Document 7407138

Download Report

Transcript Document 7407138

เภสั ชกร วิษณุ
ทรัพย์ วบิ ูลย์ ชัย
43075688
เภสั ชกร ศรากร แก้ วมีชัย
43075811
รหัส
รหัส
หัวข้อที่นำเสนอ
•
•
•
•
•
•
•
•
ควำมหมำยของ GM Foods
วิธีกำรดัดแปลงและเปลี่ยนถ่ำยสำรพันธุกรรม
วิธีกำรตรวจหำ GMOs ในพืช และ อำหำร
ตัวอย่ำงของ GM Foods
กำรประเมินควำมปลอดภัยของGM Foods
กำรแสดงฉลำกของ GM Foods
นโยบำยของไทยและต่ำงประเทศต่อ GM Foods
บทสรุ ป
Genetically Modified Organisms ( GMOs) คืออะไร ?
สิ่ งมีชีวติ ที่ได้จำกกำรดัดแปลงสำรพันธุกรรม
คือ DNA ซึ่งเกิดขึ้นโดยมนุษย์ และใช้ กรรมวิธี
ทางพันธุวศิ วกรรมเท่ านั้น สิ่ งมีชีวติ ที่วำ่ นี้อำจ
เป็ น จุลินทรี ย ์ สัตว์ หรื อ พืช
Genetically Modified Foods (GM Foods) คืออะไร ?
อาหารที่ได้ จาก GMOs
ส่วนใหญ่ที่ได้ รับการกล่าวถึงในปั จจุบนั คือ พืช
วิธีกำรดัดแปลงและเปลี่ยนถ่ำยสำรพันธุกรรม
Recombinant DNA Technology
Restriction Enzyme
Restriction Enzyme
Restriction Enzyme
•
•
•
•
EcoRI
BamHI
HindIII
MstII
Source
Escherichia coli
Bacillus amyloliquefaciens
Haemophilus influenzae
Microcoleus species
Restriction Enzyme
Restriction Enzyme
• TaqI
• NotI
• AluI
Source
Thernius aquaticus
Nocardia otitidis
Arthrobacter luteus
ยีนที่นิยมนำมำใช้ในกำรตัดต่อ
• ยีนที่ควบคุมกำรสร้ำง phosphinothricin acetyltransferase
ได้จำก Streptomyces viridochromogenes
ควบคุมกำรสร้ำงโปรตีนที่ตำ้ นทำนยำฆ่ำแมลง Glufosinate
• ยีน cry9C ได้จำก Bacillus thuringiensis
ควบคุมกำรสร้ำงโปรตีนที่มีพิษต่อแมลง
ยีนที่นิยมนำมำใช้ในกำรตัดต่อ
• ยีน nitrilase ได้จำก Klebsiella ozaenae ควบคุมกำรสร้ำง
โปรตีนที่ตำ้ นทำนยำฆ่ำแมลง Bromoxynil ได้
วิธีกำรดัดแปลงและเปลี่ยนถ่ำยสำรพันธุกรรม
• ใช้ จุลนิ ทรีย์ชนิดพิเศษ
ทีน่ ิยมใช้ คือ Agrobacterium spp.
