หมวดหินเขาเจ้า - กรมทรัพยากรธรณี

Download Report

Transcript หมวดหินเขาเจ้า - กรมทรัพยากรธรณี

ธรณีวทิ ยาจังหวัดชุมพร
โดย
วีรชัย แพงแก้ ว – เด่ นโชค มั่นใจ
กรมทรัพยากรธรณี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม
หัวข้ อการบรรยาย
๑. ข้ อมูลทัว่ ไป
๒. ความหมายของธรณีวทิ ยา
๓. มาตรากาลธรณีและการเคลือ่ นที่
ของเปลือกโลก
๔. ธรณีวทิ ยาจังหวัดชุมพร
๕. สรุป
๑. ข้ อมูลทัว่ ไป
- เป็ นจังหวัดทางภาคใต้
- อยูห่ ่างจากกรุ งเทพฯ ประมาณ ๔๙๐ กิโลเมตร
- พื้นที่ประมาณ ๖,๐๑๐ ตารางกิโลเมตร(ลาดับ ๓๗)
- การปกครองแบ่งเป็ น ๘ อาเภอ ๗๐ ตาบล ๒๕ เทศบาล
- มีประชากร ๔๘๗,๗๔๔ คน
ลักษณะภูมิประเทศ
๒. ความหมายของ “ธรณีวิทยา”
ธรณีวิทยา (Geology) เป็ นวิทยาศาสตร์ ที่ศึกษาเกี่ยวกับโลก
สสารต่าง ๆ ที่เป็ นส่ วนประกอบของโลก เช่น แร่ หิ น ดินและ
น้ า รวมทั้งกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกที่เกิดขึ้นใน
ธรรมชาติ ตั้งแต่กาเนิดโลกจนถึงปัจจุบนั เป็ นการศึกษาทั้งใน
ระดับโครงสร้าง ส่ วนประกอบทางกายภาพ เคมี และชีววิทยา
ทาให้รู้ถึงประวัติความเป็ นมา และสภาวะแวดล้อมในอดี ต
จนถึงปั จจุบนั ศึกษาปั จจัยต่างๆทั้งภายในและภายนอกที่มี
อิ ท ธิ พลต่ อ การเปลี่ ย นแปลงสภาพพื้ น ผิว วิ ว ฒ
ั นาการของ
สิ่ ง มี ชี วิ ต ต ล อ ด จ น รู ป แ บ บ แ ล ะ วิ ธี ก า ร น า เ อ า
ทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้ประโยชน์อย่างยัง่ ยืนอีกด้วย
๓. มาตรากาลธรณี/การเคลื่อนที่ของ
เปลือกโลก
๓.๑ มาตรากาลธรณี(Geologic time scale)
โลก
๓.๒ การเคลื่อนที่ของเปลือกโลก
๔. ธรณีวิทยาของจังหวัดชุมพร
แผนที่ธรณีวิทยา
จังหวัดชุมพร
ลาดับชั้นหินบริ เวณจังหวัดชุมพร
ธรณีวทิ ยาของจังหวัดชุมพร
หิ นที่รองรับพื้นที่จงั หวัดชุมพร ประกอบด้วย
หิ นตะกอน (Sedimentary Rocks)
- หิ นมหายุคพาลีโอโซอิก
- หิ นมหายุคมีโซโซอิก
- ตะกอนมหายุคซีโนโซอิก
หิ นอัคนี (Igneous Rocks)
- หิ นอัคนีแทรกซอน ยุคครี เทเชียส
- หิ นอัคนีพ(ุ หิ นภูเขาไฟ) ยุคครี เทเชียส
หินที่เกิดจากกระบวนการทางตะกอน ได้ แก่ การทับถม
ของตะกอน ทีเ่ กิดจากการผุพงั แตกสลายมาจาก หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หรือซากดึกดาบรรพ์ ถูกพัดพามาสะสมตัว
