จัดทำโดย นำงสำวณริษำ รินฤทธิ์ เลขที่ ๓ ชั้น ม.๕/๑ เสนอต่ อ อำจำรย์ ชไมพร สุ นันท์ ภำคเรียนที่ ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๕๔ โรงเรียนพระธำตุพทิ ยำคม.

Download Report

Transcript จัดทำโดย นำงสำวณริษำ รินฤทธิ์ เลขที่ ๓ ชั้น ม.๕/๑ เสนอต่ อ อำจำรย์ ชไมพร สุ นันท์ ภำคเรียนที่ ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๕๔ โรงเรียนพระธำตุพทิ ยำคม.

จัดทำโดย
นำงสำวณริษำ รินฤทธิ์
เลขที่ ๓ ชั้น ม.๕/๑
เสนอต่ อ
อำจำรย์ ชไมพร สุ นันท์
ภำคเรียนที่ ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๕๔
โรงเรียนพระธำตุพทิ ยำคม
อุทกภัย คือ ภัยหรื ออันตรายที่เกิดจากน ้าท่วม หรื ออันตรายอันเกิดจาก
สภาวะที่น ้าไหลเอ่อ
ล้ นฝั่ งแม่น ้า ลาธาร หรื อทางน ้า เข้ าท่วมพื ้นที่ซงึ่ โดยปกติแล้ วไม่ได้ อยูใ่ ต้
ระดับน ้า หรื อเกิดจากการสะสมน ้าบนพื ้นที่ซงึ่ ระบายออกไม่ทนั ทาให้ พ้น
ที่นนปกคลุ
ั้
มไปด้ วยน ้า โดยทัว่ ไปแล้ วอุทกภัยมักเกิดจากน ้าท่วม ซึง่
สามารถแบ่งเป็ นลักษณะใหญ่ๆ ได้ 2 ลักษณะ คือ
1) นำ้ ท่ วมขัง/นำ้ ล้ นตลิ่ง เป็ นสภาวะน ้าท่วมที่เกิดขึ ้นเนื่องจากระบบ
ระบายน ้าไม่มีประสิทธิภาพ มักเกิดขึ ้นในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น ้าและ
บริเวณชุมชนเมืองใหญ่ๆ มีลกั ษณะค่อยเป็ นค่อยไป ซึง่ เกิดจากฝนตก
หนัก ณ บริเวณนันๆ
้ ติดต่อกันเป็ นเวลาหลายวัน หรื อเกิดจากสภาวะน ้า
ล้ นตลิง่ น ้าท่วมขังส่วนใหญ่จะเกิดบริเวณท้ ายน ้าและมีลกั ษณะแผ่เป็ น
บริเวณกว้ างเนื่องจากไม่สามารถระบายได้ ทนั ความเสียหายจะเกิดกับ
พืชผลทางการเกษตรและอสังหาริมทรัพย์เป็ นส่วนใหญ่ สาหรับความ
เสียหายอื่นๆ มีไม่มากนักเพราะสามารถเคลื่อนย้ ายไปอยูใ่ นที่ที่
ปลอดภัย
2) นำ้ ท่ วมฉับพลัน เป็ นภาวะน ้าท่วมที่เกิดขึ ้นอย่างฉับพลันในพื ้นที่
เนื่องจากฝนตกหนักในบริ เวณพื ้นที่ซงึ่ มีความชันมาก และมีคณ
ุ สมบัติ
ในการกักเก็บหรื อการต้ านน ้าน้ อย เช่น บริ เวณต้ นน ้าซึง่ มีความชันของ
พื ้นที่มาก พื ้นที่ป่าถูกทาลายไปทาให้ การกักเก็บหรื อการต้ านน ้าลด
น้ อยลง บริ เวณพื ้นที่ถนนและสนามบิน เป็ นต้ น หรื อเกิดจากสาเหตุอื่นๆ