– Plasmid
– ligase enzyme
• ใช้ ปืนยิงยีน ( Gene Gun )
กำรใช้ agrobacterium เพื่อพำยีนที่ถูกดัดแปลงเข้ำไปในเซลล์
ตัวช่วยให้ยนี ที่ใส่ เข้ำไปทำงำนได้
• ตัวควบคุมกำรทำงำนของยีนให้เริ่ มต้น ( promoter )
– CaMV 35S promoter
• ตัวควบคุมกำรทำงำนของยีนให้ยตุ ิ ( terminator )
– NOS terminator
• ตัวบ่งชี้กำรปรำกฏของยีน ( marker gene )
– ยีนที่สำมำรถต้ำนยำปฏิชีวนะ
โครงสร้ำงของยีนที่เป็ นส่ วนประกอบหลักของ GMOs
วิธีกำรตรวจหำ GMOs ในพืชหรื ออำหำร
Polymerase Chain Reaction ( PCR )
ใช้ในกำรประเมินเชิงคุณภำพ
ELISA
ใช้วิเครำะห์เชิงปริ มำณ
ตัวอย่ำงอำหำร GM Foods
•
•
•
•
•
ถัว่ เหลือง ที่ทนต่อยากาจัดวัชพืช และมีผลผลิตสู งกว่าปกติ
ข้าวโพด ที่ทนแมลงและยากาจัดวัชพืช
ฝ้าย BT ซึ่ งมีคุณสมบัติในการฆ่าหนอนเจาะสมอฝ้ายได้
มะละกอ ที่ตา้ นทานไวรัสได้
มะเขือเทศและแคนตาลูป ซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษ
ใน
การชะลอการสุ กงอม
ตัวอย่ำงอำหำร GM Foods
•
•
•
•
•
มันฝรั่ง ซึ่ งทนต่อแมลงและไวรัส
Sugar Beet ที่ทนต่อยากาจัดวัชพืช Glyphosate
Canola ที่ทนต่อยากาจัดวัชพืช Glufosinate
ผัก Radicchio rosso ที่เกสรตัวผูเ้ ป็ นหมัน
เอนไซม์ ไคโมซิน ที่ใช้ในการผลิตเนยแข็ง
กำรประเมินควำมปลอดภัยของ GM Foods
หลักกำรของควำมเท่ำเทียมกันในสำระสำคัญ
( Substantial Equivalence Concept )
หลักการของความเท่ าเทียมกันในสาระสาคัญ
1 ผลิตภัณฑ์อาหารที่แสดงว่ามีสาระสาคัญ
เท่ากันกับอาหารหรื อส่ วนประกอบของ
อาหารที่มีอยูเ่ ดิม
ข้อมูลที่ทำกำรประเมินประกอบด้วย
•
•
•
•
•
Host
Inserted DNA
Modified organism
Phenotype characteristics
Compositional comparison
หลักการของความเท่ าเทียมกันในสาระสาคัญ
2 ผลิตภัณฑ์อาหารที่แสดงว่ามีสาระสาคัญ
เท่ากันกับอาหารหรื อส่ วนประกอบของ
อาหารที่มีอยูเ่ ดิมเว้นแต่มีขอ้ แตกต่างที่
แสดงให้เห็นชัดเจน (defined differences)
หลักการของความเท่ าเทียมกันในสาระสาคัญ
3 ผลิตภัณฑ์อาหารที่แสดง
สาระสาคัญไม่เท่ากันกับอาหารหรื อ
ส่ วนประกอบของอาหารที่มีอยูเ่ ดิม
หลักกำรของควำมเท่ำเทียมกันในสำระสำคัญ
ในกรณี ที่แสดงความไม่เท่าเทียมกันใน
สาระสาคัญ ก็ไม่ได้หมายความว่าผลิตภัณฑ์ไม่
ปลอดภัย การทดสอบความปลอดภัยนั้นควรมีการ