โดยตัวกลาง เช่ น นา้ ลม หรือธารนา้ แข็ง หรือตกตะกอนทาง
เคมี หรือจากสิ่ งมีชีวติ และแข็งตัวกลายเป็ นหิน
หินยคุ คาร์ บอนิเฟอรั ส-เพอร์ เมียน
กล่ มุ หินแก่งกระจาน
-หมวดหินเกาะเฮ (CPkh)
-หมวหินเขาพระ (CPkp)
-หมวดหินเขาเจ้ า (CPkc)
หินยคุ คาร์ บอนิเฟอรั ส-เพอร์ เมียน
หมวดหินเกาะเฮ
หมวดหินเขาพระ
หมวดหินเขาเจ้ า
หินยคุ เพอร์ เมียน
กล่ มุ หินราชบุรี
-หินปูน (P)
หินปูน ยคุ เพอร์ เมียน
ภูมิประเทศแบบคาสต์ บริเวณเขายอนแพน เขาถา้ นา้ ชอน
เขานา้ พร้ าว เขาตาแดง เขาถา้ เขานา้ ขาว เขาชันโต๊ ะ
และเขามายัง อาเภอเมืองชุมพร
หินยคุ ไทรแอสซิก-จแู รสซิก-ครี เทเชียส
-หมวดแม่ ราพึง/เขาม่ วง(Trmp)
-หมวดหินคลองมีน(Jk)
-หมวดหินลาทับ (JK1)
-หมวดหินผาแดง (Kp)
หินยคุ ไทรแอสซิก
หินกรวดมนของหมวดหินเขาม่ วง
หินยคุ จแู รสซิก
หินดินดาน หินทรายแป้ ง หินทราย
อาพัน
ซากใบไม้
ร่ องรอยรูก้ งุ
หินยคุ จแู รสซิก-ครี เทเชียส
หินดินดาน หินทรายแป้ ง หินทราย และหินกรวดมน สี นา้ ตาลแดง
ของหมวดหินลาทับ
หินยคุ ครี เทเชียส
หินกรวดมนและหินทราย ของหมวดหินผาแดง
พบญาติผมทีจ่ งั หวัดชุมพรบางไหมครั บ ?
ไดโนเสาร์กินพืช สกุลภูเวียงโกซอรัส สิ รินธรเน พบบริ เวณภูกมุ้ ข้าว
อ. สหัสขันธุ์ จ. กาฬสิ นธุ์ และภูเวียง อ. ภูเวียง จ.ขอนแก่น
ตะกอนมหายคุ ซีโนโซอิก
-ตะกอนเศษหินเชิงเขา (Qc)
-ตะกอนตะพักน้า (Qt)
-ตะกอนชายหาด (Qb)
ตะกอนยคุ ปัจจบุ ัน
(Qc)
(Qt)
(Qb)
๑) หินอัคนีแทรกซอน (intrusive rocks)
หินที่เกิดจากการแข็งตัวของหินหนืดภายในเปลือกโลก
(magma)
๒) หินอัคนีพหุ รือหินภูเขาไฟ(extrusive/volcanic rocks)
หินที่เกิดจากการแข็งตัวของหินหนืดบนผิวโลก (lava)
๑) หินอัคนีแทรกซอน (intrusive rocks)
-หินทีเ่ กิดจากการแข็งตัวของหินหนืดภายในเปลือกโลก(magma)
๒) หินอัคนีพหุ รือหินภูเขาไฟ(extrusive/volcanic rocks)
-หินที่เกิดจากการแข็งตัวของหินหนืดบนผิวโลก (lava)
หินภูเขาไฟ (volcanic rocks)
หินแกรนิตและหินภูเขาไฟ
-หินไรโอไรต์ ยคุ ครี เทเชียส (Kv)
-หินแกรนิตยคุ ครี เทเชียส (Kgr)
หินแกรนิตและหินภูเขาไฟ
(Kgr)
(Kgr)
(Kv)
(Kv)
ธรณีวิทยาโครงสร้ าง
กล่ มุ รอยเลือ่ นระนอง
และรอยเลือ่ นหลังสวน
ทรั พยากรธรณีจงั หวัดชุมพร
แผนทีแ่ สดงทรัพยากรธรณี
