Transcript slide

ปริมาณสารสั มพันธ์
Stoichiometry
จานวนโมลกับ
อนุภาคของสาร
การคานวณเกีย่ ว
กับสู ตรเคมี
สู ตรเอมพิริคลั และ
สู ตรโมเลกุล
ปริมาตรต่ อโมล
ของแก๊ส
โมล
มวลอะตอม
มวลเป็ นร้ อยละจากสู ตร
จานวนโมลกับ
มวลของสาร
มวลโมเลกุล
ปริมาณสั มพันธ์
สมการเคมีและความ
สั มพันธ์ ระหว่ างปริมาณ
สารในปฏิกริ ิยาเคมี
สารกาหนดปริมาณ
การคานวณปริมาณสารในปฏิกริ ิยาเคมี
มวลของสาร
จานวนอนุภาคของสาร
การเตรียมสารละลาย
สารละลาย
ความเข้ มข้ นของ
สารละลาย
ปริมาตรของแก๊ส
ผลได้ ร้อยละ
สมบัติของ
สารละลาย
ปริ มาณสัมพันธ์ (Stoichiometry)
Stoichiometry มาจากภาษากรีกว่ า
Stoicheion แปลว่ า ธาตุ/สาคัญเป็ นอันดับแรก
metron แปลว่ า การวัด
ปริใช้
มาณสารสั
มพันมธ์พัหมายถึ
การวั
ดหรื อการหาปริ
มาณสารในปฏิกิริยาเคมี
ระบุความสั
นธ์ เชิง ปริ
มาณขององค์
ประกอบของสารและ
เป็ นส่ วนใหญ่
ปริมาณของสารขณะเกิดการเปลี
ย่ นแปลงทางเคมี
ความสาคัญและประโยชน์
1. สามารถใช้ คาดคะเนปริ มาณของสารที่จะต้ องใช้
เป็ นสารตั้งต้ น เพือ่ ที่จะได้ ผลิตผลที่มีปริมาณ
ตามต้ องการ
2. สามารถนาไปตีความหรืออธิบายผลจากเคมี
วิเคราะห์
3. สามารถนาไปใช้ ประกอบการเลือกปฏิกริ ิยาที่
ประหยัดทีส่ ุ ดในทางอุตสาหกรรมและทางการค้า
4. สามารถบอกได้ ว่าตัวทาปฏิกริ ิยาใดทาปฏิกริ ิยา
จนหมดหรือตัวทาปฏิกริ ิยาใดจะเหลือ เป็ นต้ น
1.1 อะตอม
โมเลกุล
ไอออน
และสู ตรเคมี
อะตอม (atom)
อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุไม่ สามารถชั่ งหามวลได้
โดยตรง
การหามวลอะตอมจึงใช้ วิธีการเปรี ยบเทียบกั บ
มวลของธาตุทกี่ าหนดเป็ นมาตรฐาน
• พบว่ามวลของธาตุ 1 อะตอมมีค่าน้อยมาก ไม่สะดวกในการ
นาไปคานวณหาปริ มาณสาร จึงกาหนดมวลที่ใช้เปรี ยบเทียบค่า
มาตรฐาน
เริ่ มต้นใช้มวลของธาตุ H ซึ่งเป็ นธาตุที่เบาที่สุด
ใช้ มวล 1/16 ของมวลออกซิเจน
ตกลงใช้มวล 1/12 ของมวลธาตุคาร์บอน-12 เป็ นค่า
มาตรฐาน ใช้เปรี ยบเทียบหามวลอะตอม
มวลอะตอม (atomic mass) คือ ตัวเลขที่ได้จากการเปรี ยบเทียบมวล
จริ งของธาตุ 1 อะตอมกับมวลมาตรฐานคือ มวล 1/12 ของมวล C-12
1 อะตอม หรื อ 1.66 x 10-24 g
มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม (g)
