008
Ref: http://www.banmuang.co.th/economic.asp?id=134533 24 Feb 2008
ข้อมูลการรุกคืบของค้าปลีกข้ามชาติสู่ภูธร
ในปี 2550-51
• มีการรุกคืบของค้าปลีกส่วนกลางขนาด > 5,000 ตร.ม.
สู่ภูธร > 145 สาขา
– ปี 2540 - 45 มีอัตราการเติบโตเพียง 3.4 สาขาต่อปี หรือประมาณ 7%
– ปี 2545 – 50 มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นมากถึง 17.4 สาขาต่อปี หรือ20%
• มีการวางแผนรุกคืบเข้าสู่จังหวัดภูธรที่มีรอยต่อติดกับชายแดน
เพื่อหวังลูกค้าจากประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ อ. แม่สาย จ.เชียงราย
อ. แม่สอด จ.ตาก และ จ.น่าน
• การรุกคืบของค้าปลีกส่วนกลางในรูปแบบ C-Store และ
Supermarket ที่มีในส่วนภูธร > 2,500 จะเพิ่มขึ้นในปี 2551
อย่างต่อเนื่อง
Ref: http://www.banmuang.co.th/economic.asp?id=134533 24 Feb 2008
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมตลาดค้าปลีกภูธร 2551
สถานการณ์เชิงบวก / จุดแข็ง /โอกาส
สถานการณ์เชิงลบ / จุดอ่อน / ข้อจากัด
จุดแข็งของค้าปลีกท้องถิ่น
• ค้าปลีกท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อลูกค้า
มากกว่า
• ค้าปลีกท้องถิ่นมีความใกล้ชิดกับลูกค้าและ
ล่วงรู้ความต้องการเชิงลึก (Consumer
Insight) มากกว่า
• ค้าปลีกขนาดเล็กควบคุมต้นทุนให้ต่าลงได้
ดีกว่า เพราะมี Overhead cost ต่ากว่า
• ค้าปลีกขนาดเล็กมีความคล่องตัวกว่า เข้าถึง
แหล่งซื้อและจัดการ Logistics ง่ายกว่า
โอกาสที่เอื้ออานวย
• รัฐบาลใหม่นานโยบายช่วยเหลือชุมชนกลับ
เข้ามาใหม่ เช่น กองทุนหมู่บ้าน SML ทาให้มี
เงินหมุนเวียนและเสริมสภาพคล่องได้
• ความพยายามผลักดัน พรบ.ค้าปลีกค้าส่งฯ ใน
รัฐบาลนี้จะช่วยชะลอการขยายตัวของค้าปลีก
จากส่วนกลางได้ระดับหนึ่ง
จุดอ่อนของค้าปลีกท้องถิ่น
• การเข้าสู่ตลาดของค้าปลีกส่วนกลางทาให้
ท้องถิ่นเกิดความตื่นเต้น ส่งผลให้ลูกค้าโน้ม
เอียงไปใช้บริการของรายใหม่เสมอ
• การบริหารจัดการของค้าปลีกส่วนกลางมี
เทคนิคและกลยุทธ์ที่รุนแรงและสร้างความ
แปลกใหม่ในตลาดได้เหนือกว่าในท้องถิ่น
• ค้าปลีกรายย่อยในท้องถิ่นมีปริมาณการซื้อ
น้อย ต้นทุนซื้อสูง จึงไม่สามารถแข่งขันด้าน
ราคากับรายใหญ่หรือส่วนกลางได้
• ค้าปลีกท้องถิ่นขนาดเล็ก ขนาดนวัตกรรม
ขาดเทคโนโลยี ขาดความทันสมัยและคุณภาพ
ที่จะแข่งขันได้
ข้อจากัดและอุปสรรค
• พฤติกรรมผู้บริโภคเริ่มเปลี่ยนแปลงไป มีความ
ต้องการชีวิตที่ทันสมัยและคุณภาพชีวิตสูงขึ้น
• มีความเสี่ยงด้านเศรษฐกิจ ที่ชะลอตัวและผล
จากวิกฤตราคาน้ามันที่ทาให้การบริโภคอาจ
ลดลง และผู้บริโภคประหยัดขึ้น
• อุปสรรคจากคู่แข่งรายใหญ่จากส่วนกลางที่ให้
ความสนใจพื้นที่ในภูธรเพิ่มขึ้น
ที่มา : ศูนย์วิจัยกสิกรไทย
