e0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988

Download Report

Transcript e0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988

บทที่ 3
ธรณีประวัติ
(Historical geology)
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
คือ ประวัติศาสตร์ ทางธรณีวทิ ยาของโลก ที่จะบอก
เล่ าความเป็ นมา และสภาพเหตุการณ์ ทเี่ กิดขึน้ ในอดีต
ไม่ ว่าจะเป็ นการเปลีย่ นแปลงสภาพทางภูมศิ าสตร์
ตลอดจนวิวฒ
ั นาการของสิ่ งมัชีวติ
ข้ อมูลทางธรณีวทิ ยา
• เป็ นข้อมูลที่ใช้สำหรับศึกษำธรณี ประวัติ ได้แก่
• 1. อำยุทำงธรณี วิทยำ
• 2. ซำกดึกดำบรรพ์
• 3. กำรลำดับชั้นหิ น
จากบทเรียนที่ผ่านมา นักเรียนคิดว่ าอะไรเป็ น
หลักฐานหรือข้ อมูลทีจ่ ะบอกกล่ าวความเป็ นมา
ของโลกได้ ดที สี่ ุ ด
• ตอบ ข้ อมูลทางธรณีวทิ ยาทีส่ ามารถอธิบายความเป็ นมา
ของพืน้ ทีใ่ นอดีต ได้ แก่ อายุทางธรณีวทิ ยา ซากดึกดา
บรรพ์ โครงสร้ างและการลาดับชั้นหิน เป็ นต้ น
อายุทางธรณีวทิ ยา
โดยทัว่ ไปอายุทางธรณีวทิ ยาแบ่ งเป็ น 2 แบบ คือ อายุเปรียบเทียบ
(อายุเทียบสั มพันธ์ ) และอายุสัมบูรณ์
อายุเทียบสั มพันธ์ หรืออายุเปรียบเทียบ
• อายุเปรียบเทียบ(relative age) เป็ นอายุหินเปรียบเทียบซึ่งบอกว่ าหินชุดใดมี
อายุมากหรือน้ อยกว่ ากัน
• อายุเปรียบเทียบหาได้ โดย
• 1. ข้ อมูลจากซากดึกดาบรรพ์ทที่ ราบอายุ
2. ลักษณะการลาดับชั้นของหินชนิดต่ างๆ
3. ลักษณะโครสร้ างทางธรณีวทิ ยาของหิน
แล้วนามาเปรียบเทียบกับช่ วงเวลาทางธรณีวทิ ยาทีเ่ รียกว่ า ธรณีกาล
(geologic time)
อายุสัมบูรณ์ (absolute age)
• เป็ นอายุของหินหรือซากดึกดาบรรพ์ ทีส่ ามารถบอก
จานวนปี ที่ค่อนข้ างแน่ นอน
• การหาอายุสัมบูรณ์ ใช้ วธิ ีคานวณจากครึ่งชีวติ ของธาตุ
กัมมันตรังสี ทมี่ ีอยู่ในหิน หรือซากดึกดาบรรพ์ ที่
ต้ องการศึกษา
ครึ่งชีวติ (Half Life)
• ครึ่งชีวติ หมายถึง ระยะเวลาทีป่ ริมาณของธาตุ
กัมมันตภาพรังสี สลายตัวจนลดลงเหลือครึ่งหนึ่ง
ของเดิม
• ธาตุกมั มันตรังสี ทนี่ ิยมนามาหาอายุสัมบูรณ์ ได้ แก่
ธาตุคาร์ บอน-14 ธาตุโพแทสเซียม-40 ธาตุเรเดียม226 และธาตุยูเรเนียม-238 เป็ นต้ น
- นักเรียนคิดว่ าการหาอายุทางธรณีวทิ ยา
ทั้ง 2 แบบ มีความสั มพันธ์ กบั วิชาอะไร