1.66 x 10-24 g
= มวลของธาตุ 1 อะตอม
1 amu
ธาตุ C-12 1 อะตอม มีมวลเท่ากับ 12 หน่วยมวลมาตรฐาน (amu) atomic
mass unit
ดังนั้น 12 amu = มวลของ C-12 1 อะตอม
1 amu = 1/12 มวลของ C-12 1 อะตอม
= 1.66 x 10-24 g
ตัวอย่างโจทย์
• ธาตุ X 3 อะตอมมีมวลเป็ น 2 เท่าของธาตุ C 5 อะตอม จงหามวลอะตอม
ของ X และมวลของ X 1 อะตอม ถ้า C มีมวลอะตอม = 12
ธาตุ C 1 อะตอมมีมวล = 12 amu
ธาตุ C 5 อะตอมมีมวล = 5 x 12 = 60 amu
แล้วธาตุ X 3 อะตอม มีมวลเป็ น 2 เท่าของ C = 2 x 60 = 120 amu
ดังนั้น X 1 อะตอมมีมวล = 120/3 = 40 amu
ธาตุ X มีมวลอะตอม = 40
ดังนั้น ธาตุ X 1 อะตอม มีมวล = 40 x 1.66 x 10-24 g
= 6.64 x 10-23 g
มวลอะตอมเฉลี่ย
ธาตุส่วนใหญ่ในธรรมชาติมีหลายไอโซโทป แต่ละไอโซโทปมีปริ มาณ
มากน้อยต่างกัน ดังนั้นค่ามวลอะตอมของธาตุใดๆในตารางธาตุจึงเป็ นค่า
มวลอะตอมเฉลี่ย ซึ่งขึ้นอยูก่ บั ค่ามวลอะตอมและปริ มาณของแต่ละ
ไอโซโทปที่พบอยูใ่ นธรรมชาติ
นักวิทยาศาสตร์จึงหามวลอะตอมและปริ มาณของไอโซโทปของแต่ละ
ธาตุ โดยใช้เครื่ องมือเรี ยกว่า “แมสสเปกโตรมิเตอร์” ทาให้ได้คา่ ที่มีความ
ถูกต้องแน่นอนสูง
มวลอะตอมเฉลี่ย = ( มวลอะตอมของธาตุ x %ไอโซโทปในธรรมชาติ)
100
โมเลกลุ (molecule)
หน่ วยโครงสร้ างทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดของธาตุหรือสารประกอบ
ทีส่ ามารถอยู่ได้ โดยอิสระและยังคงมีสมบัตขิ องธาตุหรือ
สารประกอบนั้น ๆ โดยสมบูรณ์
มวลทีแ่ ท้ จริงของโมเลกุลมีค่าน้ อยมาก จึงใช้ มวล
โมเลกุล(molecular mass) ซึ่งเป็ นมวลเปรียบเทียบ
เช่ นเดียวกับมวลอะตอม และเปรียบเทียบกับมวล
มาตรฐานเช่ นเดียวกัน
โมเลกุลอะตอมเดีย่ ว (monoatomic molecule)
เช่ น ก๊าซมีตระกูลหรือก๊าซเฉื่อย (noble or
inert gas) ได้ แก่ He, Ne, Kr, Xe และ Rn
โมเลกุลอะตอมคู่ (diatomic molecule)
 homonuclear molecule เช่ น H2 , O2 และ N2
 heteronuclear molecule เช่ น HCl และ CO
โมเลกุลทีม่ มี ากกว่ าสองอะตอม
(polyatomic molecule)
 homonuclear molecule เช่ น P4 และ S8
 heteronuclear molecule เช่ น H2O และ
C6H12O6
มวลโมเลกุล
• เมื่อธาตุต่างกันอย่างน้อย 2 ชนิดมารวมกันจะได้สารประกอบ(สูตรเคมี)
