มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคลิชมาเนีย ปี 2551-2553

Download Report

Transcript มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคลิชมาเนีย ปี 2551-2553

การเฝ้ าระวังโรคลิชมาเนีย ปี 2551-2553
ปัจจุบนั มีเทคโนโลยีใหม่ ด้านการตรวจ วินิจฉัย และการรักษา ซึ่งง่าย
สะดวกแม่นยา และเป็ นที่ยอมรับ จึงนามาสู่การเฝ้ าระวังโรคได้ใน
ประเทศไทย
 ผูบ
้ ริ หารระดับสูงให้ความสาคัญ(รายงานกรมฯทราบความก้าวหน้าเป็ น
ระยะ)
 ประชาชนตื่นตัว ให้ความสนใจ (ข่าวเสนอทางสื่ อTV ที่ผ่านมาหลาย
ครั้ง)
 WHO ยกระดับการเฝ้ าระวังโรคลิชมาเนี ยเทียบเท่าโรคอื่นๆที่สาคัญ

เทคโนโลยีปัจจุบัน
- การตรวจ
วินิจฉัย
อดีต
ตัดชิ้นส่ วนจาก bone marrow/ ตับ /ม้ าม/ ต่ อมนา้ เหลือง ทาsmear ย้อมสี
ส่ องด้ วยmicroscopy หา amastigote parasite
: ยุ่งยาก ใช้ แพทย์ ผ้ เู ชี่ ยวชาญ ผู้ป่วยอาจเสี่ ยงต่ อการติดเชื้อฯ แพง
ปัจจุบัน rK39 dipstick Test ตรวจจากเลือด(serum)
: ง่ าย สะดวก ราคาไม่ แพง (1-3 USD)
- การรักษา
อดีต ยาฉีดเข้ า intramuscular / intravenous เช่ น Pentavalent
antimonials, Amphotericin B, Aromatic diamidines
: แพง อาการข้ างเคียงรุ นแรง ต้ องใช้ ในสภาพอยู่โรงพยาบาล นาน 30-40 วัน
ปัจจุบัน ยากิน(Oral drug) Miletefosine
: ถูก อาการข้ างเคียงน้ อยมาก ปลอดภัย ใช้ ง่ายและสะดวก
รายงาน/การศึกษาวิจยั ที่เกีย่ วข้ อง
• เชื้อชนิด CL สามารถก่อโรคVL ได้
• ฤดูกาลออกหากินของริ้นฝอยทรายสั มพันธ์ กบั การเกิดโรคลิชมาเนีย
(ทีบ่ ราซิล และ อิเควดอร์ )
• Kala-azar เกิดซ้าได้ แม้ ว่ารักษาหายดีแล้ว ร้ อยละ 30
• ทหารอเมริกนั ไปรบทีป่ ระเทศตะวันออกกลาง ติดCLจานวนมาก
จนต้ องตั้ง DoD ’s Deployment Health Clinical Center เฉพาะกิจ
ตรวจร่ างกายทหารทุกคนก่ อนเดินทางเข้ าสหรัฐฯ
• ริ้นฝอยทรายที่ จ. ชุ มพร และ จ.สุ ราษฎร์ ธานี กัดและกินเลือดคน(2549,2550)
• Social marketing ในพืน้ ทีผ่ ้ ปู ่ วยรายใหม่ ทาให้ ประชาชนมีความรู้ เพิม่ ขึน้
อย่ างมีนัยสาคัญทางสถิติ และช่ วยให้ สุขภาพจิตผู้ป่วยกับญาติดขี ึน้
เครื่องมือจับริ้นฝอยทรายมีประสิ ทธิภาพ
Light trap +- Dry ice แทนการใช้ คนเป็ นเหยือ่ ล่ อ
การลงนามความร่ วมมือ(MOU) 3 ประทศ
India, Nepal, Bangladesh
“ โครงการกาจัดโรคลิชมาเนีย หมดปี
(147 ล้ านคนอยู่ในพืน
้ ทีเ่ สี่ ยง)
2016 “
Supported by government+ TDR+ Partnerships
มาตรการ
MDA ระดับตาบล/หมู่บ้าน : miletefosine กิน 28 วัน ขนาด 2.5mg/kg/day
เช้ า-เย็น อายุ>12-65 ปี ปี ละครั้ง
Assessment : rK39 Test Kit ตรวจหาเชื้อลิชมาเนีย
Operated by Peripheral health centre(สอ.)
การเฝ้ าระวังป้องกันควบคุมโรคลิชมาเนีย
สู่ สสม./อปท. 2551-2553
สร้ างคู่มือ/มาตรฐานการปฏิบัติงานโรคลิชมาเนียในประเทศไทย
 พัฒนาเครื อข่าย โดยถ่ายทอดเทคโนโลยี สู่ สสม./อปท.
 สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์
 สร้างระบบพี่เลี้ยง
 ข้อมูลต้องแจ้งอย่ างมีระบบ (รง.506 ) เพือ
่ ให้ ทราบสถานการณ์ โรคของ
ประเทศไทย