เช่น เขื่อนหรื ออ่างเก็บน ้าพังทลาย น ้าท่วมฉับพลันมักเกิดขึ ้นหลังจาก
ฝนตกหนักไม่เกิน 6 ชัว่ โมง และมักเกิดขึ ้นในบริ เวณที่ราบระหว่าง
หุบเขา ซึง่ อาจจะไม่มีฝนตกหนักในบริ เวณนันมาก่
้ อนเลยแต่มีฝนตก
หนักมากบริ เวณต้ นน ้าที่อยูห่ า่ งออกไป เนื่องจากน ้าท่วมฉับพลันมี
ความรุนแรงและเคลื่อนที่ด้วยความรวดเร็ วมากโอกาสที่จะป้องกันและ
หลบหนีจงึ มีน้อย ดังนันความเสี
้
ยหายจากน ้าท่วมฉับพลันจึงมีมากทัง้
แก่ชีวิตและทรัพย์สิน
• ฝนตกหนักจำกพำยุหรือพำยุฝนฟ้ำคะนอง เป็ นพายุที่เกิดขึ ้นติดต่อกันเป็ น
เวลาหลายชัว่ โมง มีปริ มาณฝนตกหนักมากจนไม่อาจไหลลงสูต่ ้ นน ้าลาธารได้ ทนั
จึงท่วมพื ้นที่ที่อยูใ่ นที่ต่า มักเกิดในช่วงฤดูฝนหรื อฤดูร้อน
• ฝนตกหนักจำกพำยุหมุนเขตร้ อน เมื่อพายุนี ้ประจาอยูท่ ี่แห่งใดแห่งหนึง่ เป็ น
เวลานานหรื อแทบไม่เคลื่อนที่ จะทาให้ บริ เวณนันมี
้ ฝนตกหนักติดต่อกัน
ตลอดเวลา ยิ่งพายุมีความรุนแรงมาก เช่น มีความรุนแรงขนาดพายุโซนร้ อนหรือ
ไต้ ฝนุ่ เมื่อเคลื่อนตัวไปถึงที่ใดก็ทาให้ ที่นนเกิ
ั ้ ดพายุลมแรง ฝนตกหนักเป็ นบริเวณ
กว้ างและมีน ้าท่วมขัง นอกจากนี ้ถ้ าความถี่ของพายุที่เคลื่อนที่เข้ ามาหรื อผ่าน
เกิดขึ ้นต่อเนื่องกัน ถึงแม้ จะในช่วงสันแต่
้ ก็ทาให้ น ้าท่วมเสมอ
• ฝนตกหนักในป่ ำบนภูเขำ ทาให้ ปริ มาณน ้าบนภูเขาหรื อแหล่งต้ นน ้ามาก มี
การไหลและเชี่ยวอย่างรุนแรงลงสูท่ ี่ราบเชิงเขา เกิดน ้าท่วมขึ ้นอย่างกะทันหัน
เรี ยกว่าน ้าท่วมฉับพลัน เกิดขึ ้นหลังจากที่มีฝนตกหนักในช่วงระยะเวลาสันๆ
้ หรื อ
เกิดก่อนที่ฝนจะหยุดตก มักเกิดขึ ้นในลาธารเล็กๆ โดยเฉพาะตอนที่อยูใ่ กล้ ต้นน ้า
ของบริ เวณลุม่ น ้า ระดับน ้าจะสูงขึ ้นอย่างรวดเร็ ว จังหวัดที่อยูใ่ กล้ เคียงกับเทือก
สูง เช่น จังหวัดเชียงใหม่ เป็ นต้ น
• ผลจำกนำ้ ทะเลหนุน ในระยะที่ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ อยูใ่ นแนวที่ทาให้
ระดับน ้าทะเลขึ ้นสูงสุด น ้าทะเลจะหนุนให้ ระดับน ้าในแม่น ้าสูงขึ ้นอีกมาก เมื่อ
ประจวบกับระยะเวลาที่น ้าป่ าและจากภูเขาไหลลงสูแ่ ม่น ้า ทาให้ น ้าในแม่น ้าไม่