เราสามารถคานวณมวลของสารประกอบได้ เรี ยกว่า “มวลโมเลกุล”
• การคานวณหามวลโมเลกุลหาจาก ผลรวมของมวลอะตอม x จานวน
อะตอม(หรื อ ผลรวมของมวลอะตอมของแต่ละธาตุในสารประกอบ)
เช่น CO2 1 โมเลกุล ประกอบด้วย C 1อะตอม O 2 อะตอม
H2SO4 1 โมเลกุล ประกอบด้วย H 2 อะตอม S 1อะตอม O 4อะตอม
• มวลโมเลกุลของเกลือผลึก เกลือผลึกจะมีน้ าเกาะติดกับเกลือผลึก
(สารประกอบไอออนิก) สูตรทัว่ ไปของเกลือผลึก M.nH2O
การคานวณมวลโมเลกุล M.nH2O
= มวลโมเลกุล M + n(มวลโมเลกุลของH2O)
คาถามทิง้ ท้ าย
สารประกอบชนิดหนึ่ง 100 โมเลกุล หนัก X กรัม และ C-12 10 อะตอม
หนัก Y กรัม จงหามวลโมเลกุลของสารประกอบนี้
ถ้ามวลสูตร KMnO4 = 158 จงคานวณหามวลอะตอมของ Mn
โดยกาหนดให้(K=39, O=16)
ไอออน (ion)
อะตอมหรือกลุ่มอะตอมทีม่ ปี ระจุไฟฟ้ า เกิดจาก
โครงสร้ างภายในของอะตอมหรือกลุ่มอะตอมมีจานวน
อิเล็กตรอนมากหรือน้ อยกว่ าจานวนโปรตอน
 ไอออนลบ (negative ion หรือ anion)
2เช่ น F Cl O
 ไอออนบวก (positive ion หรือ cation)
+
2+
เช่ น Na Ca
เนื่องจากไอออนเกิดจากการเปลี่ยนแปลงอิเล็กตรอนใน
อะตอมหรื อกลุ่มอะตอม ซึ่ งอิเล็กตรอนเป็ นอนุภาคที่มีมวลน้อย
มาก ไม่มีผลต่อมวลของอะตอมที่เป็ นองค์ประกอบ ดังนั้นมวล
ของไอออนจึงคานวณจากมวลอะตอมของธาตุองค์ประกอบใน
ไอออนนั้นๆ
NH4+ มีมวลไอออน = 14 + (4x1) = 18
CO32- มีมวลไอออน = 12 + (3x16) = 60
Br มีมวลอะตอม= 80 Br- มีมวลไอออน = 80
K+ มีมวล 1 ไอออนเท่าไร
39 x 1.66 x 10-24 g
ตัวอย่ าง KNO3 1.01 g จะประกอบด้วย K+ และ NO3- อย่าง
ละกี่กรัม
มวลโมเลกุลของ KNO3 = 101
มวล K+ ไอออน = มวลอะตอม K = 39
มวล NO3- ไอออน = 62
ดังนั้น KNO3 101 กรัม ประกอบด้วย K+ ไอออน 39 กรัม
ถ้า 1.01 กรัม ประกอบด้วย K+ ไอออน 0.39 กรัม
KNO3 101 กรัม ประกอบด้วย NO3ถ้า 1.01 กรัม ประกอบด้วย NO3-
62 กรัม
0.62 กรัม
โมล (Mole)
เป็ นหน่ ว ยบอกจ านวนอนุ ภ าค/ปริ ม าณของ
สาร ซึ่งหมายถึง อะตอมของคาร์ บอน-12 ที่มีมวล
12 กรั มปริ มาณของสารที่มีจานวนอนุ ภาคเท่ า กับ
23
จานวนโดย 1โมล มีค่าเท่ ากับ 6.02 x 10 อนุภาค
เลขจานวนนี้เรียกว่ าเลข อาโวกาโดร (Avogadro’s
number)
โมล
