มวลโมเลกุล

Download Report

Transcript มวลโมเลกุล

Slide 1

บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เรื่อง

มวลโมเลกลุ

ครู นารี รัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล
โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย


Slide 2

จุดประสงค์ การเรียนรู้
อธิบาย และคานวณหา มวลโมเลกุล และ มวลของสาร 1 โมเลกุลได้
1. อธิบายความหมายของ มวลโมเลกุล และ มวลของสาร 1 โมเลกุลได้
2. คานวณหามวลโมเลกุลของสารโคเวเลนต์ได้
เมื่อทราบชนิด จานวนและมวลอะตอมของธาตุที่ประกอบกันเป็ น 1 โมเลกุลนั้น
3. คานวณหามวลสูตรของสารไอออนิก หรื อของสารโครงผลึกร่ างตาข่ายได้
เมื่อทราบสูตรอย่างง่ายของสารนั้น
4. คานวณหามวลโมเลกุลได้ เมื่อทราบมวลของสารนั้น 1 โมเลกุล
5. คานวณหามวลของธาตุ 1 โมเลกุลได้ เมื่อทราบมวลโมเลกุลของธาตุ
6. บอกความสัมพันธ์ระหว่างมวล(กรัม) มวลโมเลกุล และจานวนโมเลกุล
ของสารได้
2


Slide 3

☻นักเรี ยนบอกได้หรื อไม่วา่
อะตอม และ โมเลกุล ของสาร มีความสัมพันธ์กนั อย่างไร
เป็ นอนุภาคทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดของธาตุ ทีแ่ สดงสมบัติเฉพาะตัวของธาตุน้ันได้
อะตอม
ส่ วนใหญ่ จะอยู่เป็ นกลุ่มรวมกันหลายๆ อะตอม
เป็ นอนุภาคทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดของสารโคเวเลนต์ ทีส่ ามารถอยู่ตามลาพังใน
โมเลกุล
ธรรมชาติ แล้วแสดงสมบัติเฉพาะตัวของสารโคเวเลนต์ ชนิดนั้น ได้

เป็ นกลุ่มของอะตอม
ซึ่งอาจจะเป็ นอะตอมชนิดเดียวกันล้วน (โมเลกุลของธาตุ เช่ น O2, S8)
โมเลกุล
หรืออะตอมหลายๆ ชนิด (โมเลกุลของสารประกอบ เช่ น H2O , PCl3 )
ที่อะตอมเหล่านั้นยึดกันด้ วยพันธะโคเวเลนต์
ยกเว้ น ธาตุหมู่ที่ VIIIA หรื อ แก๊สเฉื่อย ที่ 1 โมเลกุล มีเพียง 1 อะตอม
เช่น He จะหมายถึง อะตอมของฮีเลียม และ โมเลกุลของฮีเลียมด้วย 3


Slide 4

☻นักเรี ยนบอกได้หรื อไม่วา่
สารโครงผลึกร่ างตาข่ าย และ สารไอออนิก มีโมเลกุลหรื อไม่ เพราะเหตุใด
มีโครงสร้างเป็ นโครงผลึกของไอออนบวกและไอออนลบ
สาร ไอ และไอออนเหล่านั้นยึดกันด้วยพันธะไอออนิก
ออนิก เราบอกไม่ได้วา่ ผลึกหนึ่งๆ มีไอออนบวกและไอออนลบกี่ไอออน
แต่เราทราบอัตราส่ วนระหว่ างไอออนบวกและไอออนลบในโครงผลึก

สาร
โครงผลึก
ร่ างตาข่าย

มีโครงสร้างเป็ นโครงผลึก ประกอบด้วยอะตอมของอโลหะที่ยึดกัน
ด้วยพันธะโคเวเลนต์ อาจจะเป็ นอะตอมชนิดเดียวกันทั้งหมด เช่น
เพชร แกรไฟต์ หรื อ อะตอมหลายๆ ชนิด เช่น SiO2 ก็ได้

