การประชุมวิชาการเรื่ อง ปั ญหาใหญ่ สุขภาพเด็กไทยที่ถูกละเลย จัดโดย ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ แห่ งประเทศไทย สมาคมกุมารแพทย์ แห่ งประเทศไทย และสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริมสุขภาพ (สสส.) • สารตะกั่วมีอยู่ตามธรรมชาติในเปลือกโลก • เป็ นโลหะหนักมีพษิ ไม่ มีประโยชน์ ต่อร่ างกาย •

Download Report

Transcript การประชุมวิชาการเรื่ อง ปั ญหาใหญ่ สุขภาพเด็กไทยที่ถูกละเลย จัดโดย ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ แห่ งประเทศไทย สมาคมกุมารแพทย์ แห่ งประเทศไทย และสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริมสุขภาพ (สสส.) • สารตะกั่วมีอยู่ตามธรรมชาติในเปลือกโลก • เป็ นโลหะหนักมีพษิ ไม่ มีประโยชน์ ต่อร่ างกาย •

การประชุมวิชาการเรื่ อง ปั ญหาใหญ่ สุขภาพเด็กไทยที่ถูกละเลย
จัดโดย ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ แห่ งประเทศไทย สมาคมกุมารแพทย์ แห่ งประเทศไทย
และสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริมสุขภาพ (สสส.)
1
• สารตะกั่วมีอยู่ตามธรรมชาติในเปลือกโลก
• เป็ นโลหะหนักมีพษิ ไม่ มีประโยชน์ ต่อร่ างกาย
• มีการใช้ ในอุตสาหกรรมการผลิตหลายอย่ าง
o แบตเตอรี่ แบบตะกั่ว-กรดสาหรั บรถยนต์ สี
และผงสี ตะกั่วบัดกรี ลูกกระสุน สารเคลือบ
เซรามิก เครื่องประดับ ของเล่ น เครื่องสาอาง
และยาพืน้ บ้ านบางชนิด และใช้ ผสมในนา้ มัน
เบนซินในบางประเทศ
• กระบวนการผลิต การใช้ และการกาจัด ล้ วนทา
ให้ เกิดการปนเปื ้ อนสารตะกั่วในสิ่งแวดล้ อม
และทาให้ ตะกั่วเข้ าสู่ร่างกายคนได้
• อันตราย: อาจทาให้ เกิดผลกระทบเรือ้ รังและ
บั่นทอนสุขภาพของผู้ใหญ่ และเด็ก โดยเฉพาะ
เด็กเล็กวัยต่ากว่ า 6 ขวบ และทารกในครรภ์
• ถ้ าได้ รับปริมาณสูง จะมีผลเฉียบพลันคือ
ทาลายระบบประสาทส่ วนกลาง หมดสติ ชัก
กระตุก และอาจเสียชีวิตได้
2
องค์การอนามัยโลกประกาศ..
• ในปี พ.ศ. 2549
• สารตะกั่วเป็ น 1 ใน 10 สารเคมีหลักที่ก่อปั ญหาด้ านสาธารณสุข
• เป็ นสาเหตุการตายของคนปี ละ 143,000 คน หรือโรคนีก้ ่ อให้ เกิดภาระที่โลกต้ อง
แบกรับประมาณร้ อยละ 0.6
• “โรคปั ญญาอ่ อนจากสารตะกั่ว” ติดอันดับ 1 ใน 10 โรคร้ ายแรงที่สุดจาก
สภาพแวดล้ อมที่ปนเปื ้ อนสารตะกั่ว ซึ่งเป็ นภัยที่สามารถป้องกันได้
