ปลอกเหล็ก (Casing)

Download Report

Transcript ปลอกเหล็ก (Casing)

การก่อสร้างฐานรากโดยเสาเข็มเจาะ
กรณี ศึกษา โครงการ ศุภาลัยปาร์ค@รัชโยธิน
การก่อสร้างฐานรากโดยเสาเข็มเจาะ
 เครื่ องจักรและเครื่ องมือที่ใช้ในการก่อสร้าง
 การตรวจเช็คตาแหน่งก่อนการก่อสร้าง
 ขั้นตอนในการก่อสร้าง
 ข้อกาหนดต่างๆในการก่อสร้าง
เครื่ องจักรและเครื่ องมือที่ใช้ในการก่อสร้าง
กล้ อง Total station
Tremie pipe
Vibrohammer
Kelly bar
เครื่ องจักรและเครื่ องมือที่ใช้ในการก่อสร้าง
Slurry สารละลาย Bentonite
เหล็กเสริม
คอนกรีต
Bucket, Auger
ปลอกเหล็ก Steel casing
เครื่ องจักรและเครื่ องมือที่ใช้ในการก่อสร้าง

กล้อง Total station
ในการตรวจเช็คตาแหน่ งของเสาเข็ม สามารถใช้ กล้อง Theodolite หรือใช้
กล้อง Total station ได้ แต่ ทเี่ ป็ นที่นิยม มักจะใช้ กล้อง Total station เพราะมีความ
สะดวก และมี function การใช้ งานทีห่ ลากหลายกว่ า
เครื่ องจักรและเครื่ องมือที่ใช้ในการก่อสร้าง

Tremie pipe
ท่ อ Tremie ใช้ สาหรับเทคอนกรีต ลงไปในเสาเข็ม มีเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง 6-12
นิว้ เชื่อมต่ อกันด้ วยระบบเกลียว ท่ อ Tremie จะหย่ อนลงไปถึงก้ นหลุม เพือ่ ส่ ง
คอนกรีตลงไปยังใต้ หลุมและดัน สารละลายขึน้ มาทางปากหลุม
เครื่ องจักรและเครื่ องมือที่ใช้ในการก่อสร้าง

Vibrohammer
เครื่องหัวเขย่ า ทีม่ คี วามถี่ในการสั่ นสู งมาก จะทาหน้ าทีค่ บี ปลอก Casing
และกดลงไปในดินตามตาแหน่ งที่กาหนด
เครื่ องจักรและเครื่ องมือที่ใช้ในการก่อสร้าง

Kelly bar
คือก้านเจาะทีเ่ ป็ นแบบ Telescopic ซึ่งสามรถเจาะลงไปในดินในแนวดิ่งได้
ตรงและมีความสมา่ เสมอ ตลอดทั้งความยาวของเสาเข็ม
เครื่ องจักรและเครื่ องมือที่ใช้ในการก่อสร้าง

Bucket และ Auger
เป็ นหัวเจาะทีต่ ดิ อยู่ทปี่ ลายก้ าน Kelly bar ซึ่งใช้ งานแตกต่ างกัน โดยที่หัว
เจาะแบบ Auger(สว่ าน) จะใช้ สาหรับการเจาะแบบ Dry process ในชั้นดินที่ไม่ มี
นา้ ซึมเข้ ามา และหัวเจาะแบบ Bucket (บุ้งกี)๋ จะใช้ สาหรับการเจาะแบบ Wet
process ในชั้นดินที่มีนา้ ซึมเข้ ามา
เครื่ องจักรและเครื่ องมือที่ใช้ในการก่อสร้าง

Slurryสารละลาย Bentronite
คุณสมบัตขิ องสารละลาย Bentronite ทีใ่ ช้ ในการก่อสร้ าง
1. ค่ าความหนาแน่ น(Density) อยู่ระหว่ าง 1.02-1.1 ton/sq.m
2. ค่ าความหนืด(Viscosity) อยู่ระหว่ าง 30-50 s
3.ค่ า PH อยู่ระหว่ าง 7.5-12
4.อัตราส่ วนระหว่ างทราย(Sand content) ต้ องไม่ เกิน 6%
เครื่ องจักรและเครื่ องมือที่ใช้ในการก่อสร้าง