• Chem Bio and Physics
ซากหอยนางรม ที่สะสมอยู่กบั ดินเหนียวทะเล มีอายุประมาณ 5,500 ปี
ใช้ กัมมันตภาพรังสี คาร์ บอน-14 ซึ่งตรวจซากดึกดาบรรพ์ที่มอี ายุน้อย
กว่ า 50,000 ปี
(Fossil)
ซากดึกดาบรรพ์ (Fossils)
คือซากของสิ่ งมีชีวติ ทั้งพืชและสั ตว์
ทีเ่ คยอาศัยอยู่ในบริเวณนั้น เมื่อตาย
ลงซากก็ถูกทับถมและฝังตัวอยู่ใน
ชั้นหินตะกอน
• ซากดึกดาบรรพ์สามารถพบได้ ตามชั้นหิน
ตะกอนเป็ นส่ วนใหญ่
• เราจะไม่ พบซากดึกดาบรรพ์ในหินอัคนี และ
หินแปร เนื่องจากความร้ อนในระหว่ างที่เกิด
หินเหล่านั้น ทาให้ ซากดึกดาบรรพ์สลายไป
กระบวนการเกิดซากดึกดาบรรพ์
• 1. สั ตว์ หรือพืชตายลงจมลงสู่ ก้นทะเลและส่ วนที่
เหลือจะค่ อยๆถูกฝังลงในชั้นของตะกอน
2. ตะกอนชั้นล่ างๆได้ กลายเป็ นหินและส่ วนที่
เหลืออยู่จะแข็งตัวกลายเป็ นซากดึกดาบรรพ์
3. หินถูกดันขึน้ ไปมาและถูกกัดเซาะ
4. ซากดึกดาบรรพ์ โผล่ ขนึ้ สู่ ช้ันผิวโลก
ขั้นตอนการเกิดซากดึกดาบรรพ์
ซากดึกดาบรรพ์ที่พบมากที่สุด
• เป็ นซำกดึกดำบรรพ์ของสัตว์ทะเล
ซากดึกดาบรรพ์ดชั นี (index fossil)
• เป็ นซากดึกดาบรรพ์ ทบี่ อกอายุได้ แน่ นอน เนื่องจาก
• เป็ นซากดึกดาบรรพ์ที่มีววิ ฒ
ั นาการทางโครงสร้ างและ
รู ปร่ างอย่ างรวดเร็ว
• มีความแตกต่ างในแต่ ละช่ วงอายุอย่ างเด่ นชัด
• ปรากฏให้ เห็นเพียงช่ วงอายุหนึ่งก็สูญพันธุ์ไป ได้ แก่
ไทรโลไบต์ แกรพโตไลต์ ฟิ วซู ลนิ ิด เป็ นต้ น
คาถาม หน้ า 65
• เพราะเหตุใดซากดึกดาบรรพ์จึงบอกอายุของหินข้ างเคียง
ได้
เพรำะซำกดึกดำบรรพ์ที่ใช้บอกอำยุหิน มีวิวฒั นำกำรทำงโครงสร้ำงและ
รู ปร่ ำงอย่ำงรวดเร็ ว มีควำมแตกต่ำงในแต่ละช่วงอำยุชดั เจน
• นักเรียนรู้จักซากดึกดาบรรพ์อะไรบ้ าง มีอายุประมาณ
เท่ าไร ทราบได้ อย่ างไร
ยกตัวอย่ำงเช่น ไม้กลำยเป็ นหิ น รอยเท้ำไดโนเสำร์ สื บค้นจำก เวป
ไซต์เพิ่มเติม
รูปแบบและชนิดของซากดึกดาบรรพ์
โดยทั่วไปซากดึกดาบรรพ์ที่ค้นพบจะมี 2 รูปแบบใหญ่ ๆคือ
• ซากดึกดาบรรพ์ที่เป็ นร่ องรอย (trace fossils)
• ซากดึกดาบรรพ์ทเี่ ป็ นรูปร่ าง (body fossils)
ซากดึกดาบรรพ์ที่เป็ นร่ องรอย
• ซากที่เกิดจากกิจกรรมของสิ่ งมีชีวติ ในอดีตที่อาศัยอยู่ ณ
บริเวณนั้น ส่ วนมากจะเห็นเป็ นร่ องรอย ไม่ ได้ เป็ นกระดูก