• แต่ ละปี มีเด็กรายใหม่ ๆ ที่เป็ นโรคปั ญญาอ่ อนจากสารตะกั่วกว่ า 600,000 คน และ
ร้ อยละ 99 เป็ นเด็กในประเทศที่มีรายได้ ปานกลางและรายได้ ต่า
• ในปี พ.ศ. 2553
• ไม่ มีระดับการได้ รับสารตะกั่วที่ปลอดภัยต่ อสุขภาพไม่ ว่าเด็ก
หรือผู้ใหญ่
(ประเทศไทยกำหนด “ค่ ำทีย่ อมรั บได้ ” ของสำรตะกั่วในเลือด
ของเด็กไว้ ที่ 10 ไมโครกรั มต่ อเดซิลิตร)
3
• พิษตะกั่วเป็ นภัยใกล้ ตัวที่เป็ นจริง แต่ ป้องกันได้ ด้วย
มาตรการควบคุมการใช้ สารตะกั่ว การติดตามตรวจสอบ
และการดูแลหากเราได้ รับสารตะกั่ว
• แหล่ งสาคัญของพิษตะกั่วต่ อสุขภาพในอดีตคือ สารตะกั่ว
ที่ผสมในนา้ มันเบนซิน ปั จจุบันประเทศส่ วนใหญ่ เลิกใช้
แล้ ว (ญี่ปนยกเลิ
ุ่
กเป็ นประเทศแรกเมื่อปี พ.ศ. 2529)
• ปั จจุบัน สีตะกั่วเป็ นแหล่ งสาคัญของพิษตะกั่ว โดยเฉพาะ
ต่ อเด็กและคนงาน
o งานวิจัยในสหรัฐอเมริกาปี พ.ศ. 2552 ยืนยันว่ าสีทาบ้ านที่
มีสารตะกั่วเป็ นต้ นเหตุโรคพิษตะกั่วของเด็กใน
สหรัฐอเมริกา
o งานวิจัยในออสเตรเลีย โปรตุเกส และอินเดีย ระบุว่าสาร
ตะกั่วในสีทาบ้ านมีความเกี่ยวข้ องกับระดับตะกั่วในเลือด
เด็กสูง
4
• เด็กเล็กวัยต่ากว่ า 6 ขวบ มีความเสี่ยงมากกว่ าผู้ใหญ่ เพราะระบบทางเดินอาหาร
ของเด็กดูดซึมสารตะกั่วได้ มากถึงร้ อยละ 50 ขณะที่ร่างกายผู้ใหญ่ ดูดซึมเพียงร้ อย
ละ 10
• ร่ างกายเด็กที่มีภาวะทางโภชนาการไม่ สมบูรณ์ จะดูดซึมสารตะกั่วได้ สูงกว่ าเด็ก
ปกติ
• สมองของเด็กอยู่ในช่ วงของการเติบโต พัฒนา และแยกแยะสิ่ง
ต่ างๆ อย่ างรวดเร็ว สารตะกั่วจะเข้ าไปขัดขวางกระบวนการ
พัฒนาเซลล์ ต่างๆ เหล่ านี ้
• ทารกในครรภ์ เป็ นกลุ่มเปราะบางที่สุด สตรี มีครรภ์ ควร
หลีกเลี่ยงการได้ รับฝุ่ นตะกั่ว
• เด็กที่รอดชีวิตจากพิษตะกั่วแบบเฉียบพลันมักมีความบกพร่ อง
ทางสติปัญญาและความผิดปกติทางพฤติกรรมไปตลอดชีวิต
5
• พฤติกรรมเด็กที่มักหยิบของเข้ าปากหรื ออม
สิ่งของ จึงมีโอกาสกินฝุ่ นและดินที่เปื ้ อนสาร
ตะกั่ว โดยเฉพาะการเล่ นบนพืน้ หรือในห้ อง
ที่ทาสีผสมสารตะกั่วและมีสีเสื่อมสภาพหลุดลอกออกมา แผ่ นสีท่ ลี อกออกมาเป็ น
อันตรายต่ อเด็กมาก เด็กยังอาจจะหายใจ
เอาฝุ่ นสีท่ มี ีสารตะกั่วปลิวกระจายทัง้ ในและ
นอกอาคาร
• WHO ชีว้ ่ า เฉลี่ยแล้ วเด็กอาจกลืนฝุ่ นและ
ดินรอบตัวโดยไม่ ตัง้ ใจประมาณวันละ 100
มก.