ดังนั้น สารไอออนิก และ สารโครงผลึกร่ างตาข่าย จึงไม่มีสูตรโมเลกุล
แต่จะใช้ สู ตรอย่ างง่ าย หรื อสูตรเอมพิริคลั (empirical formular)
ที่แสดงอัตราส่ วนอย่างต่าของอะตอมที่มารวมกันเป็ นสารดังกล่าวแทน
4


Slide 5

☺มวลของสาร 1 โมเลกุล เป็ นมวลที่แท้จริ ง
ดังนั้นการกล่าวถึงมวลของสาร 1 โมเลกุล จะต้องมีหน่วยกากับด้วยเสมอ
เช่น
H2O 1 โมเลกุล = 29.88  1024 g
หรื อ H2O 1 โมเลกุล = 18 amu
ในทางปฏิบตั ิ เราไม่สามารถนาสาร 1 โมเลกุล ไปชัง่ หามวลได้ เช่นเดียวกับที่
ไม่สามารถ หามวลของธาตุ 1 อะตอม จึงใช้มวลเปรี ยบเทียบแทน
โดยนา มวลของสาร 1 โมเลกุล ไปเปรี ยบเทียบกับค่ามาตรฐานที่กาหนด
คือ 121 มวลของ 12C 1 อะตอม
และ เรี ยกมวลที่ได้จากการเปรี ยบเทียบนี้วา่ มวลโมเลกุล

มวลของสาร 1 โมเลกุล
มวลโมเลกุล = 1
12C 1 อะตอม
มวลของ
12
5


Slide 6

ตัวอย่ างที่ 1 แอมโมเนีย 1 โมเลกุลมีมวล 2.8  1023 g
จงหามวลโมเลกุลของแอมโมเนีย
มวลของ NH3 1 1 โมเลกุ
โมเลกุลล
มวลของสาร
มวลโมเลกุล NH3 =
1 มวลของ 12C 1 อะตอม
12
23 g
2.8

10
มวลโมเลกุล NH3 =
1.661024 g

= 16.9

ตอบ มวลโมเลกุลของ NH3 เท่ากับ 17
6


Slide 7

ลองทาดู

กลูโคส 1 โมเลกุลมีมวล 2.99  1022 g
จงหามวลโมเลกุลของกลูโคส

มวลของ
C
H
O
1
โมเลกุ

มวลของสาร
1
โมเลกุ

6
12
6
มวลโมเลกุล C6H12O6=
1 มวลของ 12C 1 อะตอม
12
22 g
2.99

10
มวลโมเลกุล C6H12O6 =
1.661024 g

= 108.12

ตอบ มวลโมเลกุลของ C6H12O6 เท่ากับ 108
7


Slide 8

ตัวอย่ างที่ 2 มวลโมเลกุลของ มีเทน เท่ากับ 16.0
จงหามวลของ มีเทน 1 โมเลกุล
มวลโมเลกุล CH4 =

มวลของ CH4 1 โมเลกุล

มวลของ CH4 1 โมเลกุล = มวลโมเลกุล CH4 
24 g
1.6610
=
16

ตอบ มวลของ CH4 1 โมเลกุล เท่ากับ 2.661023 g
8


Slide 9

ลองทาดู

มวลโมเลกุลของซูโครส หรื อน้ าตาลทราย เท่ากับ 342
จงหามวลโมเลกุลของซูโครส 1 โมเลกุล

มวลโมเลกุล C12H22O11 = มวลของ C12H22O11 1 โมเลกุล
มวลของ C12H22O11 1 โมเลกุล = มวลโมเลกุล C12H22O11 