ออกแบบกรณี ๆ ไป ตามคุณลักษณะอ้างอิงของ
อาหารหรื อส่ วนประกอบของอาหารนั้น และควร
มีการศึกษาปั ญหาเกี่ยวกับอาการแพ้ที่เกิดขึ้นจาก
ใช้เทคนิคการดัดแปลงสารพันธุกรรมในอาหาร
นั้นด้วย
Codex
• ในกำรควบคุม และแสดงฉลำกของอำหำรที่ได้
จำกกำรเปลี่ยนแปลงยีนนั้น ปัจจุบนั หน่วยงำน
ร่ วมของ WHO/FAO คือคณะกรรมำธิกำร
มำตรำฐำนอำหำรระหว่ำงประเทศ (Codex
Alimentation Commission) กำลังอยูใ่ นระหว่ำง
กำรกำหนดระเบียบและวิธีกำรในกำรควบคุม
สหรัฐอเมริกา
•
•
•
•
การเปลี่ยนแปลงยีน (Genetic Modification)
สารที่เป็ นพิษ (Toxicants)
สารอาหาร (Nutrients)
สารชนิดใหม่ (New substance)
กล่ มุ สหภาพยุโรป
• ให้มีการแสดงฉลากของผลิตภัณฑ์ที่มี หรื อ
ประกอบด้วย หรื อได้มาจาก “จีเอ็มโอ”
• ฉลากมีวตั ถุประสงค์ที่จะให้ขอ้ มูลแก่ผบู ้ ริ โภคที่
ชัดเจนเป็ นจริ ง และเป็ นกลาง
• กำรแสดงฉลำกบังคับ โดยอำศัยหลักกำรทำง
วิทยำศำสตร์
กล่ มุ สหภาพยุโรป
• เพื่อให้ปฏิบตั ิตำมได้อย่ำงง่ำย
• กำรแสดงฉลำกต้องมีควำมเหมำะสม
• มีกฎของการเสดงฉลากที่รัดกุม
กล่ มุ สหภาพยุโรป
• ผลิตภัณฑ์ที่ปราศจาก “จีเอ็มโอ” สามารถวางตลาด
โดยไม่ตอ้ งระบุในฉลาก
• สาหรับผลิตภัณฑ์ที่ผา่ นการรับรองว่าไม่มี “จีเอ็มโอ”
ถ้าต้องการระบุในฉลากจะต้องเป็ นไปตามข้อกฎของ
อียู
กล่ มุ สหภาพยุโรป
• สาหรับผลิตภัณฑ์ที่มี “จีเอ็มโอ” มีทางเลือกแสดง
ฉลาก 2 ทาง คือ
1. “ประกอบด้ วยวัตถุทเี่ ป็ นจีเอ็มโอ” สาหรับ
ผลิตภัณฑ์ที่มี “จีเอ็มโอ” และต้องพิสูจน์ดว้ ย
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
2. หรื ออีกแนวทางหนึ่ง เช่น “อาจประกอบด้ วย…”
คณะกรรมการว่ าด้ วยพืชเสนอทางเลือกใน
การแสดงฉลาก
• การสมัครใจแสดงฉลาก เช่น “ผลิตภัณฑ์ นี้ ไม่ ได้
ประกอบด้ วย…” สาหรับผลิตภัณฑ์ที่รับรองแล้วว่า
ปราศจากจีเอ็มโอ
• การบังคับแสดงฉลาก เช่น “ผลิตภัณฑ์ นี้ อาจ
ประกอบด้ วย…” ในกรณี ที่ไม่สามารถแยกวัตถุดิบได้
และไม่มีหลักฐานแสดง
คณะกรรมการว่ าด้ วยพืชเสนอหลักการแสดง
ฉลากGMOsใหม่
• มีการตั้งระดับปริ มาณจีเอ็มโอ ที่มีอยูใ่ น
ส่ วนประกอบของอาหารโดยบังเอิญ โดยกาหนด
เป็ นขั้นต่า 1 % สาหรับส่ วนประกอบของอาหาร
ซึ่งการแสดงฉลากปัจจุบนั ครอบคลุมถึงถัว่
เหลืองและข้าวโพด ถ้ามีการรับรองอาหารจีเอ็ม
โอชนิดใหม่ ก็จะต้องใช้หลักการเดียวกันนี้