• ผู้ใหญ่ เช่ น คนงาน ได้ รับจากการหายใจ
และสูดฝุ่ นสีท่ ฟ
ี ้ งกระจายระหว่
ุ
างการขูด
ลอกสีเก่ า หรือสีท่ หี ลุดลอกตามอายุ
6
• “สีตะกั่ว” คือ สีท่ มี ีสารประกอบของตะกั่ว
เป็ นส่ วนผสมอย่ างน้ อยหนึ่งชนิด
• “สี” ตามคานิยามนีร้ วมถึง วาร์ นิช แลกเกอร์
สีย้อมพืน้ และผนัง สีเคลือบเงา สีเคลือบ
เซรามิก สีรองพืน้ เหล็กและคอนกรีต และ
วัสดุเคลือบพืน้ ผิวอื่นๆ
• สารประกอบของตะกั่วนามาใช้ เป็ นส่ วนผสม
ของสารเร่ งแห้ ง สารเร่ งปฏิกริ ิยาทางเคมีใน
สีนา้ มัน เพื่อทาให้ สีแห้ งไวขึน้ สม่าเสมอขึน้
ใช้ ผสมในสารกันสนิมเพื่อชะลอการเกิดสนิม
และการสึกหรอ เป็ นต้ น
• สร้ างความเสียหายทางเศรษฐกิจทัง้ ทางตรงและทางอ้ อม (ค่ าใช้ จ่ายในการรั กษา
สุขภาพ สูญเสียศักยภาพทางเศรษฐกิจจากประชากรที่มีสติปัญญาบกพร่ อง ฯลฯ)
• กลุ่มประเทศ เช่ น ออสเตรเลีย อังกฤษ และสหรั ฐฯ พบข้ อมูลยืนยันถึงอันตราย
จากการใช้ สีตะกั่ว และพยายามแก้ ปัญหามานาน เช่ น
o
o
o
เผยแพร่ ข้อมูลแก่ ประเทศอื่นๆ เพื่อป้องกันความผิดพลาดซา้ ซ้ อนแก่ ประเทศอื่น
ปรั บปรุ งกฎหมายและอื่นๆ เพื่อคุ้มครองสุขภาพของประชาชนตัง้ แต่ ช่วง ค.ศ. 1970 (พ.ศ.
2513) และ 1980 (พ.ศ. 2523) เป็ นต้ นมา (เช่ น มีมาตรฐานบังคับปริมาณสารตะกั่วในสีไม่ ให้
เกิน 90 พีพีเอ็ม รวมถึงห้ ามการผลิต นาเข้ า จาหน่ าย หรื อใช้ สีท่ ีมีสารตะกั่วสาหรั บภายในและ
ภายนอกอาคารที่อยู่อาศัย สถาบันการศึกษา เป็ นต้ น)
เลิกใช้ สารตะกั่วในการผลิตสี และใช้ สารทดแทนที่ปลอดภัยกว่ า
• ต้ นทุนทางเศรษฐกิจจากการเลิกใช้ สารตะกั่วในการผลิตสีหลายประเภทลดต่าลง
เนื่องจากผู้ผลิตสีหลายรายสามารถเปลี่ยนสูตรการผลิตสีโดยไม่ ต้องเติมสารตะกั่ว
ได้ สาเร็จ
• ร่ วมมือกับโครงการสิ่งแวดล้ อมแห่ งสหประชาชาติ (United Nations Environment
Program - UNEP) ก่ อตัง้ เครื อข่ ายความร่ วมมือระดับโลกเพื่อเพิกถอนสารตะกั่ว
จากสี (Global Alliance to Eliminate Lead Paint - GAELP) ในปี พ.ศ. 2552
o จุดประสงค์ คือ ต้ องการกระตุ้นให้ เกิดความร่ วมมือเพื่อบรรลุเป้าหมายระดับ
โลกในการป้องกันเด็กจากการสัมผัสสารตะกั่วในสี และเพื่อลดการรั บสาร
ตะกั่วจากสภาพแวดล้ อมในการทางาน
o วัตถุประสงค์ เชิงภาพรวมคือ การส่ งเสริ มให้ ยกเลิกการผลิต การจาหน่ ายสีท่ ม
ี ี
ส่ วนผสมของสารตะกั่ว และนาไปสู่การกาจัดอันตรายจากสีตะกั่วในที่สุด
• พัฒนาคู่มือการป้องกันและจัดการพิษตะกั่ว
• สนับสนุนให้ ประเทศสมาชิกมีมาตรการคุ้มครองสุขภาพของคนงาน เด็ก และสตรี
