ผู้ประสานงานกลาง

Download Report

Transcript ผู้ประสานงานกลาง

ความร่ วมมือระหว่ างประเทศในเรื่องทางอาญา
ของประเทศไทย
“หลักสูตรเทคนิคการสืบสวนทางการเงินระดับกลาง”
นายศรัณย์ ถิรพัฒน์
อัยการผู้เชี่ยวชาญ สานักงานต่ างประเทศ
สานักงานอัยการสู งสุ ด
17 กรกฎาคม 2555, ILEA - Bangkok
หัวข้ อในการบรรยาย
• บททัว่ ไป
• ช่องทางการติดต่อกับต่างประเทศ
• กระบวนการในการดาเนินการ
- กรณี การให้ ความช่ วยเหลือแก่ ต่างประเทศ
- กรณี การขอความช่ วยเหลือจากต่ างประเทศ
• สรุ ป
บททั่วไป
• กฎหมายและระเบียบทีเ่ กีย่ วข้ อง
- พระราชบัญญัติความร่ วมมือระหว่างประเทศในเรื่ องทางอาญา
พ.ศ. 2535
- ประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา 32-35)
- ระเบียบของผูป้ ระสานงานกลางว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือและการ
ขอความช่วยเหลือตามกฎหมายว่าด้วยความร่ วมมือระหว่างประเทศ
ในเรื่ องทางอาญา พ.ศ. 2537
- สนธิ สัญญาระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลต่างประเทศ (Treaty) (ถ้ามี)
บททั่วไป (2)
• หน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง
- กระทรวงการต่างประเทศ, สานักงานอัยการสู งสุ ด, สานักงานตารวจ
แห่งชาติ, ศาลยุติธรรม, กรมราชทัณฑ์
• เจ้ าหน้ าทีท่ เี่ กีย่ วข้ อง (มาตรา 12)
- ผู้ประสานงานกลาง = อัยการสูงสุ ด (มาตรา 7)
- เจ้ าหน้ าที่ ผ้ มู ีอานาจ = ผูบ้ ญั ชาการตารวจแห่ งชาติ, อธิบดีอยั การสานักงาน
คดีอาญา, อธิบดีกรมราชทัณฑ์ (มาตรา 12)
บททั่วไป (3)
• เรื่องทีข่ อความร่ วมมือระหว่ างประเทศในทางอาญา
เป็ นการช่วยเหลือกันระหว่างประเทศในเรื่ องที่เกี่ยวกับการดาเนินการทางอาญา
ไม่วา่ จะในชั้นการสื บสวนสอบสวนของพนักงานสอบสวน การดาเนินการในชั้นศาล
การเริ่ มกระบวนการคดีทางอาญา หรื อการดาเนินการอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
เช่น การส่ งเอกสารทางกฎหมาย การโอนตัวบุคคลที่ถกู คุมขังเพื่อการสื บพยาน
บุคคล
(ไม่ เกี่ยวกับการจับกุมคุมขังเพื่อการส่ งผู้ร้ายข้ ามแดน)
เหตุที่ไม่ อาจให้ ความช่ วยเหลือได้ :
- เกี่ยวเนื่องกับความผิดทางการเมือง หรื อความผิดทางทหาร
- กระทบต่ออธิ ปไตย ความมัน่ คง สาธารณประโยชน์ที่สาคัญของประเทศ
ช่ องทางการติดต่ อ
• การติดต่ อประสานงานอย่ างไม่ เป็ นทางการ (Informal