=

342



1.661024 g

ตอบ มวลของ C12H22O11 1 โมเลกุล เท่ากับ 5.681022 g
9


Slide 10

จากตัวอย่ างที่ 1 และตัวอย่ างที่ 2 จะเห็นว่ า
มวลโมเลกุล เป็ นมวลที่ได้ จากการเปรียบเทียบเช่ นเดียวกับ มวลอะตอม
ดังนั้น มวลโมเลกุลจึงไม่ มีหน่ วยกากับ เช่ นเดียวกัน มวลอะตอม
และ ถ้ าเราทราบมวลโมเลกุลของสาร
เราสามารถบอกมวลของสาร 1 โมเลกุลได้ จากความสั มพันธ์
มวลของสาร 1 โมเลกุล = มวลโมเลกุล 

มวลของสาร 1 โมเลกุล = มวลโมเลกุล  1.661024 g
10


Slide 11

ตัวอย่ างที่ 3 น้ า 1 โมเลกุล ประกอบด้วย H 2 อะตอม และ O 1 อะตอม
จงหามวลโมเลกุลของน้ า
+ มวลของ O 1 อะตอม
มวลโมเลกุล H2O  1.661024 g = 2( มวลอะตอม H  1.6610-24g ) + มวลอะตอม O  1.6610-24g
มวลโมเลกุลของ H2O = 2(มวลอะตอม H)
+ มวลอะตอม O
= 2(1)
+ 16
มวลของนา้ 1 โมเลกุล = 2(มวลของ H 1 อะตอม)

= 18

จากตัวอย่างที่ 3 จะเห็นว่ า
มวลโมเลกุลของนา้ = ผลรวมของมวลอะตอม H 2 อะตอม กับมวลอะตอม O 1 อะตอม
ซึ่งประกอบกันเป็ น 1 โมเลกุลของนา้

มวลโมเลกุล = ผลรวมของมวลอะตอมทุกอะตอมทีเ่ ป็ นองค์ ประกอบในโมเลกุลนั้น
11


Slide 12

ตัวอย่ างที่ 4 จงหามวลโมเลกุลของคาร์บอนไดออกไซด์
สูตรโมเลกุลของคาร์บอนไดออกไซด์ คือ CO2
หรื อ คาร์บอนไดออกไซด์ 1 โมเลกุลประกอบด้วย C 1 อะตอม และ O 2 อะตอม

(มวลอะตอม C= 12 , O = 16 )

มวลโมเลกุลของ CO2 = มวลอะตอม C + 2(มวลอะตอม
O)
มวลโมเลกุลของ CO2=
12
+
2(16)
=
44
ตอบ มวลโมเลกุลของคาร์บอนไดออกไซด์ เท่ากับ 44
12


Slide 13

ลองทาดู

กรดซัลฟิ วริ ก

มีมวลโมเลกุลเท่าไร

สูตรโมเลกุลของกรดซัลฟิ วริ กคือ คือ H2SO4

หรื อ กรดซัลฟิ วริ ก 1 โมเลกุลประกอบด้วย H 2 อะตอม S 1 อะตอม และ O 4 อะตอม

(มวลอะตอม H= 1, O = 16, S = 32 )

4(16) O)
มวลโมเลกุลของ H2SO4 = 2(มวลอะตอม
S + 4(มวลอะตอม
2(1) H) + มวลอะตอม
32
=

98

ตอบ มวลโมเลกุลของกรดซัลฟิ วริ ก เท่ากับ 98
13


Slide 14

ลองทาดู

กรดแอซิ ติก

มีมวลโมเลกุลเท่าไร

สูตรโมเลกุลของกรดแอซิติกคือ คือ C2H4O2
สูตรโครงสร้างอย่างย่อ คือ CH3COOH
หรื อ กรดแอซิ ติก 1 โมเลกุลประกอบด้วย C 2 อะตอม H 4 อะตอม และ O 2 อะตอม

(มวลอะตอม H =1 ,C= 12 , O = 16 )

4 (1) H) + 2(มวลอะตอม
2(16) O)
มวลโมเลกุลของ C2H4O2 = 2(มวลอะตอม
2(12) C) + 4(มวลอะตอม