การดาเนินงาน
1. การค้ นหาผู้ป่วย
VL : สุ่ มตัวอย่างตรวจเพือ่ หาอุบัติการณ์ ของโรค
- ประชากรวัยทางาน อายุ 15-65 ปี กลุ่มเสี่ ยงทีป่ ระกอบอาชีพทาสวนยางพารา สวน
ผลไม้ เข้ าป่ าล่าสั ตว์ หานา้ ผึง้ /ค้ างคืนในป่ า ตัดไม้
- หมู่บ้านชนบททีม่ ปี ่ า/ ป่ าเชิงเขา เช่ น จังหวัดทางภาคใต้ ภาคเหนือ
- พืน้ ที่มีปัจจัยเสี่ ยง เช่ นริ้นฝอยทรายชนิดทีเ่ ป็ นพาหะหลัก และสั ตว์ เลีย้ งใกล้บ้านบาง
ชนิด เช่ น สุ นัข แมว วัว ควาย
- แรงงานไทยและชาวมุสลิม กลับจากประเทศแหล่ งแพร่ โรค
สุ่ มตัวอย่ างโดยใช้ rk39 dipstick Test
CL :
• สุ่ มตรวจประชากรในพืน้ ทีเ่ สี่ ยง
• สุ่ มตรวจแรงงานพม่ าทีข่ นึ้ ทะเบียน
2. การรักษา
ยา miletefosine แก่ ผ้ เู ป็ นโรคลิชมาเนียตามมาตรฐานการรักษาของ
WHO สามารถสั่ งซื้อจากตัวแทนจาหน่ ายในหลายประเทศ(รวมทั้งประเทศ
ไทย)เนื่องจากขึน้ ทะเบียนการค้ าแล้ว
3. การติดตามผู้ป่วย
ตรวจซ้าผู้ป่วย VL ทุกรายทั้งทีเ่ ป็ น imported และindigenous
cases ในทุกจังหวัดด้ วย rK39 dipstick เพือ่ ยืนยันการมี kala-azar
4. Social marketing
ใช้ กระบวนการทางสั งคมให้ ความรู้ โรคลิชมาเนียแก่ ประชาชนทุกหมู่บ้านที่มี
ผู้ป่วยรายใหม่
บทบาทผู้ปฏิบัติงาน(ที่น่าจะเป็ น)
ผู้ดาเนินการ
1. การซักประวัตผิ ้ ปู ่ วย
สคร.(ศตม.)+สสจ.+อปท.
2. การค้ นหาผู้ป่วยโดยใช้ rk39 Dipstick สคร.(ศตม.)+สสจ.+อปท.
3. การรักษาและติดตามผู้ป่วย
สคร.+สสจ.+อปท.
4. การสารวจริ้นฝอยทราย
ศตม.
5. การพ่นสารเคมีกาจัดริ้นฝอยทราย
ศตม./อปท.
6. ทา group discussion/สื่ อ
/วิเคราะห์ ข้อมูล
ศตม.
7. ควบคุม กากับ ติดตามงาน
สานักฯแมลง
สคร./ศตม.
สคร./ศตม.
สสจ/อปท.
กิจกรรม ปี 2551
สุ่ มตัวอย่างค้นหา VL
(อ. กอบกาญจน์ ร่ วมกับทีมศตม.ในพื้นที่จงั หวัดพังงา สุ ราษฎร์ธานี และ
นครศรี ธรรมราช ประชากรเป้ าหมาย 80-100 คน)
 สุ่ มตัวอย่างค้นหา CL และริ้ นฝอยทราย จังหวัดพังงา สุ ราษฎร์ ธานี
นครศรี ธรรมราช และตราด
 การใช้ Social marketing จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี นครศรี ธรรมราช
กทม. และสงขลา