อาจไหลลงสูท่ ะเลได้ ทาให้ เกิดน ้าเอ่อล้ นตลิ่งและท่วมเป็ นบริเวณกว้ างยิ่งถ้ ามีฝน
ตกหนักหรื อมีพายุเกิดขึ ้นในช่วงนี ้ ความเสียหายจากน ้าท่วมชนิดนี ้จะมีมาก
• ผลจำกลมมรสุมมีกำลังแรง มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เป็ นมรสุมที่พดั พาความชื ้น
จากมหาสมุทรอินเดียเข้ าสูป่ ระเทศไทย ตังแต่
้ เดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม เมื่อมี
กาลังแรงเป็ นระยะเวลาหลาย วัน ทาให้ เกิดคลื่นลมแรง ระดับน ้าในทะเลตาม
ขอบฝั่ งจะสูงขึ ้น ประกอบกับมีฝนตกหนักทาให้ เกิดน ้าท่วมได้
• ผลจำกแผ่ นดินไหวหรื อภูเขำไฟระเบิด เมื่อเกิดแผ่นดินไหว หรื อภูเขาไฟบน
บกและภูเขาไฟใต้ น ้าระเบิด เปลือกของผิวโลกบางส่วนจะได้ รับความ
กระทบกระเทือนต่อเนื่องกัน บางส่วนของผิวโลกจะสูงขึ ้นบางส่วนจะยุบลง ทาให้
เกิดคลื่นใหญ่ในมหาสมุทรซัดขึ ้นฝั่ ง เกิดน ้าท่วมตามหมูเ่ กาะและเมืองตาม
ชายฝั่ งทะเลได้ เกิดขึ ้นบ่อยครัง้ ในมหาสมุทรแปซิฟิก
•การตัดไม้ ทาลายป่ า ในพื ้นที่เสี่ยงภัยเมื่อเกิดฝนตกหนักจะทาให้ อตั ราการไหล
สูงสุดเพิ่มมากขึ ้นและไหลมาเร็วขึ ้น เป็ นการเพิ่มความรุนแรงของน ้าในการทาลาย
และยังเป็ นสาเหตุของดินถล่มด้ วย นอกจากนี ้ยังทาให้ ดินและรากไม้ ขนาดใหญ่ถกู
ชะล้ างให้ ไหลลงมาในท้ องน ้า ทาให้ ท้องน ้าตื ้นเขินไม่สามารถระบายน ้าได้ ทนั ที
รวมทังก่
้ อให้ เกิดความสูญเสียชีวิตและบาดเจ็บของประชาชนทางด้ านท้ ายน ้า
•การขยายเขตเมืองลุกล ้าเข้ าไปในพื ้นที่ลมุ่ ต่า (Flood plain) ซึง่ เป็ นแหล่งเก็บ
น ้าธรรมชาติทาให้ ไม่มีที่รับน ้า ดังนันเมื
้ ่อน ้าล้ นตลิง่ ก็จะเข้ าไปท่วมบริเวณที่เป็ น
พื ้นที่ลมุ่ ต่าซึง่ เป็ นเขตเมืองที่ขยายใหม่ก่อน
• การก่อสร้ างโครงสร้ างขวางทางน ้าธรรมชาติทาให้ มีผลกระทบต่อการระบายน ้า
และก่อให้ เกิดปั ญหาน ้าท่วม
• การออกแบบทางระบายน ้าของถนนไม่เพียงพอ ทาให้ น ้าล้ นเอ่อในเขตเมือง ทา
ความเสียหายให้ แก่ชมุ ชนเมืองใหญ่ เนื่องจากการระบายได้ ช้ามาก
• การบริหารจัดการน ้าที่ไม่ดีเป็ นสาเหตุหนึง่ ที่ทาให้ เกิดน ้าท่วมโดยเฉพาะบริเวณ
ด้ านท้ ายเขื่อนหรื ออ่างเก็บน ้า
กำรป้องกันกำรเกิดอุทกภัย “ทำงตรง”