=

60

ตอบ มวลโมเลกุลของกรดแอซิติก เท่ากับ 60
14


Slide 15

ข้ อควรรู้ / ควรจา
☻ธาตุทมี่ ีสถานะเป็ นแก๊สในธรรมชาติ(ยกเว้ นแก๊สเฉื่อย)
เช่ น ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน ฟลูออรีน คลอรีน
จะเป็ น diatomic molecules คือ 1 โมเลกุลประกอบด้ วย 2 อะตอม
นั่นคือ Cl หมายถึงอะตอมของคลอรีน แต่ Cl2 หมายถึงโมเลกุลของคลอรีน
0

☺ แก๊สเฉื่ อย(inert gas) หรือธาตุในหมู่ที่ VIIIA
จะเป็ น monoatomic molecule คือ 1 โมเลกุล มีเพียง 1 อะตอม
นัน่ คือHe หมายถึงอะตอมของฮีเลียมและ โมเลกุลของฮีเลียมด้วย
15


Slide 16

ลองทาดู

แก๊สไนโตรเจน มีมวลโมเลกุลเท่าไร
มวลอะตอม N = 14
N เป็ นธาตุที่มีสถานะเป็ นแก๊สและไม่ใช่แก๊สเฉื่อย
ไนโตรเจน 1 โมเลกุล มี N 2 อะตอม

( สู ตรโมเลกุลของแก๊สไนโตรเจนคือ N2 )
มวลโมเลกุลของ N2 = 2(มวลอะตอม N )
= 2(14)
=
28

ตอบ มวลโมเลกุลของไนโตรเจน เท่ากับ 28
16


Slide 17

ลองทาดู

แก๊ส นีออน มีมวลโมเลกุลเท่าไร
มวลอะตอม Ne = 20
Ne เป็ นธาตุที่มีสถานะเป็ นแก๊สและเป็ นแก๊สเฉื่อย
นีออน 1 โมเลกุล มี Ne 1 อะตอม
( สู ตรโมเลกุลของแก๊สนีออน คือ Ne )

มวลโมเลกุลของ Ne = (มวลอะตอม Ne )
=

20

ตอบ มวลโมเลกุลของนีออน เท่ากับ 20
17


Slide 18

☻สารไอออนิกและสารโครงผลึกร่ างตาข่ าย
มีโครงสร้ างเป็ นโครงผลึก จึงไม่ มีสูตรโมเลกุล แต่ ใช้ สูตรอย่ างง่ าย
ซึ่งแสดงอัตราส่ วนอย่ างต่าของอะตอมหรือไอออนในโครงผลึก

เช่น
แสดงว่า
หรื อ
แสดงว่า

แคลเซียมคลอไรด์ มีสูตร CaCl2
โครงผลึกของ CaCl2 ประกอบด้วย Ca2+ : Cl = 1 : 2
ซิลิคอนไดออกไซด์ มีสูตร SiO2
โครงผลึกของ SiO2 ประกอบด้วย Si : O = 1 : 2

ผลรวมของมวลอะตอม ทีค่ ดิ จากสู ตรอย่ างง่ ายนีเ้ รียกว่ า มวลสู ตร

มวลสูตรของ CaCl2 = มวลอะตอม Ca + 2( มวลอะตอม Cl )
=
40
+
2(35.5 )
=
111.0
18


Slide 19

ลองทาดู

จงหามวลสูตรของ โซเดียมไฮดรอกไซด์
สูตรของโซเดียมไฮดรอกไซด์คือ NaOH
มวลอะตอม H = 1 , O = 16 , Na = 23

มวลสู ตรของ NaOH = มวลอะตอม Na + มวลอะตอม O + มวลอะตอม H
=
23
+
16
+
1

=

ตอบ

40

มวลโมเลกุลของ NaOH เท่ากับ 40
19


Slide 20

ลองทาดู

จงหามวลสูตรของ จุนสี ( CuSO4.5H2O )
สูตรของจุนสี คือ CuSO4.5H2O

Copper(II)sulphate pentahydrate
มวลอะตอม H = 1 , O = 16 , S = 23 , Cu = 63.5

มวลสูตรของจุนสี = มวลอะตอม Cu + มวลอะตอม S + 4(มวลอะตอม O) +5[2(มวลอะตอม H)+มวลอะตอมO]