เหล็กเสริม ประเภทเหล็กทีใ่ ช้ ในงานก่อสร้ าง
*ประเภทของเหล็กที่ใช้ในงานเสาเข็ม
1.เหล็กเส้ นกลม(SR24)
ขึ้นอยูก่ บั การออกแบบ
RB (6mm.,9mm.)
2.เหล็กข้ ออ้อย(SD40,SD50)
DB (12mm.,16mm.,20mm.,25mm.,28mm.,32mm.)
เครื่ องจักรและเครื่ องมือที่ใช้ในการก่อสร้าง

ปลอกเหล็ก (Casing)
ปลอกเหล็กที่ใช้ มีลกั ษณะ หนา
1 นิว้ ยาว 14-15 เมตร เหล็กปลอกจะ
ช่ วยป้ องกันไม่ ให้ ดนิ ด้ านข้ างเกิดการ
พังทลายขณะทีท่ าการเจาะ และยัง
ช่ วยป้ องกันแรงสั่ นสะเทือนทีจ่ ะ
ส่ งผลการะทบอาคารบริเวณข้ างเคียง
เครื่ องจักรและเครื่ องมือที่ใช้ในการก่อสร้าง

คอนกรีต
คอนกรีตที่ใช้ ในงานเสาเข็ม จะต้ องมีกาลังประลัยของคอนกรีตมาตรฐานใน
รู ปทรงลูกบาศ์ ก 15*15*15 ไม่ น้อยกว่ า 280 ksc. ที่ 28 วัน และมีค่าการยุบตัวอยู่ที่
15-20 ซม. โดยใช้ ปูนซีเมนต์ ปอตแลนด์ ประเภทที่ 1
ข้อกาหนดต่างๆในการก่อสร้าง






ค่าผิดพลาดที่ยอมให้ในแนวดิ่งของเสาเข็ม จะต้องไม่เกิน 1 ต่อ 100 ของความยาว
เสาเข็ม
ระยะมากที่สุดที่ยอมให้เสาเข็มลงผิดตาแหน่งในแนวราบไม่เกิน5เซนติเมตร โดยวัดจาก
แกน Coordinate ทั้งสองแกน
ในขณะเทคอนกรี ต ท่อTremie จะต้องอยูใ่ นเนื้อคอนกรี ต ประมาณ 2เมตร หรื อ
ประมาณ 3-5 เมตร แล้วแต่สถานการณ์และห้ามหยุดเทเด็ดขาด
เมื่อเจาะหลุมเสาเข็มเสร็ จแล้วต้องเทคอนกรี ตภายในวันนั้นห้ามปล่อยทิง้ ไว้ หรื อหากมี
เหตุสุดวิสัย ก่อนการเทคอนกรี ตในหลุมเจาะต้องมีการตรวจสอบความสมบูรณ์ของ
หลุมเสี ยก่อน
สาหรับSlurry ที่ลน้ ออกมาสามารถนากลับไปใช้ใหม่ได้โดยต้องผ่านกระบวนการทา
ความสะอาดที่ถกู ต้องเสี ยก่อน
ในการเทคอนกรี ตต้องทาการคานวณปริ มาณคอนกรี ต เพื่อตรวจสอบความลึกจริ งของ
เสาเข็มด้วย
การตรวจเช็คตาแหน่งก่อนการก่อสร้าง

ติดตั้งกล้อง Total station ที่หมุดมาตรฐาน และทาการส่ อง BS ไปที่หมุดอ้างอิง
อ่านค่าและจดบันทึก จากนั้นเปิ ดมุมไปยังตาแหน่งของเสาเข็มต้นนั้นๆเป็ น
ตาแหน่ง FS อ่านค่าและจดบันทึก เมื่อได้ค่า BS,FS ของตาแหน่งเสาเข็มที่จะทา
การก่อสร้างจริ งแล้วจึงนามาตรวจสอบกับข้อมูล BS,FS ที่ได้จากการทา Survey
โดยตาแหน่งของเสาเข็มจะคลาดเคลื่อนได้ไม่เกิน5 ซ.ม วัดในแนวแกน Coordinate
ขั้นตอนในการก่อสร้าง