สาร 1 โมล คือ ปริ มาณสารที่มีจานวนอนุภาค
เท่ ากับจานวนอะตอมของ C-12 ที่มีมวล 12 กรั ม
อนุภาคนีไ้ ด้ แก่ อะตอม โมเลกุล ไอออน เป็ นต้ น
หรือ มวลของสารทีม่ จี านวนอนุภาคเท่ ากับ
6.02 x 1023 อนุภาค คือ เลขอาโวกาโดร
ใช้ สัญลักษณ์ เป็ น “mol”
C-12 หนัก 12 x 1.66 x 10-24 กรัม จะมีจานวนอะตอม 1 อะตอม
C-12 หนัก 12 กรัม จะมีจานวนอะตอม = 12 x 1/12 x 1.66 x 10-24
ดังนั้น C-12 12 กรัม จะมี C-12 จานวน = 1/1.66 x 10-24
= 6.02 x 1023 อะตอม
การนาโมลไปใช้
ถ้าอนุภาค คือ โมเลกุล เรี ยกว่า โมลโมเลกุล
ถ้าอนุภาค คือ อะตอม เรี ยกว่า โมลอะตอม
ถ้าอนุภาค คือ ไอออน เรี ยกว่า โมลไอออน
ถ้าอนุภาค คือ อิเล็กตรอน เรี ยกว่า โมลอิเล็กตรอน
เช่น Zn 1 โมลอะตอมมีจานวนอะตอม = 6.02 x 1023 อะตอม
H2 1 โมลโมเลกุล มีจานวนโมเลกุล = 6.02 x 1023 โมเลกุล
สาร 2 โมล มี 6.02 x 1023 x 2 อนุภาค
สาร 0.5 โมล มี 6.02 x 1023 x 0.5 อนุภาค
ก๊าซออกซิ เจน(O2) 1 โมล หมายถึง 1 โมลโมเลกุล มีออกซิเจน
6.02 x 1023 โมเลกุล
โซเดียม(Na) 1 โมล หมายถึง 1 โมลอะตอม มีโซเดียม
6.02 x 1023 อะตอม
จานวนโมลกับมวลของสาร
• สารใดๆ 1 โมล(อะตอม) มีมวลเท่ากับ มวลอะตอม (กรัม)
• สารใดๆ 1 โมล(โมเลกุล) มีมวลเท่ากับ มวลโมเลกุล(กรัม)
• ธาตุ Na มีมวลอะตอม 23
ดังนั้น จานวนโมลของ Na 1 โมล(อะตอม) มีมวล = 23 g
• ก๊าซ O2 มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 16 x 2 = 32
ดังนั้นจานวนโมลของ O2 1 โมล(โมเลกุล) มีมวล = 32 g
• ซัลเฟตไอออน(SO42-) 1 โมล มีมวล = 32 + (16x4) = 96 g
มีจานวนอะตอม = 6.02 x 1023 อะตอม
1 โมลอะตอม
ถ้านาไปชัง่ จะหนัก = มวลอะตอม (หน่วยกรัม)
Ex. Al 40.5 กรัม จะมีกี่โมล และมีกี่อะตอม(Al=27)
หาจานวนโมลของ Al 40.5 g จาก Al = 27
แสดงว่า Al มวล 27 g คิดเป็ น 1 โมล
ถ้า Al มวล 40.5 g = 40.5 x 1 = 1.5 โมล
27
จานวนโมล Al = มวลของ Al กรัม
มวลอะตอมของ Al
ดังนั้น จานวนโมล = มวลของธาตุ(กรัม)
มวลอะตอม
หาจานวนอะตอมของ Al มี Al = 1.5 โมลอะตอม
Al 1 โมลอะตอมมี = 6.02 x 1023 อะตอม
ถ้า Al 1.5 โมลอะตอมมี = 1.5x 6.02 x 1023
= 9.03x1023 อะตอม
จานวนอะตอม = จานวนโมลอะตอม x 6.02 x 1023 อะตอม
คาถามชวนคิด
1.
2.
3.
4.