= 63.5
= 249.5

ตอบ

+ 32

+ 4 (16)

+ 5 [ 2 (1) + 16 ]

มวลโมเลกุลของจุนสี เท่ากับ 249.5
20


Slide 21

ตัวอย่ างที่ 5 มวลโมเลกุลของ น้ า เท่ากับ 18.0
น้ า 18 กรัม มีกี่โมเลกุล
มวลโมเลกุล H2O = 18

มวล(g)

H2O 1 molecule = 18 1.661024 g

1 molecule H2O
Conversion factor =
18  1.6610-24g H2O

จานวนโมเลกุล

1 molecule H2O
H2O 18 g = 18 g H2O 
18  1.6610-24g H2O
= 6.021023 molecule H2O

ตอบ

น้ า 18 กรัม มี 6.021023 โมเลกุล

21


Slide 22

ตัวอย่ างที่ 6 มวลโมเลกุลของ ฮีเลียม เท่ากับ 4
ฮีเลียม 4 กรัม มีกี่โมเลกุล
มวลโมเลกุล He = 4
มวล(g)

He 1 molecule = 4 1.661024 g

1 molecule He
Conversion factor =
4  1.6610-24g He

จานวนโมเลกุล

1 molecule He
He 4 g = 4 g He 
4  1.66 10-24g He
= 6.021023 molecule He

ตอบ

ฮีเลียม 4 กรัม มี 6.021023 โมเลกุล
22


Slide 23

☺จากตัวอย่ างที่ 5 และ ตัวอย่ างที่ 6
มวลโมเลกุลของ น้ า = 18 ; น้ า 18 g มี 6.021023 โมเลกุล
มวลโมเลกุลของ ฮีเลียม = 4 ; ฮีเลียม 4 g มี 6.021023 โมเลกุล
☻นักเรี ยนบอกได้หรื อไม่วา่
มวล(g) มวลโมเลกุล และ จานวนโมเลกุล มีความสัมพันธ์กนั อย่างไร
►เมื่อสาร มี มวล(g) เท่ ากับ มวลโมเลกุล แล้ ว
จะมี จานวนโมเลกุล เท่ ากับ 6.021023 เสมอ◄
กรดแอซิติก

มวลโมเลกุล = 60

กรดแอซิติก 60 g มี 6.021023 โมเลกุล

กรดแอซิติก 6.021023 โมเลกุล มีมวล 60 g

23


Slide 24

ข้ อควรคิด / ควรจา : มวลโมเลกุลของสารบอกให้เราทราบอะไรบ้าง
แก๊สคลอรี น

แก๊สคลอรี น 71 g มี 6.021023 โมเลกุล

มวลโมเลกุล = 71

71 g Cl2 = 6.021023 molecule Cl2

แก๊สแอมโมเนีย

แก๊สแอมโมเนีย 17 g มี 6.021023 โมเลกุล

มวลโมเลกุล = 17

17 g NH3 = 6.021023 molecule NH3

กรดซัลฟิ วริ ก

กรดซัลฟิ วริ ก 98 g มี 6.021023 โมเลกุล

มวลโมเลกุล = 98

98 g H2SO4 = 6.021023 molecule H2SO4
24


Slide 25

ออกซิเจน 64 กรัม มีกโี่ มเลกุล
มวลอะตอม ออกซิเจน = 16

ลองทาดู

มวลโมเลกุล O2 = 2(16)
มวล(g)