หรือโครงร่ าง
• ตัวอย่ างเช่ น รอยกัดแทะ ช่ องหรือรูทอี่ ยู่อาศัย รัง และไข่
ของสั ตว์ รูหากิน
รอยเท้ าไดโนเสาร์ กนิ เนือ้ บนหินทรายแสดงถึงการเดินหากินใน
พืน้ ทรายริมนา้ ในอดีตเมื่อประมาณ 135 ล้านปี ที่ผ่านมา
ภาพจากบริเวณภูแฝก กิง่ อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสิ นธุ์
รูปพิมพ์ของรูหากินสั ตว์ ทะเลบริเวณทีร่ าบนา้ ขึน้ ถึง เมื่อประมาณ 5,000 ปี ที่ผ่านมา
ภาพจากบริเวณบ้ านปากบ่ อ อาเภอบ้ านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร
ซากดึกดาบรรพ์ ทเี่ ป็ นรูปร่ าง
• 2.1 ซากดึกดาบรรพ์ขนาดเล็ก
– ประเทศไทยมีซากดึกดาบรรพ์ขนาดเล็กหลาย
ชนิดบอกอายุ
– อาจมองเห็นด้ วยตาเปล่าหรือไม่ เห็น
– มีท้งั ซากพืช(เป็ นส่ วนของเรณู ) และสั ตว์
(ไดอะทอไมต์ )
ไดอะตอมขยาย 350 เท่ า
ผ่ านกล้ องจุลทรรศน์
อิเล็กตรอนแบบส่ อง
กราด มีอายุต้งั แต่ 25
ล้ านปี ทีผ่ ่ านมาจนถึง
ปัจจุบัน พบอยู่ในชั้น
ตะกอนบริเวณทีล่ ่ มุ
อาเภอศรีมโหสถ จังหวัด
ปราจีนบุรี
ชั้นของไดอะทอไมต์ ทที่ บั ถมยึดกันแน่ นอยู่ใต้ ช้ันกรวดทราย
บริเวณเหมืองบ้ านฟ่ อน จังหวัดลาปาง
ซากดึกดาบรรพ์ของฟิ ว
ซู ลนิ ิด ในหินปูนบริเวณ
บ้ านหนองหิน อาเภอ
หนองไผ่ จังหวัด
เพชรบูรณ์ อายุประมาณ
290 ล้ านปี ภาพในกรอบ
เล็กขยายให้ เห็นห้ อง
หลายๆ ห้ องที่ประกอบ
กันเป็ นฟิ วซูลนิ ิด ซึ่งเป็ น
สั ตว์ ทะเลทีส่ ู ญพันธุ์แล้ ว
จัดเป็ นซากดึกดาบรรพ์
ดัชนี
• 2.2 ซากดึกดาบรรพ์ของพืช
–พืชเป็ นสิ่ งมีชีวติ ที่มีประวัติยาวนาน ตั้งแต่ เริ่มแรกของ
โลกในยุคพรีแคมเบรียน (สาหร่ ายสี เขียวแกมน้าเงิน )
–ซากดึกดาบรรพ์ของสาหร่ ายจะพบน้ อยมาก
–มักพบในหินที่สะสมตัวในสภาพแวดล้ อมเป็ นกรด
ซากดึกดาบรรพ์ของใบเฟิ ร์ น
(Gleichenoides frantiensis)ใน
หินทรายแป้งสี เทาปนเขียวอายุ
ประมาณ 135 ล้ านปี ที่ผ่านมา
ริมถนนสายตรัง-สิ เกา
(ก.ม.27.1) จังหวัดตรัง
ไม้ กลายเป็ นหินพบใน
หินทรายแป้ งอายุ
ประมาณ 200 ล้ านปี
บริเวณแหลมจมูกควาย
อาเภอเมือง จังหวัด
กระบี่
• 2.3 ซากดึกดาบรรพ์ของสั ตว์ ไม่ มีกระดูกสั นหลัง
– พบมากทีส่ ุ ด เพราะสั ตว์ พวกนีม้ ีเปลือกแข็ง
– เด่ นชัดในยุคแคมเบรียน (545 ล้ านปี ที่ผ่านมา)