ในวัยเจริญพันธุ์จากพิษตะกั่ว
• เครื อข่ ายความร่ วมมือระดับโลกเพื่อเพิกถอนสารตะกั่วจากสี (GAELP) ซึ่งมี
องค์ การอนามัยโลกทางานร่ วมกับโครงการสิ่งแวดล้ อมแห่ งสหประชาชาติ
(United Nations Environment Program - UNEP)
• องค์ กรภาคีหลักอื่นๆ ได้ แก่
o สมาคมกุมารแพทย์ สากล (International Pediatrics Association - IPA)
o ศูนย์ ควบคุมและป้องกันโรคแห่ งสหรั ฐฯ (United States Centers for
Disease Control and Prevention- US CDC)
o สานักงานคุ้มครองสิ่งแวดล้ อมแห่ งสหรั ฐฯ (United States Environmental
Protection Agency- US EPA)
• ประเทศสมาชิกขององค์ การอนามัยโลก ภาควิชาการ และภาคประชาชนใน
แต่ ละประเทศ
• สีตะกั่วมีอันตรายเมื่อเริ่มเสื่อมสภาพ กลายเป็ นฝุ่ น หรือหลุดออกเป็ นแผ่ น
• การลอกสีด้วยการขัดหรือด้ วยความร้ อน
• ทาให้ บ้านหรืออาคารปนเปื ้ อนสารตะกั่วจากแผ่ นสีและฝุ่ นสีตะกั่ว
• ความร้ อนหรื อการเผาสีตะกั่ว ทาให้ เกิดควันที่มีสารตะกั่ว ร่ างกายอาจหายใจเข้ าไปได้
• ควรใช้ หน้ ากากปิ ดจมูกทุกครั ง้ เมื่อมีการลอกสี
• วิธีลดอันตรายจากสารตะกั่ว ได้ แก่
– ระยะสัน้ คือ คอยซ่ อมแซมพืน้ ผิวสีท่ ีสึกหรอ และทาสีใหม่ ด้วยสีท่ ีไม่ มีสารตะกั่ว และหมั่นทาความ
สะอาดพืน้ เพื่อลดปริมาณฝุ่ น และทาความสะอาดร่ างกายเมื่อเสร็จงานขูดลอกสี
– ระยะยาวคือ ลอกสีเก่ าออกทัง้ หมด และหากเป็ นไปได้ ควรเป็ นการกาจัดสีด้วยผู้ท่ มี ีความรู้ เฉพาะ
ทาง และควรพักอาศัยที่อ่ นื ชั่วคราวจนกว่ างานกาจัดสีจะเสร็จสิน้
• เลือกใช้ สีนา้ แทนสีนา้ มัน และหลีกเลี่ยงการใช้ สีนา้ มันโทนสีสด เช่ น สีแดง ส้ ม เหลือง
• หน่ วยงานรัฐควรมีข้อมูลที่เกี่ยวข้ องเพื่อให้ คาแนะนาแก่ ประชาชน และมีมาตรการ
เรื่องฉลากผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ ผ้ ูบริโภคได้ ตัดสินใจ
การผลักดันทางนโยบายผ่ านการศึกษาเรื่องปริมาณสารตะกั่วในผลิตภัณฑ์ สีทา
อาคาร ระหว่ างปี พ.ศ. 2552 – ปั จจุบัน รวม 4 โครงการ ได้ แก่
• โครงการ Global Study to Determine Lead in New Decorative Paint ใน 10
ประเทศ ที่ดาเนินการโดย Toxics Link ของอินเดีย ร่ วมกับเครือข่ ายความ
ร่ วมมือระหว่ างประเทศเพื่อเพิกถอนสารพิษตกค้ างยาวนาน (International
POPs Elimination Network: IPEN)และองค์ กรพัฒนาเอกชนใน 10 ประเทศ
(2551-2552)
• โครงการศึกษาปริมาณสารตะกั่วในสีทาอาคารร่ วมกับมหาวิทยาลัยซินซิน
เนติ สหรัฐอเมริกา (2553-2554)