O2 1 molecule = 32 1.661024 g

1 molecule O2
Conversion factor =
32  1.6610-24g O2

จานวนโมเลกุล

1 molecule O2
O2 64 g = 64 g O2 
32  1.66 10-24g O2
= 2  6.021023 molecule O2

= 1.201024 molecule O2
ตอบ

ออกซิเจน 64 กรัม มี 1.201024 โมเลกุล

25


Slide 26

ออกซิเจน 64 กรัม มีกโี่ มเลกุล
มวลอะตอม ออกซิเจน = 16

ลองทาดู

มวลโมเลกุล O2 = 2(16)
มวล(g)

O2 6.021023 molecule = 32 g

6.021023 molecule O2
Conversion factor =
32 O2

จานวนโมเลกุล

23 molecule O
6.0210
2
O2 64 g = 64 g O2 
32 g O2

= 2  6.021023 molecule O2

= 1.201024 molecule O2
ตอบ

ออกซิเจน 64 กรัม มี 1.201024 โมเลกุล

26


Slide 27

ลองทาดู

กลูโคส 3.011024 โมเลกุล มีมวลเท่ าไร
มวลอะตอม H=1, C =12 ,O = 16

มวลโมเลกุล
C6H12O6 = 6(12)+12(1)+6(16)

จานวนโมเลกุล

glucose 6.021023 molecule = 180 g

180 g glucose
Conversion factor =
6.021023 molecule glucose

มวล(g)

กลูโคส 3.011024โมเลกุล = 3.011024 molecule glucose  180 g glucose
6.021023 molecule glucose

= 900 g glucose

ตอบ

กลูโคส 900 กรัม
27


Slide 28

แบบฝึ กหัด-1
มวลอะตอม H =1
C = 12 N = 14 O = 16 Mg = 24 S = 32
Cl = 35.5 K = 39 Ar = 40 Ca = 40 Mn = 55

1. จงหามวลโมเลกุลของสารต่ อไปนี ้
1.1 แก๊ สออกซิเจน
1.4 แก๊ สไนโตรเจนไดออกไซด์
1.2 แก๊ สโอโซน
1.5 แก๊ สไดไนโตรเจนเตตระ
ออกไซด์
1.3 แก๊ สอาร์ กอน
1.6 แก๊ สซัลเฟอร์ ไดออกไซด์
2. จงหามวลสูตรของสารต่ อไปนี ้
2.1 แคลเซียมคาร์ บอเนต 2.4 โพแทสเซียมเปอร์ แมงกาเนต
2.2 แคลเซียมไฮดรอกไซด์ 2.5 แอมโมเนียมคลอไรด์
2.3 โพแทสเซียมคลอเรต 2.6 แมกนีเซียมซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต

28


Slide 29

แบบฝึ กหัด - 2
1. จงหาจานวนโมเลกุลของสารต่ อไปนี ้
1.1 ออกซิเจน 16 g
1.4 ฟลูออรีน 3.8 g
1.2 นีออน
1.5 เอทานอล 69.0 g
20 g
1.3 คาร์ บอนไดออกไซด์ 11 g 1.6 แอมโมเนียมคลอไรด์ 535 g
2. จงหามวลของสารต่ อไปนีข้ องสารต่ อไปนี ้
2.1 คาร์ บอนเตตระคลอไรด์ 9.0 1023 โมเลกุล
2.2 เมทานอล 1.5 1024 โมเลกุล
2.3 ไนโตรเจน 4.5 1022 โมเลกุล
29


Slide 30

แบบฝึ กหัด-3
จงหามวลโมเลกุลของสาร A B C และ D ซึง่ เป็ นธาตุสมมุติ ต่อไปนี ้
1. สาร A 1 โมเลกุล มีมวล 250 1.661024 g
2. สาร B 3.0 1022 โมเลกุล มีมวลเป็ น 2 เท่าของ N 6.021023 อะตอม
3. สาร C 1.505 1027 โมเลกุล
มีมวลเป็ น 2 เท่าของ ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ที่มีจานวนโมเลกุลเท่ากัน
4. สาร D 11 กรัม
มีจานวนโมเลกุลเป็ น 2 เท่าของคาร์ บอนไดออกไซด์ที่มีมวลเท่ากัน

30