การติดตั้งปลอกเหล็ก(Casing)
เมื่อระบุตาแหน่งของเสาเข็มแล้วจึงทาการลงปลอกเหล็ก โดยใช้
Vibrohammer กดปลอกเหล็กลงไปในดินตามตาแหน่งที่กาหนด เช็คระยะใน
แนวราบโดยคนงานจะวัดระยะจากจุดศูนย์กลางทั้งสองแนวแกน และตรวจสอบ
ระยะในแนวดิ่งโดยจะต้องผิดพลาดได้ไม่เกิน 1 ต่อ 100 ของความยาวเสาเข็ม
ขั้นตอนในการก่อสร้าง

การติดตั้งปลอกเหล็ก(ต่ อ)
ในการทีจ่ ะทาให้ ปลอกเหล็ก
วางได้ ตรงตาแหน่ งทีก่ าหนดไว้ ใช้
วิธีการปักหมุดแกนไม้ ไว้ ท้งั สองแกน
โดยวัดออกจากปลอกเหล็ก ในที่นีใ้ ช้
1.2 ม. และใช้ ไม้ หรือเหล็ก ทิม่ ไปที่
ปลอกเหล็กและดูระยะว่ าได้ ตามที่
กาหนดหรือไม่ ให้ ทาการตรวจสอบ
ตลอดการติดตั้งเหล็กปลอก
ขั้นตอนในการก่อสร้าง

นาดินออกด้วยวิธี Dry Process
เมื่อลงปลอกเหล็กเสร็ จ
เรี ยบร้อย จากนั้นใช้ หัวเจาะแบบ
สว่านAugerในการเจาะเพราะใน
ช่วงแรก ยังไม่มีน้ าทลายเข้ามาในดิน
และเมื่อเจาะถึงระดับดินอ่อนหรื อ
ระดับที่น้ าสามารถเข้ามาได้ ให้ทา
การเติม slurry (สารละลาย) เพื่อช่วย
ในการพยุงหลุม และเปลี่ยนหัวเจาะ
ให้เป็ นแบบ Bucket เพื่อทาการเจาะ
ต่อไป
ขั้นตอนในการก่อสร้าง

นาดินออกด้วยวิธี wet Process
เมื่อเจาะถึงระดับดินอ่อน ให้ทา
การเติม slurry (สารละลาย) ลงไปใน
หลุมเจาะเพื่อช่วยในการพยุงหลุม
จากนั้นใช้ Bucket Type ในการเจาะ
เมื่อเจาะหลุมความลึกเพิ่มขึ้น ให้เติม
slurry ให้อยูใ่ นระดับต่ากว่า2เมตรวัด
จากปากหลุม และเมื่อเจาะได้ถึง
ระดับที่กาหนดแล้ว ก่อนที่จะทาการ
ชัก Kelly Bar ขึ้นให้ทาความสะอาด
ก้นหลุมด้วย Bucket ให้แน่ใจว่าก้น
หลุมมีความเรี ยบได้ระดับ
ขั้นตอนในการก่อสร้าง

ตรวจสอบรู เจาะ
หลังจากชัก Kelly Bar ขึ้นทาความ
สะอาดก้นหลุมเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว ให้
ตรวจสอบรู เจาะ หาความลึกที่แท้จริ ง
โดยใช้ลกู ตุม้ น้ าหนักผูกติดกับเทปวัด
ที่ทาจากเหล็ก หย่อนลงไปในหลุม
แล้วอ่านค่าความลึกของหลุม และ
ตรวจสอบการพังทลายของรู เจาะ
หากตรวจพบการพังทลายให้ทาความ
สะอาดก้นหลุมอีกครั้งจนกว่าจะ
เรี ยบร้อย
ขั้นตอนในการก่อสร้าง