ต่อ
• เกณฑ์ข้นั ต่า ที่เสนอนั้น ใช้ปฏิบตั ิเฉพาะสาหรับ
วัตถุที่เตรี ยมไว้สาหรับการบริ โภคของคน และใช้
เฉพาะในกรณี ดงั ต่อไปนี้
ที่มาของ “จีเอ็มโอ” ต้องเกิดจากเหตุบงั เอิญ
หมายความว่า ผูป้ ฏิบตั ิ ต้องแสดงหลักฐานว่า เขา
ได้พยายามหลีกเลี่ยงการใช้ “จีเอ็มโอ” แล้ว
ญีป่ ่ ุน
• พืช GMOs ซึ่งมีสาระสาคัญไม่เท่ากับอาหารที่มี
อยูเ่ ดิมตามธรรมชาติ และอาหารสาเร็ จรู ป ที่ผา่ น
กรรมวิธีผลิต ต้องมีการแสดงฉลาก โดยเฉพาะ
ถัว่ เหลือง ที่มี oleic acid สู ง ฉลากบังคับแสดงว่า
“High Oleic Acid/GMO”
ญีป่ ่ ุน
• อาหารที่มีปริ มาณของ GMOs เป็ นส่ วนประกอบ
จะต้องแสดงฉลากว่า GMO-used
• อาหารที่ไม่มีปริ มาณของ GMOs เป็ นส่ วนประกอบ
จะต้องแสดงฉลากว่า GMO non-separated
• แนวความคิดหลักในการควบคุม หรื อบริ หาร
จัดการ GMOs หรื อ ผลิตภัณฑ์จาก GMOs ให้
มีความปลอดภัย คือ
• “ความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosafety)”
• "ความปลอดภัยของอาหาร (food safety)"
ญีป่ ่ ุน
หลักการในการควบคุม 2 ประเด็นคือ
• การประเมินความปลอดภัยก่อนออกสู่ ท้องตลาด
• กระบวนการผลิตต้ องเป็ นไปตามมาตราฐาน
การแสดงฉลากอาหารที่ได้ จากการตัดแต่ งสาร
พันธุกรรมและอาหารทีม่ ีสารก่ อให้ เกิดการแพ้
• อาหาร (Designated Processed Foods) ที่ผลิตจาก
GM Applicable Crops ที่ปัจจุบนั ได้มีการตัดแต่ง
สารพันธุกรรม
• แสดงข้ อความ “genetically modified varieties
segregated”
• อาหาร (Designated Processed Foods) ที่ผลิตจาก
Applicable Crops ที่ไม่มีระบบการคัดแยกส่ วนที่
เป็ น GM และ Non – GM ในระหว่างการขนส่ งการ
ผลิตและการแปรรู ป
• แสดงข้ อความ “genetically modified varieties
not segregated”
• อาหาร (Designated Processed Foods) ที่ผลิตจาก
Non – GM Applicable crop ยืนยันว่ามีระบบการ
จัดการคัดแยก
• แสดงข้อความอย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อไปนี้
- แสดงชื่ อส่ วนประกอบ โดยไม่ มีวงเล็บ
- แสดงข้ อความ "non – genetically modified
varieties segregated”
ญีป่ ่ ุน
อาหารที่แสดงฉลาก แบ่งออกเป็ น 3 ชนิด ตามแผน คือ
1. อาหารที่เสริ มคุณค่าของอาหาร โดยผลิตขึ้นจากจีเอ็มโอ
2. อาหารจีเอ็มโอ ที่มีปริ มาณสารอาหารเพิม่ ขึ้น (อาหาร