Cooperation)
เป็ นช่องทางที่สะดวกและรวดเร็ วเพื่อให้ได้มาซึ่ งข้อมูลเบื้องต้นที่ตอ้ งการ
ไม่มีวตั ถุประสงค์ที่จะใช้ในทางศาล
• การติดต่ อขอความร่ วมมืออย่ างเป็ นทางการโดยอาศัยหลัก
ต่ างตอบแทน (Reciprocity Base Cooperation)
สามารถกระทาได้แม้ไม่มีสนธิ สัญญาว่าด้วยความร่ วมมือทางอาญา
ระหว่างกัน หรื อไม่มีอนุสัญญาระหว่างประเทศกาหนดไว้
ช่ องทางการติดต่ อ (2)
- หลักเกณฑ์ : ต้องมีคารับรองว่าจะให้ความช่วยเหลือในทานองเดียวกันเมื่ออีกฝ่ าย
หนึ่งร้องขอ, ต้องเป็ นความผิดทางอาญาของทั้งสองประเทศ, กรอบการใช้ดุลย
พินิจเป็ นไปตามที่กฎหมายภายในของแต่ละประเทศกาหนด
- ช่ องทางในการติดต่ อ: เป็ นการติดต่อโดยวิถีทางการทูต (ผ่านกระทรวงการ
ต่างประเทศของแต่ละประเทศ)
ประเทศผู้ร้องขอ: หน่วยงานที่ร้องขอ >>> ผูป้ ระสานงานกลาง (ถ้ามี) >>>
กระทรวงการต่างประเทศ >>>
ประเทศผู้รับคาร้ องขอ: กระทรวงการต่างประเทศ >>> ผูป้ ระสานงานกลาง
(ถ้ามี) >>> เจ้าหน้าที่ผมู้ ีอานาจ
- เมื่อดาเนินการเสร็ จสิ ้นแล้ ว: ส่ งกลับทางช่องทางเดิม
ช่ องทางการติดต่ อ (3)
• การติดต่ อขอความร่ วมมืออย่ างเป็ นทางการโดยอาศัยสนธิสัญญา
ระหว่ างกัน (Treaty Base Cooperation)
- หลักเกณฑ์ : ต้องมีสนธิสัญญาว่าด้วยความร่ วมมือทางอาญาระหว่างกัน, มักจะ
ยกเว้นหลักการเป็ นความผิดทางอาญาของทั้งสองประเทศ, มีขอ้ กาหนดเฉพาะเพื่อให้
เกิดความสะดวกรวดเร็ วและความชัดเจนในการให้ความช่วยเหลือระหว่างกัน
- เส้ นทางในการติดต่ อ:
รั ฐผู้ร้องขอ: หน่วยงานที่ร้องขอ >>> ผูป้ ระสานงานกลาง >>>
รั ฐผู้รับคาร้ องขอ: ผูป้ ระสานงานกลาง >>> เจ้าหน้าที่ผมู้ ีอานาจ
- เมื่อดาเนินการเสร็ จสิ ้นแล้ ว: ส่ งกลับทางช่องทางเดิม
ช่ องทางการติดต่ อ (4)
หมายเหตุ พยานหลักฐานที่ได้มาจากการขอความร่ วมมือทางอาญาอย่างเป็ นทางการ
สามารถใช้รับฟังในศาลได้ (มาตรา 41)
กระบวนการในการดาเนินการ
• การให้ ความช่ วยเหลือแก่ ต่างประเทศ
- ประเทศไทยสามารถให้ความช่วยเหลือในเรื่ องทางอาญาตามคาร้องขอของ
ต่างประเทศได้แม้ไม่มีสนธิ สัญญาว่าด้วยความร่ วมมือทางอาญาระหว่างกัน
(มาตรา 9, 10)
กรณี อาศัยหลักต่ างตอบแทน (Reciprocity base cooperation) ประเทศผูร้ ้อง
ขอต้องส่ งคาร้องขอโดยผ่านวิถีทางการทูต พร้อมคามัน่ ว่าจะให้ความช่วยเหลือ