ธาตุ S จานวน 1.2 x 1024 อะตอม จะมีกี่โมล และมีมวลเท่าไร (S=32)
ต้องชัง่ Fe มากี่กรัม จึงจะมีจานวนอะตอมเท่ากับ C 45 กรัม (Fe=56,C=12)
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2) 5 โมล จะมีมวลกี่กรัม
จงคานวณหาจานวนโมลของสารต่อไปนี้
ก. ธาตุโพแทสเซียม(K) จานวน 7.77 x 1022 อะตอม
ข. ไอโอดีนโมเลกุล(I2) จานวน 5.34 x 1025 โมเลกุล
ค. โพแทสเซียมไอโอไดด์(KI) จานวน 1.25 x 1021 โมเลกุล
จานวนโมล (mol) =
น้าหนักของสาร (กรัม)
นา้ หนักอะตอมหรือนา้ หนักโมเลกุล
• คาว่าโมลอาจใช้ได้กบั สารหลายๆ อย่างแล้วแต่สิ่งที่อา้ งถึง เป็ นต้นว่า อะตอม
และโมเลกุล หรื อไอออน อิเล็กตรอน ## ต้ องระวังเป็ นพิเศษที่จะต้ องบอกถึง
สิ่ งที่อ้างถึง
• เช่น ออกซิเจน 1 โมลอะตอมจะมี 6.02 x 1023 อะตอม และมีน้ าหนัก 16 g
ส่ วนออกซิเจน 1 โมลโมเลกุล จะมี 6.02 x 1023 โมเลกุล และมีน้ าหนัก 32 g
• สารประกอบไอออนิก 1 โมล มีปริ มาณเท่ากับ 6.02 x 1023 หน่วย เช่น CaCl2
1 โมล จะมี CaCl2 จานวน 6.02 x 1023 หน่วย ซึ่งความจริ งประกอบด้วย Ca2+
6.02 x 1023 ไอออน (Ca 2+ 1 โมล)และ Cl- 2(6.02 x 1023) ไอออน(Cl- 2 โมล)
Ex ถ้ ามีก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) หนัก 9.24 g
จงคานวณหา
ก. จานวนโมล CO2
ข. จานวนโมเลกุล CO2
ค. จานวนโมลของแต่ ละธาตุใน
คาร์ บอนไดออกไซด์ จานวนนี้
ง. จานวนอะตอมของแต่ ละธาตุ
( C = 12.0 O = 16.0 )
วิธีทา
ก. นา้ หนักโมเลกุลของ CO2
= 12.0 + ( 2 x 16.0 )
= 44.0
จานวนโมลของ CO2 = 9.24
44.00
= 0.210 mol
ข. CO2 1 mol มี 6.02 x 1023 โมเลกุล
23
CO2 0.210 mol มี 0.210 x 6.02 x 10 โมเลกุล
23
= 1.26 x 10 โมเลกุล
ค. ใน 1 โมเลกุลของ CO2 มี
C 1 อะตอม และ O 2 อะตอม ดังนั้น
CO2
1 mol
จึงประกอบด้ วย
C 1 mol และ O 2 mol
CO2
0.210 mol จึงประกอบด้ วย
C 0.210 x 1
= 0.210 mol
และ O 0.210 x 2 = 0.420 mol
ง. CO2 1 โมเลกุล ประกอบด้ วย C 1 อะตอม
23
23
ถ้ า CO2 1.26 x 10 โมเลกุลจะมี C =1 x 1.26 x 10 อะตอม
CO2 1 โมเลกุล ประกอบด้ วย O 2 อะตอม
ถ้ า CO2 1.26 x 1023 โมเลกุล จะมี O = 2 x 1.26 x 1023
= 2.52 x 1023 อะตอม
โมลไอออน เช่น Ca2+ 1โมลไอออน
มีจานวนไอออน = 6.02 x 1023
โมลโมเลกุล เช่น H2 1โมลโมเลกุล
มีจานวนโมเลกุล = 6.02 x 1023
โมล
โมลอะตอม เช่น Na 1โมลอะตอม
มีจานวนอะตอม = 6.02 x 1023
สาร
N2
จานวนโมล มวลอะตอม/
มวลโมเลกุล
1
28
จานวนอนุภาค
6.02x1023โมเลกุล
H2SO4
2
98
2 x 6.02x1023โมเลกุล
Mg
3
24.3
3 x 6.02x1023 อะตอม
NH4+
0.1
28
0.1 x 6.02x1023ไอออน
HCO3-
1.5
61
1.5x 6.02x1023 ไอออน
จานวน6.02x1023โมเลกุล