• โครงการเพิกถอนสารตะกั่วในสีเอเชีย (Asian Lead Paint Elimination
Project) ร่ วมกับ IPEN และองค์ กรพัฒนาเอกชนในอีก 7 ประเทศของ
ภูมภิ าคเอเชีย (2555-2558)
• โครงการป้องกันภัยจากพิษตะกั่ว: การขับเคลื่อนเพื่อเพิกถอนสารตะกั่วจาก
ผลิตภัณฑ์ สีทา (2556-2557)
12
ผลวิเคราะห์ ผลิตภัณฑ์ สีจากการสุ่มตัวอย่ างในปี พ.ศ. 2556
จานวน 120 ตัวอย่ าง จาก 68 ยี่ห้อ
จำนวน
ต ัวอย่ำง
ร้อยละของส ี
ทีม
่ ส
ี ำรตะกว่ ั
ไม่เกิน
100 พีพเี อ็ ม
ร้อยละของส ี
ทีม
่ ส
ี ำรตะกว่ ั
เกิน
100 พีพเี อ็ ม
ร้อยละของส ี
ทีม
่ ส
ี ำรตะกว่ ั
เกิน
10,000 พีพเี อ็ ม
ค่ำสำรตะกว่ ั
สูงสุด
ทีต
่ รวจพบ
(พีพเี อ็ม)
120
21
79
40
95,000
ี ด
โทนสส
(เน้นส ี
เหลือง)
68
7
93
71
95,000
ี ำว
โทนสข
52
38
62
0
9,500
ี งหมด
สท
ั้
ประกาศค่ ามาตรฐานสมัครใจของไทยสาหรับปริมาณสารตะกั่วสูงสุด พ.ศ. 2553 อนุญาตให้ มีสารตะกั่วในสีนา้ มัน
ได้ ไม่ เกิน 100 พีพเี อ็ม (ส่ วนในล้ านส่ วน) ประกาศฉบับเดิมกาหนดให้ มีได้ ไม่ เกิน 600 พีพเี อ็ม
13
ปริมาณตะกั่วในสีนา้ มันโทนสีสด 68 ตัวอย่ าง
26 ppm
เฉลี่ย 32,301 ppm
100 ppm
95,000 ppm
10,000 ppm
14
ปริมาณตะกั่วในสีนา้ มันโทนสีขาว 51 ตัวอย่ าง
< 9 ppm
เฉลี่ย 1,840 ppm
9500 ppm
100 ppm
15
ตัวอย่ างฉลากและการให้ ข้อมูลสารตะกั่วแก่ ผ้ ูบริโภค
• 29 ตัวอย่ างมีการให้ ข้อมูลบนภาชนะบรรจุว่า ไม่ ผสมสารตะกั่ว
• ในจานวน 29 ตัวอย่ าง มี 17 ตัวอย่ างที่ตรวจพบปริมาณตะกั่วเกินค่ ามาตรฐาน
สมัครใจของ สมอ. (เกิน 100 พีพเี อ็ม) ซึ่งเป็ นการให้ ข้อมูลไม่ ตรงความจริ ง
16
ตัวอย่ างสีนา้ มันทาอาคารที่มีสารตะกั่วไม่ เกิน 100 พีพีเอ็ม : กลุ่มสีสด
Sample
number
Product Name
Color
Lot no.
THA 149
SUPER-K
High Gloss Enamel
Parade Blue SK
303
Batch 109025
THA 199
4 Seasons
High Gloss Enamel
Scarlet Medium
F 1103 (Red)
Lot. 383624 1207
THA 100
ICI Supercote
Yellow
(45YY51/758)
Base 5: A395-CS5
THA 117
CAPTAIN High Gloss Enamel
Superior Finish
Frosted lime 319
Lot. 24710005
THA 146
JOTUN Gardex Premium
Enamel
Zinc Yellow 1018
Base B: 10/07/12 Lot.
2X2MBSAUA
17
ตัวอย่ างสีนา้ มันทาอาคารที่มีสารตะกั่วไม่ เกิน 100 พีพีเอ็ม : กลุ่มสีขาว
Sample
number
THA 128
Brand / Product Name
Color
Lot no.
RUST-OLEUM Protective Enamel
White 2766
THA 148
JOTAGLOSS
Candle White 1052
Lot. 1310802 Mfg. 080113
Base A: 04/07/12 Lot.