ในทานองเดียวกันเมื่อประเทศไทยร้องขอ และต้องเป็ นเรื่ องที่เป็ นความผิดทาง
อาญาในประเทศไทยด้วย
กรณี มีสนธิ สัญญา (Treaty base cooperation) ประเทศภาคีสามารถส่ งเรื่ องไปยัง
อัยการสูงสุ ดผูป้ ระสานงานกลางเพื่อพิจารณาได้โดยตรง
กระบวนการในการดาเนินการ (2)
- สิ่ งที่ต้องระบุในคาร้ องขอ (ระเบียบของผู้ประสานงานกลางฯ ข้ อ 5)
1) ชื่อของหน่ วยงานของประเทศที่ร้องขอความช่วยเหลือ
2) เรื่ องที่ขอความช่วยเหลือ รวมทั้งรายละเอียดที่อาจเป็ นประโยชน์ต่อการ
ดาเนินการตามคาร้องขอ (เช่น ข้อเท็จจริ งแห่งคดี ข้อกฎหมาย)
3) วัตถุประสงค์และความจาเป็ นที่ตอ้ งขอความช่วยเหลือ
4) รายละเอียดสาหรับคาร้องขอแต่ละประเภทตามที่กาหนดไว้ในระเบียบฯ
ข้อ 6 - 13
5) คาแปลเป็ นภาษาไทยหรื อภาษาอังกฤษ (แต่เป็ นภาษาไทยจะสะดวกกว่า)
กระบวนการในการดาเนินการ (3)
กรณี ขอให้ ริบหรื อยึดทรั พย์ สิน ต้องระบุรูปพรรณของทรัพย์สิน สถานที่ต้ งั ของ
ทรัพย์สิน หรื อที่อยูข่ องบุคคลที่ครอบครองทรัพย์สินนั้น
- ขอให้ ริบ ต้องแนบต้นฉบับคาพิพากษาของศาลต่างประเทศถึงที่สุดหรื อสาเนาที่
รับรองความถูกต้องส่ งมาด้วย (มาตรา 33) (ระเบียบฯ ข้อ 13)
- ขอให้ ยึด (เพื่อการริ บในภายหลัง) ต้องแนบต้นฉบับคาสั่งของศาลต่างประเทศหรื อ
สาเนาที่รับรองความถูกต้องส่ งมาด้วย (มาตรา 33) (ระเบียบฯ ข้อ 13)
นอกจากนี้ยงั ต้องมีพยานหลักฐานยืนยันได้วา่ ทรัพย์น้ นั เป็ นทรัพย์ที่ได้ มาโดยการ
กระทาความผิด และทรัพย์สินที่ถกู ริ บต้องตกเป็ นของแผ่นดิน (มาตรา 34, 35, ป.อ.
มาตรา 33, 35)
ถ้ ามีสนธิ สัญญา ต้องพิจารณาหลักเกณฑ์ตามสนธิสัญญาประกอบด้วย
กระบวนการในการดาเนินการ (4)
อัยการสู งสุ ดผูป้ ระสานงานกลางเป็ นผูพ้ ิจารณาว่าคาร้องขอเข้าหลักเกณฑ์ที่อาจ
ให้ความช่วยเหลือได้หรื อไม่ หากเข้าหลักเกณฑ์จะส่ งเรื่ องให้เจ้าหน้าที่ผมู้ ีอานาจ
ดาเนินการต่อไป ดังนี้ (ตามมาตรา 11, 12)
1) คาร้องขอให้ดาเนินการในชั้นสอบสวน >>> ผูบ้ ญั ชาการตารวจแห่ งชาติ
2) คาร้องขอให้ดาเนินการในชั้นศาล >>> อธิบดีอยั การสานักงานคดีอาญา
3) คาร้องขอให้โอนบุคคลที่ถกู คุมขัง >>> อธิบดีกรมราชทัณฑ์
4) คาร้องขอให้เริ่ มกระบวนการคดีทางอาญา >>> ผูบ้ ญั ชาการตารวจแห่ งชาติ,
อธิบดีอยั การสานักงานคดีอาญา
เมื่อดาเนินการเสร็ จแล้ว >>> ผูป้ ระสานงานกลาง (มาตรา 13, 14)