1. กำรอนุรักษ์ ป่ำบริเวณต้ นนำ้ ลำธำร ควบคุมป่ าไม่ให้ถูกทาลาย การปลูกป่ า
ใหม่ การปลูกสร้างสวนป่ า จัดสรรพื้นที่ทาการเกษตร ทาทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และ
คัดเลือกพันธุ์พืช เช่น ปลูกหญ้าแฝกเพื่อชะลอการไหลของน้ า เป็ นต้น
2. สร้ ำงเขื่อน (Dams) คือ สิ่ งก่อสร้างที่ก้ นั แม่น้ า เพื่อควบคุมการไหลของน้ า
จากที่สูงมายังที่ต่า ให้น้ าไหลช้าลงจะได้ไม่เกิดอุทกภัยในที่ต่า ทาฝาย ทานบ
คันดินฯ เป็ นต้น
1 เขื่อนชลประทำน มีหน้ าที่เก็บกักน ้า ชะลอการไหลของน ้า ระบายน ้าไปใช้ ใน
การเกษตร และยังคงใช้ ในการคมนาคมได้ เช่น เขื่อนเจ้ าพระยา ที่กนแม่
ั ้ น ้า
เจ้ าพระยาที่อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท
2 เขื่อนอเนกประสงค์ เป็ นเขื่อนที่ผลิตไฟฟ้า ป้องกันอุทกภัยเป็ นหลัก และใช้ เก็บกัก
น ้า ระบายน ้าในทางเกษตร ใช้ เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์สตั ว์น ้า แหล่งท่องเที่ยว และยังใช้
คมนาคมได้
3. สร้ ำงอ่ ำงเก็บนำ้ ขึน้ ในเขตใกล้ แม่ นำ้ (Detention Storage) คือ การผัน
ทางน ้าจากแม่น ้าให้ ไหลลงสูอ่ า่ งเก็บน ้าและค่อยๆ ระบายออกเป็ นระยะๆ จะทาให้ ที่
ราบสองข้ างฝั่ งไม่เกิดน ้า
4. กำรผันทำงนำ้ ให้ ไหลจำกทำงนำ้ ใหญ่ ไปเข้ าร่องน ้าทางน ้าแยกหรื อคลอง
ส่งน ้า เพื่อแบ่งน ้าจากทางน ้าใหญ่ หรื อผันน ้าจากทางน ้าใหญ่ ที่จะทาให้ เมือง
ใหญ่เกิดน ้าท่วมซึง่ จะเสียหายมาก ไปเข้ าท่วมทุง่ นาเพื่อพักน ้าชัว่ คราว
5. สร้ ำงคันดินหรื อทำนบดิน หรื อกำแพงกัน้ นำ้ เป็ นคันดินที่สงู กว่าระดับน ้า
เป็ นแนวขนานไปตามความยาวของแม่น ้า ควรมีช่องระบายน ้าเป็ นตอนๆ การ
ก่อสร้ างอาจทาได้ หลายรูปแบบ แล้ วแต่วตั ถุประสงค์ของการใช้
6. ขยำยทำงนำ้ ที่ไหลอยู่ให้ กว้ ำงออก คือ การปรับปรุงทางน ้าไหลให้ กว้ าง
ออก ทาให้ น ้าปริ มาณมากไหลได้ เร็ วขึ ้น น ้าจะไม่เอ่อล้ นตลิ่ง โดย การ
เคลื่อนย้ ายวัตถุที่มาปิ ดกันทางน
้
้าไหลออกไป เช่น เศษไม้ กอสวะ สิ่งก่อสร้ าง
สิ่งปลูกสร้ างที่รุกล ้าคูคลองไม่ให้ กีดขวางทางน ้าเพราะจะช่วยให้ การไหลของ
น ้ารวดเร็ วขึ ้น
7. กำรขุดลอกคูคลอง ร่องน ้า เพื่อเพิ่มความจุของน ้าในฤดูน ้าหลาก