2Y6MAWDRA
THA 206
Mandarin Duck Synthetic Gloss Enamel
Paint
White M 111
Batch. 121115102
THA 101
ICI Supercote
White 5130296 A395-250
Bx. P 301248177
THA 119
National Gloss Synthetic Resin Enamel
White 101
Batch. 552021492 Mfg.11-2012
THA 193
DENZO Synthetic Gloss Enamel
White D 600
Lot. 374201 Mfg. 080113
THA 182
SISTO Super High Gloss Enamel
White S-100
Lot. 1461
THA 210
THA 116
THA 130
THA 204
THA 191
THA 198
THA 107
THA 200
THA 171
THA 169
TOA Flat Enamel
MARK Gloss Enamel
DYNO Pro Gloss Enamel
KOBE Gloss Synthetic Enamel
FTALIT Synthetic Resin Enamel
HUNTER Synthetic Enamel
Beger Shield Super Gloss Enamel
4 Season High Gloss Enamel
BODELAC 1000 Synthetic Resin Enamel
TURBO Gloss Enamel
THA 147
JOTUN Gardex Premium Enamel
THA 209
THA 215
TOA Super High Gloss Enamel Glipton
LOBSTER Synthetic Resin Gloss Enamel
Flat White F222
White 0M810
White G 100
White K500
White 531
White 200
Primrose White B 008
White F 1000
White 900
Sky White G 5011
Antique White (1016/S2005Y20R)
White G 100
White
Batch. 121219101
Lot. 1209209614
Lot. S12120704 Mfg. 111212
Batch. 130212101
Lot 2010879 Mfg. 1/2/12
Lot. 1-6235
Base A: 050113 Mfg. 20/02/13
Lot. 399255 0908
Lot. 20091208 Mfg.15.12.2009
Batch 0601424 Mfg. 23.1.2006
Base A: 17/01/13 Lot.
2X2MAWAUA
Batch 120809101
n/a
18
• ประเทศไทยเริ่มกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (มอก.) แบบสมัครใจสาหรับ
ปริมาณสารตะกั่วในสีในปี พ.ศ. 2521 โดยเริ่มจากสีนา้ (หรือสีอีมัลชั่น)
• ปั จจุบัน มาตรฐานสมัครใจสาหรับปริมาณสารตะกั่วในสีนา้ คือ 100 พีพเี อ็ม ครอบคลุม
สีหลายประเภท: สีใช้ งานทั่วไป สีทนสภาวะอากาศ สีพองตัวกันไฟ สีลดความร้ อนจาก
แสงอาทิตย์ และสีเคลือบเงาชนิดนา้
• พ.ศ. 2553 สมอ. ปรับปรุ งมาตรฐานสมัครใจสาหรับปริมาณสารตะกั่วในสีนา้ มันจาก
600 พีพเี อ็ม เป็ น 100 พีพเี อ็ม สาหรับสีนา้ มันเคลือบเงาและสีนา้ มันเคลือบด้ าน
• ปั จจุบัน (ก.พ. 57) สมอ. ทาร่ างมาตรฐานบังคับ (ผ่ านความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการมอก. แล้ ว) และกาลังดาเนินการจัดทาประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ต่ อไป
• ผู้ผลิตสีบางรายในประเทศไทยริเริ่มผลิตสีปลอดสารตะกั่วตัง้ แต่ ช่วง พ.ศ. 2520
• ผู้ผลิตสีจานวนมากยินดีเลิกการใช้ สารตะกั่ว หากรั ฐบาลมีนโยบายชัดเจนและ
มีมาตรการช่ วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs
19
ข้ อเสนอถึงรั ฐบาล
• มีมาตรฐานบังคับ เรื่ องปริ มาณสารตะกัว่ ในผลิตภัณฑ์สีน ้ามันทาอาคาร ไม่เกิน
100 พีพีเอ็ม ในอนาคต
• มีมาตรการด้ านฉลากผลิตภัณฑ์ ให้ แสดงข้ อมูลอันตรายของสารตะกัว่ และฝุ่ นสีที่