กระบวนการในการดาเนินการ (5)
• การขอความช่ วยเหลือจากต่ างประเทศ
หน่ วยงานของรั ฐที่ประสงค์ ขอความช่ วยเหลือ เสนอเรื่ องที่ตอ้ งการขอความ
ช่วยเหลือจากต่างประเทศต่ออัยการสู งสุ ด (มาตรา 36, 38)
สิ่ งที่ต้องระบุในคาร้ องขอ (ระเบียบของผูป้ ระสานงานกลางฯ ข้อ 17)
1) ชื่อของ “หน่ วยงาน” ที่ร้องขอความช่วยเหลือ
2) เรื่ องที่ขอความช่วยเหลือ รวมทั้งรายละเอียดที่อาจเป็ นประโยชน์ต่อการ
ดาเนินการตามคาร้องขอ (ข้อเท็จจริ งแห่งคดี)
3) วัตถุประสงค์และความจาเป็ นที่ตอ้ งขอความช่วยเหลือ
4) รายละเอียดสาหรับคาร้องขอแต่ละประเภทตามที่กาหนดไว้ในระเบียบฯ
ข้อ 6 – 13 โดยอนุโลม
กระบวนการในการดาเนินการ (6)
5) คาแปลเป็ นภาษาของประเทศผูร้ ับคาร้องขอหรื อภาษาอังกฤษที่รับรองความ
ถูกต้อง (ควรเป็ นภาษาท้องถิ่นของประเทศผูร้ ับคาร้องขอ)
- กรณี ขอให้ ริบหรื อยึดทรั พย์ สิน ต้องระบุรูปพรรณของทรัพย์สิน สถานที่ต้ งั ของ
ทรัพย์สิน หรื อที่อยูข่ องบุคคลที่ครอบครองทรัพย์สินนั้น
- ขอให้ ริบ ต้องแนบต้นฉบับคาพิพากษาของศาลถึงที่สุดหรื อสาเนาที่รับรอง
ความถูกต้องส่ งไปด้วย (มาตรา 37) (ระเบียบฯ ข้อ 13, 17)
- ขอให้ ยึด (เพื่อการริ บในภายหลัง) ต้องแนบต้นฉบับคาสัง่ ของศาลหรื อสาเนาที่
รับรองความถูกต้องส่ งไปด้วย (มาตรา 37) (ระเบียบฯ ข้อ 13, 17)
กระบวนการในการดาเนินการ (7)
นอกจากนี้ยงั ควรมีพยานหลักฐานยืนยันได้วา่ ทรัพย์น้ นั เป็ นทรัพย์ที่ได้มาโดยการ
กระทาความผิด (โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกรณี ใช้ช่องทางหลักต่างตอบแทน)
ถ้ ามีสนธิ สัญญา ต้องพิจารณาหลักเกณฑ์ตามสนธิสัญญาประกอบด้วย
เส้ นทางจากอัยการสู งสุ ด
กรณี ไม่ มีสนธิ สัญญา: อัยการสูงสุ ด >>> กระทรวงการต่างประเทศของไทย >>>
กระทรวงการต่างประเทศของประเทศผูร้ ับคาร้องขอ >>> ผูป้ ระสานงานกลางของ
ประเทศผูร้ ับคาร้องขอ (ถ้ามี) >>> เจ้าหน้าที่ผมู้ ีอานาจ
กรณี มีสนธิ สัญญา: อัยการสูงสุ ด >>> ผูป้ ระสานงานกลางของประเทศ
ผูร้ ับคาร้องขอ >>> เจ้าหน้าที่ผมู้ ีอานาจ
สรุป
- ประเด็นพิจารณาด้านกฎหมาย
- ประเด็นพิจารณาด้านการบริ หารคดี
- ประเด็นพิจารณาด้านการมีเจ้าหน้าที่ผปู ้ ระสานงานประจาสถานทูต
THANK YOU
ข้อมูลเพิ่มเติม:
สานักงานต่างประเทศ สานักงานอัยการสู งสุ ด
โทร. 0 2142 1632, โทรสาร 0 2143 9798