ส่ วนมากที่ตอ้ งแสดงฉลาก จะตกอยูใ่ นกลุ่มนี้)
3. อาหารที่ไม่ทราบส่ วนผสมของวัตถุดิบจากธรรมชาติ และ
จากจีเอ็มโอ ต้องแสดงฉลาก แจ้งให้ผบู ้ ริ โภคทราบว่า มี
วัตถุดิบจากจีเอ็มโออยู่ แต่ไม่ได้แสดงรายละเอียด
เกาหลีใต้
• กาลังพิจารณาเลือกซื้อข้าวโพดจากประเทศจีน
แทนการซื้อจากสหรัฐอเมริ กา
• ใช้กฎหมายควบคุมคุณภาพการเกษตรและประมง
เพื่อควบคุมการแสดงฉลากจีเอ็มโอ เพื่อหลีกเลี่ยง
เมล็ดพืชจีเอ็มโอ
ออสเตรเลีย/นิวซีแลนด์
• ได้เสนอแนะมาตรฐานการบังคับใช้ฉลาก คล้าย
กับที่ใช้ในสหรัฐ ขึ้นอยูก่ บั สารก่อภูมิแพ้ และการ
เปลี่ยนแปลงของคุณภาพสารอาหาร และ
ส่ วนประกอบของอาหาร
สหภาพยุโรป (อียู)
• การบังคับใช้ฉลากสาหรับวัตถุดิบถัว่ เหลืองและ
ข้าวโพดจีเอ็มโอ ให้มีผลบังคับใช้ การควบคุมได้
กาหนดเฉพาะว่า ภาชนะบรรจุใด ผลิตขึ้นสาหรับ
ผลิตภัณฑ์ที่มี ถัว่ เหลืองและข้าวโพดจีเอ็มโอ
จะต้องมีอกั ษรแสดงอย่างชัดเจนว่า “ได้ รับการ
เปลีย่ นแปลงยีน”
แคนนาดา
• เป็ นประเทศที่ผลิตเมล็ดพืชจีเอ็มโอมากเป็ น
อันดับสอง รองจากอเมริ กา และกฎหมายการ
แสดงฉลากคล้ายๆกับสหรัฐอเมริ กา
เม็กซิโก
• เป็ นผูน้ าการผลิตแป้งข้าวโพด ประกาศว่า จะ
หลีกเลี่ยงการนาเข้าข้าวโพดดัดแปลงยีน ปี กลาย
เม็กซิโกนาเข้าข้าวโพดจากสหรัฐถึง 500 ล้าน
เหรี ยญ
บราซิล
• ผูพ้ ิพากษาประจารัฐในบราซิล สัง่ ห้ามการซื้อขาย
และการใช้เมล็ดถัว่ เหลือง
สหราชอาณาจักร
• มีความคืบหน้ามากที่สุดของกลุ่มอีย.ู ในการวาง
ระเบียบควบคุมการใช้จีเอ็มโอ ในกลุ่มอีย.ู รัฐบาล
อังกฤษกาหนดให้เดือนกันยายน 1999 เป็ นเดือนที่
บังคับใช้กฎหมาย ให้ภตั ตาคารทุกแห่ง และผู ้
จาหน่ายอาหาร ต้องแสดงฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร
จีเอ็มโอ
สหรัฐอเมริกา
• จะแสดงฉลากต่อเมื่อผลิตภัณฑ์ประกอบด้วยสาร
ภูมิแพ้ที่รู้จกั และอยูใ่ นส่ วนประกอบของอาหารที่
ถูกเปลี่ยนแปลง
ข้ อดีของ GMOs
• ทำให้เกิดสำยพันธ์ใหม่ที่มีควำมต้ำนทำนต่อ
สภำพแวดล้อม
• ทำให้เกิดพืชสำยพันธ์ใหม่ที่มีคุณสมบัติเหมำะแก่
กำรเก็บรักษำเป็ นระยะเวลำนำน
ข้ อดีของ GMOs
• ทำให้เกิดธัญพืช ผัก หรื อผลไม้ที่มีคุณสมบัติ
เพิม่ ขึ้นในทำงโภชนำกำร
• ทำให้เกิดพันธ์พืชใหม่ๆ ที่มีคุณค่ำในเชิงพำณิ ชย์
• คุณสมบัติชองพืชทำให้ลดกำรใช้สำรเคมี
ข้ อเสี ยของ GMOs
• สำรอำหำรที่มีกำรปนเปื้ อนจำก GMOs อำจมีสิ่ง