จังหวัดชุมพร
-ทองคา
-ดีบุก
-หิ นปูน
-ทรายแก้ว
-แหล่งทรายก่อสร้าง
-แหล่งปิ โตรเลียม
แร่ ทองคา
แหล่ งแร่ ทองคา พบที่
- เขาใหญ่คลองกะโดน-บ้านดวงดี
ตาบลสลุย อาเภอท่าแซะ
- ความสมบูรณ์ของแร่ ทองคา
เฉลี่ย ๐.๑๐ กรัมต่อตัน
(ที่ระดับความลึก ๑๐๐ เมตร)
-มีแร่ ทองคาประมาณ ๑๙,๐๐๐ ออนซ์
มูลค่าประมาณ ๒๕๐ ล้านบาท
แร่ ดบี ุก
๒ ๑
พื้นที่แหล่งแร่ ดีบุก ๕ พื้นที่
๑. เขานาคราช
๒. ตาบลสลุย-รับร่ อ
๓. บ้านนายหูด
๓
๕
๔
๔. พะโต๊ะ-ปากเลข
๕. ราชกรู ด
เหมืองดีบุกบริเวณบ้ านนายหูดในปัจจุบัน
หินปูนเพือ่ อุตสาหกรรมก่ อสร้ าง
แหล่ งทรายแก้ วอ่ าวครามใหญ่
อาเภอสวี
แหล่งทรายก่อสร้าง บริ เวณคลองท่าแซะ
ตาบลทรัพย์อนันต์ อาเภอท่าแซะ
แผนทีแ่ สดงแหล่ งปิ โตรเลียม
ธรณีวิทยาแหล่ งท่ องเที่ยวจังหวัดชุมพร
ถา้ พิสดาร
ถา้ เขาคราม
ถา้ รั บร่ อ
ถา้ เขาเกรี ยบ
อ่ าวปะทิว
หาดบางเบิด
หาดอรุโณทัย
ธรณีพบิ ัติภัย
หลมุ ยบุ ทีต่ าบลทะเลทรั พย์
การเกิดหลุมยุบ
1
2
3
ดินถล่ มตามเทือกเขา
หินแกรนิต
-หินแกรนิตยคุ ครี เทเชียส (Kgr)
4. สรุปธรณีวทิ ยาจังหวัดชุมพร
1. จังหวัดชุมพรมีแนวเทือเขาหลักอย่ ู 3 แนวได้ แก่ เทือกเขาด้ าน
ตะวันตก เทือกเขาตอนกลาง และเทือกเขาด้ านตะวันออกริ มทะเล
ชายฝั่งอ่ าวไทย เทือกเขาทัง้ หมดวางตัวในแนว NE-SW
2. หินตะกอนของกล่ มุ หินแก่ งกระจายยคุ คาร์ บอนิเฟอรั ส-เพอร์ เมียน
เป็ นกล่ มุ หินทีแ่ ผ่ กระจายตัวมากทีส่ ุ ด พบอย่ บู ริ เวณเทือกเขาสูงด้ าน
ตะวันตกเป็ นส่ วนใหญ่
3. หินปนู ของกล่ มุ หินราชบุรีพบเป็ นเทือกเขาเล็กอย่ บู ริ เวณด้ าน
ตะวันออกขนานกับแนวชายฝั่ง และพบอย่ เู ฉพาะด้ านตะวันออกของ
กล่ มุ แนวรอยเลือ่ นระนองเท่ านั้น
4. หินตะกอนยคุ ไทรแอสซิก ยคุ จแู รสซิก และยคุ ครี เทเชียสเป็ นหิน
ตะกอนที่สะสมตัวโดยกระบวนการของทางน้า เป็ น
Sequences ของหินทราย หินทรายแป้ ง หินดินดาน และ
หินกรวดมน สีน้าตาลแดง หรื อน้าตาลแดงแกมม่ วง
5. ตะกอนยคุ ปัจจบุ ันสะสมตัวโดยทางน้าตามทีร่ าบล่ มุ น้าหลักพบ
บริ เวณที่ราบต่ อกลาง และตามที่ราบชายฝั่งด้ านตะวันออก
6. รอยเลือ่ นหลักคือกล่ มุ แนวรอยเลือ่ นระนองเป็ นรอยเลือ่ นชนิด
Strike slip Fault วางตัวในแนว NE-SW เป็ นรอย
เลือ่ นทีย่ งั มีพลังอย่ ู
สิ้นสุดการบรรยาย
ขอบคณ
ุ ครั บ