วิวัฒนาการของธุรกิจค้าปลีกในจังหวัดเชียงใหม่
ช่วงปี
สถานการณ์
ช่วงที่ 1 ระหว่างก่อน
พ.ศ. 2532 - 2535
ช่วงที่ 2 ประมาณ
พ.ศ. 2535 - 2540
2538
2540
ช่วงที่ 3 ประมาณ
พ.ศ. 2541 – ปัจจุบัน
ยุคทุนท้องถิ่นค้าปลีกครองตลาดเบ็ดเสร็จ
เครือข่ายที่ใหญ่ที่สุด คือ ตันตราภัณฑ์
ยุคทุนส่วนกลางรุกสู่ภูมิภาคได้แก่
เซ็นทรัล-กาดสวนแก้ว
สยามแม็คโคร
เซ็นทรัล แอร์พอร์ทพลาซ่า
ยุคการทยอยเข้ามาของห้าง Modern Trade
ใน จ.เชียงใหม่ เริ่มแรกโอชอง …(BigC) คาร์
ฟูร์ และโลตัส (ปัจจุบันมี BigC และโลตัสอย่าง
ละ 2 สาขา)
การค้าปลีกประเทศไทยในปัจจุบัน
กับการเข้ามาของกลุ่มทุนต่างชาติ
อ.กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา
เหตุผลหลักทีธ
่ ุรกิจค้าปลีกข้ามชาติเข้ามาลงทุนในไทย
ในปี พ.ศ. 2544
• ประเทศไทยได้เปิดการค้าเสรี ภายใต้กรอบ WTO
• การเปิดเสรีการค้าปลีกภายใต้ข้อตกลง GATT
• การยกเลิกกฎหมายปว.281
• การใช้ พรบ. การประกอบกิจการของคนต่างด้าวแทน
• กระทรวงพาณิชย์ระบุว่าธุรกิจการค้าทั้งระบบของไทยมี
มูลค่าประมาณ 1.6 ล้านล้านบาท และคาดว่าในปี 2544 จะ
เพิ่มเป็น 2 ล้านล้านบาท (ผู้จัดการรายวัน, Aug. 15, 2000)
• ECR Thailand พบว่า ในปี 1999 จานวนธุรกิจค้าปลีก
ดั้งเดิม ต่อธุรกิจร้านค้าสมัยใหม่ คิดเป็นอัตราส่วน 60:40
และคาดการณ์ว่าธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่จะมีอัตราการ
เติบโตสูงถึง 150% ในปี 2544 นี้
ปว.281 คือ ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 281 ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาอาชีพสงวน
สาหรับคนไทย
ความเป็นมาของธุรกิจค้าปลีกในประเทศไทย
ยกเลิก ปว.281 ค้าเสรี WTO , GATT
ปี 2544 รัฐบาลทักษิณมีมูลค่าการเติบโตของธุรกิจไทยสูงมาก
โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มทุนต่างชาติ
ตารางแสดงการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างผู้ถือหุ้นของธุรกิจค้าปลีกในช่วง 2541-2548
ชื่อธุรกิจ
โครงสร้างเริม
่ ต้น
โครงสร้างเมื่อปี 2542
โครงสร้างปัจจุบน
ั
บ.เอกชัยดิทริบิวชั่นซิส
เต็ม กลุ่มซีพีถือหุ้น
100%
จัดตั้งบ.ใหม่ ชื่อ บ.เทส
โก้สโตร์(ประเทศไทย)
จากัด เทสโก้ Eng ถือ
หุ้น 49% ซีพี 51%
เทสโก้อังกฤษ 98%
ซีพี 2%
บ.บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็น
เตอร์ จากัด (มหาชน)
ของกลุ่มเซ็นทรัลรีเทล
กลุ่มกาสิโน(ฝรั่งเศส)
ถือหุ้นใหญ่ 66%
เซ็นทรัล13% รายย่อย
21%
กาสิโน63.18%
จิธาธิวัฒน์ 11.75%
รายย่อย 25.07%
บ. เซ็นคาร์ โดยกลุ่ม
คาร์ฟูร์(ฝรั่งเศส)40%
และ SSCP 60%
คาร์ฟูร์จากฝรั่งเศส
100% ในคาร์ฟร์
ไฮเปอร์มาเก็ต
SSCP Holding
60%
คาร์ฟูร์ 40%
SHV
holding41.7%,CP26.