ปนเปื้ อนที่เป็ นอันตรำย
• ควำมกังวลในเรื่ องกำรเป็ นพำหะของสำรพิษ
• สำรอำหำรจำก GMOs อำจมีคุณค่ำทำง
โภชนำกำรไม่เท่ำกับอำหำรปกติในธรรมชำติ
• ควำมกังวลต่อกำรเกิดสำรภูมิแพ้
ข้ อเสี ยของ GMOs
• สำรพิษบำงชนิดที่ใช้ปรำบศัตรู พืช เช่น Bt toxin
อำจมีผลกระทบต่อแมลงที่มีประโยชน์ชนิดอื่น
• ควำมกังวลต่อกำรถ่ำยเทยีนออกสู่ สิ่งแวดล้อม
• เกิดการชี้นากสิ กรรมของโลกโดยบริ ษทั ฯผูผ้ ลิต
เมล็ดพันธ์ที่ได้จากการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม
Bt = Bacillus thuringiensis
ความหวัน่ วิตกเกีย่ วกับเรื่ องของหน่ วยพันธุกรรม
• ทาให้ความหลากหลายของหน่วยพันธุกรรมลดลง
• ถ้ามีการ Integrate ของ gene จาก GMOs เข้าไปใน cells
ของมนุษย์ จะทาให้มนุษย์ และสัตว์มีความต้านทานต่อ
สาร antibiotic
ความหวัน่ วิตกเกีย่ วกับเรื่ องของหน่ วยพันธุกรรม
• ถ้าเกิดความผิดพลาดในการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม
แล้ว จะไม่สามารถถ่ายหรื อล้างกลับได้ และจะคงอยูก่ บั
สิ่ งมีชีวติ ใหม่และแพร่ พนั ธ์ต่อไปตลอดทุกชัว่ อายุ
• เกิดการทาลายแมลง นก สัตว์ป่า ฯลฯ โดยธัญพืชพันธ์
ใหม่ที่จะขยายและกระจายไปทัว่ โลกโดยไม่สามารถ
ควบคุมได้
GMOs กับ ประเทศไทย
• การผลิตอาหารใช้วธิ ี การปกติ ซึ่ งไม่ใช่การตัดต่อสาร
พันธุกรรม จะเป็ นจุดแข็งของประเทศไทย
• สาหรับการผลิตอาหารที่ได้จากการตัดต่อสารพันธุกรรม
พัฒนาอยูใ่ นระดับงานวิจยั ยังไม่สามารถแข่งขันกับ
ประเทศที่พฒั นาแล้ว เช่น สหรัฐฯ ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น หาก
ไทยยอมรับอาหารที่ได้จาก GMOs นี้ เกษตรกรหรื อ
ผูผ้ ลิตอาหารของไทยน่าจะเป็ นฝ่ ายซื้ อเทคโนโลยี
GMOs กับ ประเทศไทย
• หากเป็ นอาหาร GMOs นาเข้ามาในประเทศไทยเพื่อ
แปรรู ปเป็ นอาหารสาเร็ จรู ปแล้วส่ งออก จะต้องแสดง
ในฉลากด้วย ซึ่งจะมีอุปสรรคทางการค้าในอนาคตได้
• สาหรับการปลูกพืช GMOs ในภาคเกษตรจะทาให้มี
การเพาะปลูกปะปนกันระหว่างพืช ที่มาจากวิธีทวั่ ไป
และมาจาก GMOs ทาให้ไม่สามารถจะควบคุมกากับ
ได้ในกรณี เกษตรกรรมของประเทศไทย
• กำรประชำพิจำรณ์ “จุดยืนของสังคมไทยต่อ
GMOs”
• วันที่ 25 สิ งหำคม 2544 เวลำ 8.30 17.00 น.
• ณ. Impact Arena เมืองทองธำนี
• รำยละเอียด 02-6425322-31 ต่อ
125,206