ลงเหล็กเสริ มและท่อ เพื่อเตรี ยมเท
คอนกรี ต
จากนั้นเข้าสู่ ข้ นั ตอนการลง
เหล็กเสริ มและตรวจสอบเหล็กเสริ ม
ให้ต้ งั ฉากโดยใช้การวัดลูกดิ่งอย่าง
น้อยสี่ จุดจากนั้น เชื่อมต่อโครงเหล็ก
แต่ละท่อนเข้าด้วยกันโดยใช้ยกู ริ๊ ปรัด
และมีระยะทาบไม่นอ้ ยกว่า 40 เท่า
ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กเสริ ม
ตรวจสอบระยะหุม้ ของคอนกรี ต โดย
ที่ในเหล็กเสริ มจะมีลกู ปูนที่ใช้
สาหรับหนุนให้เกิดระยะหูม้ และ
ประคองเหล็กให้ทรงตัวอยูใ่ นรู เจาะ
ขั้นตอนในการก่อสร้าง

ติดตั้งท่ อ Termie
นาท่ อ Termie ขนาด 8-10 นิว้
ลงไปในโครงเหล็กที่เตรียมไว้ ต่ อ
กันลงไปทีละท่ อนด้ วยเกลียว ส่ วน
ปลายของท่ อ จะอยู่สูงจากก้ นหลุม
ประมาณ 50 ซม. พอที่จะให้ คอนกรีต
ไหลออกได้ สะดวก จากนั้นติดตั้ง
กรวยรับคอนกรีตทีป่ ลายท่ อด้ านบน
ขั้นตอนในการก่อสร้าง

เทคอนกรี ต
เทคอนกรี ตผ่าน ท่อTremie โดย
ก่อนการเทคอนกรี ตให้เทโฟมหรื อสาร
เคมีที่กาหนดลงไปในท่อTremie ก่อนเพื่อ
กั้นระหว่างSlurryกับคอนกรี ต เมื่อเริ่ มเท
slurry จะถูกคอนกรี ตดันให้ลน้ ออกจาก
ปากหลุม และคอนกรี ตจะเข้าไปแทนที่
ในขณะที่ทาการเท ท่อTremie จะต้องอยู่
ในคอนกรี ตตลอดการเทห้ามหยุดเด็ดขาด
เมื่อปริ มาณคอนกรี ตเพิ่มขึ้นจะต้องตัดท่อ
Tremie เป็ นระยะๆเพื่อให้ท่ออยูใ่ น
คอนกรี ตประมาณ 2เมตร หรื อ3-5เมตร
ขึ้นอยูก่ บั สถานการณ์บริ เวณหน้างาน
จนกว่า Slurry จะถูกแทนที่ดว้ ยคอนกรี ต
จนหมด
ขั้นตอนในการก่อสร้าง

ถอนปลอกเหล็ก
เมื่อเทคอนกรี ตจนเต็มแล้ว ให้
ถอนปลอกเหล็กขึ้นก่อนที่คอนกรี ต
จะแข็งตัวโดยใช้ Vibrohammer ใน
การถอน ในขณะที่ทาการถอนต้อง
ควบคุมปลอกเหล็กให้อยูใ่ นแนวดิ่ง
เพื่อป้ องกันการพังทลายของดิน
หลังจากนั้นหลุมต้นถัดไปจะต้องอยู่
ห่างจากต้นที่เสร็ จแล้วเป็ นระยะ6 เท่า
ของเส้นผ่านศูนย์กลางเสาเข็มและ
เป็ นเวลา24ชัว่ โมง
ระยะเวลาที่ใช้ในงานเสาเข็ม
 เวลาที่ใช้ในงานเสาเข็ม นับตั้งแต่เริ่ มเจาะดิน จนถึงการเทคอนกรี ตเสร็ จ
เรี ยบร้อย ใช้เวลา 6 ชัว่ โมง/ต้น
 จากข้อมูลหน้างานในหนึ่ งวัน สามารถก่อสร้างเสาเข็มได้ 2 ต้นเป็ นอย่าง
มาก เมื่อมีเครื่ องจักรในการทางาน 1 ชุด