การสุ่ มตัวอย่ างค้ นหา CL
พืน้ ที่ดาเนินการ
- หมู่บ้านทีม่ ปี ่ า/ติดป่ าเชิงเขา มีสัตว์ เลีย้ ง จาพวก สุ นัข วัว ควายจานวนมาก
กลุ่มเป้ าหมาย
- ประชากรอายุ 15-65 ปี ประกอบอาชีพเสี่ ยงถูกริ้นฝอยทรายกัดในป่ า/สวน
- ศตม.+อปต. ตรวจร่ างกายประชากรในหมู่บ้านที่คดั เลือก ทุก 2 เดือนสลับกับ
การจับริ้นฝอยทรายโดยชี้แจง/อธิบายให้ ชุมชนเข้ าใจเกีย่ วกับโรคลิชมาเนียด้ วยสื่ อ
ภาพแผลตามผิวหนังหรืออย่างอืน่
- กรอกข้ อมูลตามแบบฟอร์ ม
การสุ่ มตัวอย่ างค้ นหาผู้ป่วย CL
• พืน้ ที่ จ.พังา สุ ราษฎร์ ฯ นครศรีฯ สงขลา : จ้างรายวัน อสม.(3 คน)
ดาเนินการ โดย ศตม. ให้ ความรู้ชี้แจงการทางาน และเป็ นพีเ่ ลีย้ ง
• พืน้ ทีอ่ นื่ ๆ : ศตม./นคม. ดาเนินการสอบถามข้ อมูลจากสอ. คลินิกเอกชน
คนในหมู่บ้าน เกีย่ วกับการมีผู้ปรากฏอากรCl (ตามลักษณะตัวอย่ างในภาพ)
ระยะ 5 ปี ที่ผ่านมา เพือ่ ประกอบการพิจารณาเฝ้ าระวังโรคต่ อไป
กรอกข้ อมูลตาม แบบฟอร์ มสารวจ CL
ภาพโรคลิชมาเนียประเภทก่อเกิดแผลตามผิวหนัง
ตุ่มขนาดเล็ก
หลังถูกริ้นฝอยทรายกัด 24 ชม.
ตุ่มพอง ใส
หลังถูกริ้นฝอยทรายกัด
2-3วัน
ตุ่มพองใส แตกเป็ นแผล
ขอบแผลนูน แข็ง
แผลหายช้ า อาจนาน 2-3 เดือน
การสารวจริ้นฝอยทราย
- Light trap จานวน 5 ตัว วางดักริ้นฝอยทรายเวลา18.00-06.00น.
บริเวณแหล่ งเพาะพันธุ์แบบต่ างๆ เช่ น คอกสั ตว์ กอไม้ กอต้ นกล้ วย เล้ าเป็ ด เล้าไก่
ทีม่ ีใบไม้ ทบั ถม(ชื้น)ใกล้ สัตว์ เลีย้ งนอน ฯลฯ แขวนกับดักระดับสู งกว่ าพืน้ ดินไม่ เกิน
1/2เมตร(เนื่องจากริ้นฝอยทรายบินต่า) ดาเนินการ 3 คืน
- สุ่ มริ้นฝอยทรายทั้งเพศผู้และเมีย เพศละ 30% ทาสไลด์ จาแนกชนิด กรณีไม่ ถึง
100 ตัว ให้ จาแนกชนิดทุกตัว ส่ วนทีเ่ หลือเก็บดองใน ethanol 70-80
สาหรับการศึกษาอืน่ ๆ
- แบบรายงานส่ งสานักฯแมลง ก่อนวันที่ 5 ทุกเดือน
การประยุกต์ ใช้ Social marketing พืน้ ทีผ่ ู้ป่วยรายใหม่ VL
- ทาGroup discussion ประชาชนทัว่ ไป30คน แบ่ งเป็ น 3 กลุ่ม กลุ่มละ10 คน
แต่ ละกลุ่มมี Facilitator 1 คน Note Taker 1-2 คน
ให้ ได้ message เกีย่ วกับ เนือ้ หาความรู้ โรค ประเภทสื่ อ รู ปแบบ สถานที่ ฯลฯ
Facilitator ต้ องร่ างคาถามเป็ นแนวทางการพูดคุย ประมาณ 7-8 ข้ อ
(ปรึกษารูปแบบการทางานกับทีม ศตม. 11.3สุ ราษฎร์ ฯ และ11.2 นครศรีฯ
ซึ่งมีประสบการณ์ ที่ จ.พังงา ปี 2550 )
- ผลิตสื่ อ ใช้ สื่อ ในพืน้ ที่ ระยะเวลานานเท่ าใดขึน้ อยู่กบั ความเหมาะสมของสื่ อ
- เก็บข้ อมูล ความรู้ ประชาชนก่ อนและหลังใช้ สื่อ ด้ วยแบบสอบถาม(ดังตัวอย่าง)
- วิเคราะห์ ข้อมูลด้ วยโปรแกรม SPSS ให้ ได้ ข้อสรุ ปการเปลีย่ นแปลงของความรู้
ทีเ่ กิดขึน้ เช่ น ค่ าเฉลีย่ T-test เปรียบเทียบความรู้ รายบุคคลก่ อนและหลังใช้ สื่อ
แผนงานปี 2552-2553
2552
อบรม SRRT สคร.
อบรมเครือข่ ายจนถึงท้ องถิ่น
สร้ างมาตรฐานเครื่องมือ อุปกรณ์ ศตม.
กิจกรรมการเฝ้ าระวังโรค
กิจกรรมในพืน้ ที่ fixed station
พัฒนานักกีฏวิทยามืออาชีพ
(ดูงาน/ขอทุนต่ างประเทศ/ทุนกรมฯ)
2553
อย่ าลืม
ให้ ทุกคน copy ใส่ Thump drive ดังนี้
- แบบสอบถามความรู้โรคลิชมาเนียประชาชนพืน้ ทีม่ ีผ้ปู ่ วยรายใหม่
- ภาพแผลCLเพือ่ ประโยชน์ ในการชี้แจงหรือให้ ความรู้ประชาชนก่อนเก็บ
ข้ อมูลพืน้ ฐานผู้ป่วยในพืน้ ทีร่ ับผิดชอบสาหรับการพิจารณาดาเนินงานปี ต่ อไป
- แบบฟอร์ มรายงานการสารวจ CL
- แบบฟอร์ มสารวจริ้นฝอยทราย