1โมลโมเลกุล
(1mol)
มวลของสาร = มวลโมเลกุลมีหน่วยเป็ นกรัม
ปริ มาตรของก๊าซ 22.4 dm3 ที่ STP
การคานวณเกี่ยวกับโมล
การคานวณโมล – กรัม
จานวนโมล =
นา้ หนักสาร (กรั ม)
นา้ หนักอะตอมหรื อนา้ หนักโมเลกุล
การคานวณโมลของแก๊ ส
จานวนโมลของแก๊ ส = ปริมาตรแก๊ สที่ STP
22.4 ลิตร (dm3)
(STP = ความดัน 1 atm อุณหภูมิ 273.15 K)
Ex. มวลโมเลกุล SO2=64, CCl4=154, NaOH=40
SO2 1 โมล มี 6.02x1023 โมเลกุลมีมวล 64 g มีปริ มาตร 22.4 dm3 ที่ STP
CCl4 1 โมล มี 6.02x1023 โมเลกุลมีมวล 154 g ปริ มาตรไม่ สามารถระบุได้
(มีสถานะเป็ นของเหลว)
NaOH 1 โมล มี 6.02x1023 โมเลกุลมีมวล 40 g ปริ มาตรไม่ สามารถระบุได้
(มีสถานะเป็ นของแข็ง)
จงคานวณน้ าตาลกลูโคส 3x1024 โมเลกุล มีกี่โมล
น้ าตาลกลูโคส 6.02x1023 โมเลกุล คิดเป็ น = 1 โมล
ถ้า ”------------” 3.01x1024 โมเลกุล ”-----” = 1x 3.01x1024
6.02x1023
ดังนั้นน้ าตาลกลูโคส 3.01x1024 โมเลกุล = 5 โมล
ดังนั้น จานวนโมล = จานวนโมเลกุล
6.02x1023
H2SO4 มวล 196 g มีกี่โมล (H=1,S=32,O=16)
หามวลโมเลกุล H2SO4 = (1x2 + 32 +16x4) = 98
H2SO4 98 g คิดเป็ น 1 mol
H2SO4 196 g
” = 1x196 = 2 mol
98
ดังนั้น จานวนโมล = มวลของสารเป็ นกรัม
มวลโมเลกุล
ก๊าซออกซิ เจน ปริ มาตร 38 dm3 ที่ 0oC ความดัน 1 atm
มีจานวนโมลเท่าไร
ก๊าซ O2
”
3
22.4 dm
38 dm3
คิดเป็ น 1 mol
”---------” = 1x38
22.4
= 1.7 mol
ดังนั้น จานวนโมล = ปริ มาตรที่ STP
22.4 dm3
การคานวณโมลของแก๊ ส
ตัวอย่ าง จงหามวลของแก๊ ส cyclopropane (C3H6)
ปริมาตร 1.00 L ที่ STP
(นา้ หนักอะตอม : C = 12.0, H = 1.0)
จานวนโมลของ C3H6 =
ปริมาตรแก๊ สที่ STP
22.4 L.mol-1
= 1.00 L
22.4 L.mol-1
= 0.045 mol
การคานวณโมลของแก๊ ส
จานวนโมลของแก๊ ส
=
นา้ หนักแก๊ ส (g)
นา้ หนักโมเลกุล
นา้ หนักแก๊ ส (g) = โมลของแก๊ ส นา้ หนักโมเลกุล
= 0.045 [(12.03)+(1.06)]
= 1.89 g
ตัวอย่ าง จงหาจานวนโมลของแก๊สโอโซน(O3) ปริ มาตร 10
ลูกบาศก์เดซิเมตร ที่ STP
O3 22.4 dm3 คิดเป็ น 1 mol
ถ้า O3 10 dm3 คิดเป็ น 1 x 10 = 0.45 mol
22.4
ดังนั้นจานวนโมลของแก๊สโอโซน 10 dm3 เท่ากับ 0.45 โมล
ไอน้ า 2.25 โมล มีปริ มาตรกี่ลกู บาศก์เดซิ เมตร ที่STP
50.4 dm3
ความสัมพันธ์ระหว่างจานวนโมล มวล อนุภาค และ
ปริ มาตรที่ STP ของแก๊ส สามารถสรุ ปได้ดงั นี้
• ธาตุในสภาพอะตอม
จานวนโมล = มวล(g)
= จานวนอะตอม
6.02x1023
มวลอะตอม
• ธาตุหรื อสารประกอบในสภาพโมเลกุล
จานวนโมล = มวล(g)
= จานวนโมเลกุล = ปริ มาตรแก๊สSTP
6.02x1023
• เขียนแทนด้วยสูตร n = m = N
=
มวลโมเลกุล
M
6.02 x 10 23
22.4 dm3
VSTP
22.4