มีสารตะกัว่ และแสดงปริ มาณสารตะกัว่ ในผลิตภัณฑ์สีทาบ้ าน ภายในปี พ.ศ. 2557
• มีมาตรการสนับสนุนผู้ประกอบการขนาดเล็กและขนาดกลาง (SMEs)จาก
ภาครัฐเพื่อให้ ผ้ ปู ระกอบการ SMEs สามารถเปลี่ยนสูตรการผลิตและจาหน่าย
ผลิตภัณฑ์สีที่มีสารตะกัว่ ต่าหรื อปลอดสารตะกัว่
• มีการติดตามและกากับตลาดสีทาบ้ านจากหน่วยงานรัฐเพื่อประเมินผลการ
บังคับใช้ กฎหมายและความปลอดภัยของผู้บริ โภค
• สร้ างความตื่นตัวให้ มากขึน้ แก่ สาธารณะเกี่ยวกับอันตรายจากสารตะกั่วใน
ผลิตภัณฑ์ สีต่อสุขภาพคนและสิ่งแวดล้ อม
20
1 พฤศจิกายน 2555
คณะกรรมาธิการการอุตสาหกรรม สภาผู้แทนฯ มีหนังสือด่ วนที่สุดถึงรัฐบาล เสนอให้ :
• สคบ. เพิ่มบทบาทสอดส่ องผู้จาหน่ ายผลิตภัณฑ์ สีตะกั่วเกินมาตรฐาน และ
ประชาสัมพันธ์ แก่ ผ้ ูบริโภคถึงอันตรายของตะกั่วและสารอื่นๆ ในผลิตภัณฑ์ สีและของ
เล่ น
• สมอ. กาหนดให้ มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ สีทกุ ชนิดเป็ นมาตรฐานบังคับ และกาหนด
มาตรฐานสารพิษในผลิตภัณฑ์ สี เช่ น ตะกั่ว สารหนู ฯลฯ ที่จะไม่ ส่งผลกระทบต่ อสุขภาพ
• โรงเรียนภายใต้ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และ อปท. เลือกใช้ ผลิตภัณฑ์ สีท่ ไี ด้ รับ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม และขอให้ ประชาสัมพันธ์ แก่ เด็กนักเรียนเรื่ องการ
เลือกใช้ ผลิตภัณฑ์ ท่ ปี ลอดภัย
• การจัดซือ้ จัดจ้ างของหน่ วยงานราชการเลือกใช้ ผลิตภัณฑ์ สีท่ ไี ด้ รับมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม
จำกหนังสือคณะกรรมำธิกำรกำรอุตสำหกรรม ด่ วนที่สุด ที่ 10604/2555 ลงวันที่ 1 พฤศจิกำยน 2555
26 มีนาคม 2556: สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติจัดทาข้ อเสนอต่ อรั ฐบาล
เรื่อง “ตะกั่วในสีทาอาคาร: ภัยที่ป้องกันได้
20 สิงหาคม 2556
คณะรัฐมนตรีมีมติรับรองข้ อเสนอของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ โดย
เสนอให้ หน่ วยงานราชการที่เกี่ยวข้ องเร่ งดาเนินการแก้ ปัญหาสารตะกั่วในผลิตภัณฑ์
สีตามข้ อเสนอดังกล่ าว อาทิเช่ น
• ให้ สมอ. กาหนด “มาตรฐานบังคับ” เรื่องปริมาณสารตะกั่วในสีนา้ มันทาอาคาร
ภายในสิน้ ปี พ.ศ. 2556
• ให้ สถาบันการศึกษาของรัฐทัง้ หมดใช้ เฉพาะสีท่ มี ีสารตะกั่วไม่ เกิน 90 พีพเี อ็ม
• ให้ สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคกาหนดมาตรการบังคับทางฉลาก เพื่อ
ระบุปริมาณสารตะกั่วในสีทาอาคาร ภายในสิน้ ปี พ.ศ. 2556
มูลนิธิบูรณะนิเวศ (Ecological Alert and Recovery Thailand: EARTH)
ผู้สนใจ สามารถดาวน์ โหลดผลการศึกษาปริมาณสารตะกั่วในสี พ.ศ. 2556
และข้ อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องได้ ท่ ี
Facebook: www.facebook.com/Burananives.EARTHailand
Website: http://ThaiEcoAlert.org
23