1% รายย่อย32.2%
SHV 90%
CP 10%
ฐานเศรษฐกิจ อ้างใน พัชรี ทองเหลืองสุ ข ผลกระทบของการขยายตัวของดิสเคานท์สโตร์ที่ส่งผลต่อร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมก่อนและ
หลังมีการปรับปรุ งในเขตกรุ งเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ หอการค้าไทย , 2549
จานวนสาขาของดิสเคานท์สโตร์ในประเทศไทย (2542-2548)
180
160
153
142
140
120
117
100
97
80
60
77
63
40
20
0
124
20
17
9
2542
24
23
19
11
2543
33
29
20
15
2544
46
48
33
21
17
34
23
19
2545
2546
52
40
29
21
2547
55
45
30
23
2548
BigC
Carrefour
Tesco
Mckro
Total
ค้าปลีกข้ามชาติขนาดใหญ่เหล่านี้ทาให้ค้าปลีกรายย่อย (โชห่วย)
ยอดขายลดลง ปิดกิจการและมีจานวนทั่วประเทศลดลง
เกิดการแก้ปัญหาเพื่อช่วยเหลือค้าปลีกรายย่อย ทั้งด้านกฎหมาย
การเมือง และเทคนิคทางบริหารจัดการ
Problem : Critical in Thailand Retailing
• ผลกระทบจากการที่ รั ฐ เปิ ด เสรี ท างการค้ า ภายใต้
เงื่อนไขกับ WTO เมื่อหลายปีก่อนส่งผลให้ค้าปลีกข้าม
ชาติ เ ข้ า มาจั บ จ่ า ยใช้ ส อยทรั พ ย์ สิ น ที่ ร าคาตกต่ าใน
ประเทศไทยอย่างสนุกมือ มิหนาซ้ายังสร้างธุรกิจขนาด
ยักษ์ที่หวังจะให้ธุรกิจรายย่อยสูญพันธ์ ด้วยการลดราคา
สินค้าอุปโภค-บริโภค กระหน่ากันอย่างบ้าเลือด ทาให้
ค้าปลีกรายย่อยแทบจะย่อยสลาย
• ธุรกิจข้ามชาติขนาดยักษ์มีอานาจต่อรองสูงมาก ทาให้
บรรดาผู้ผลิตต้องยอมขายส่งในราคาต่ากว่าที่เคยทา แต่
ไม่ มี ผู้ ผ ลิ ต รายใดที่ ย อมเฉื อ นเนื้ อ ตั ว เอง จึ ง ต้ อ งท าทุ ก
วิถีทางเพื่อลดต้นทุนการผลิต ได้แก่ ลดค่าแรงพนักงาน
เพิ่ม OT ลดต้นทุนวัตถุดิบ คุณภาพลดลง ปลดพนักงาน
ออก เลิก จ้า ง เลิก โบนัส หรือหันไปบีบราคาเกษตรกร
หรือผู้ผลิตวัตถุดิบ เป็นต้น
Problem : Critical in Thailand Retailing
• เกิดการผลักดันกฎหมายต่างๆ เพื่อควบคุมการขยายตัว
และลดบทบาทต่างๆ ของค้าปลีกขนาดใหญ่ กฎหมายที่
เกี่ยวข้องได้แก่
– พรบ. ผังเมือง พ.ศ. 2518
– พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
– พรบ. การแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542
– พรบ. การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542
พรบ. การประกอบธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง พ.ศ. 2550
• รัฐบาลริเริ่มบริษัทกลางเพื่อช่วยเหลือธุรกิจค้าปลีก ได้แก่
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็ง จากัด เมื่อปี 2545
Problem : Critical in Thailand Retailing
จาก พรบ. ผังเมือง และ พรบ. ควบคุมอาคาร ที่ภาครัฐนามาบังคับใช้
เพื่อลดบทบาทการขยายตัวของธุรกิจค้าปลีกข้ามชาติเหล่านั้นส่งผล
ให้บางกิจการแก้เกมส์ ทาให้สถานการณ์เลวร้ายลงไปอีก คือ
การรุกคืบของค้าปลีกสมัยใหม่ ด้วยการ
Downsize รุกเข้าสู่ชุมชน