– แมงกระพรุนจะพบเห็นเป็ นซากดึกดาบรรพ์น้อย
– แต่ ซากดึกดาบรรพ์ส่วนใหญ่ ที่พบเป็ นพวกปะการัง
– ซากดึกดาบรรพ์ที่สาคัญซึ่งพบในไทย เป็ นพวก
“อาร์ โทรพอด” ซึ่งได้ แก่ สัตว์ ที่มีกระดอง
ซากดึกดาบรรพ์ของปะการัง
ในหินปูนชนิดเวนซีลอยเดส
(Wentzelloides sp.) อายุ
ประมาณ 250 ล้ านปี บริเวณวัด
วิสุทธิมรรคาราม อาเภอวิเชียร
บุรี จังหวัดเพชรบูรณ์
ซากดึกดาบรรพ์ ของปูในบริเวณที่นา้ ขึน้ ถึงเดิม(old tidal flat)อายุประมาณ
5,000 ปี
ก่ อนปัจจุบัน A-B เป็ นด้ านหน้ าและหลังของตัวอย่ างจากจังหวัดตราด C-D
เป็ นด้ านหน้ าและหลังของตัวอย่ างจากบ้ านแพรกษา จังหวัดสมุทรปราการ
ซากดึกดาบรรพ์ของปลาดาวเปราะในหินทรายแป้ ง (Eospondylus sp.)
อายุประมาณ 345 ล้ านปี ทีผ่ ่ านมา บริเวณอาเภอพุนพิน จังหวัดสุ ราษฎร์
ธานี
• 2.4 ซากดึกดาบรรพ์สัตว์ มกี ระดูกสั นหลัง
– มักจะเป็ นส่ วนแข็งของร่ ำงกำย
– เริ่ มพบตั้งแต่ยคุ ไซลูเรี ยนถึงดีโวเนียน
– ซำกดึกดำบรรพ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเป็ น
ซำกดึกดำบรรพ์ที่พบน้อย เนื่องจำกสัตว์มีกระดูก
สันหลังส่ วนใหญ่จะอำศัยอยูบ่ นบกและเมื่อล้ม
ตำยลงกำรเก็บรักษำซำกเป็ นไปได้ยำกกว่ำในน้ ำ
ซำกดึกดำบรรพ์ของปลำในหิ นดินดำนปนทรำย พบมำกเมื่อประมำณ 50
ล้ำนปี ที่ผำ่ นมำ (ยุคเทอร์เชียรี ) ส่ วนมำกเป็ นปลำน้ ำจืดที่อำศัยอยูใ่ นหนอง
หรื อทะเลสำบ
ฟอสซิลต้ นตระกูลนก
Archaeopteryx : อำคีออปเทอร์ริกซ์
ฟอสซิลนกโบราณ
(Archaeopteryx)
อายุ 140 ล้านปี
มีลกั ษณะกึ่งกลาง
ระหว่างสัตว์เลือ้ ยคลาน และนก
มีฟัน ขาหน้ า และขาหลัง
คล้ายบรรพบุรษุ ของสัตว์เลือ้ ยคลาน
และมีลกั ษณะอื่น เช่น
ขนนก ที่คล้ายกับ นกปัจจุบนั
เรียก
Transitional fossil เชื่อมโยง อดีต กับ ปัจจุบน
ั
ฟอสซิลต้ นตระกูลนก
• เกิดขึ้นได้ยำกมำก เนื่องจำก กระดูกของมันมี ลักษณะ
เบำ เป็ นรู พรุ น
• นักวิทยำศำสตร์ ส่ วนใหญ่เชื่อกันว่ำ นก และ สัตว์เลี้ยงลูก
ด้วยนม ล้วนมีววิ ฒั นำกำรมำจำกสัตว์เลื้อยคลำน
• บรรพบุรุษ ของนกในยุคปั จจุบนั เกิดขึ้นเมื่อ 35 ล้ำนปี
มำแล้ว
ซากชีวติ ที่เกิดจากการแทนที่ของสารอืน่
เช่น ซิ ลิคำ แทนที่ส่วนที่เป็ นเนื้ออ่อนของสิ่ งมีชีวติ
เกลือคำร์บอเนตแทนที่อวัยวะภำยในของสิ่ งมีชีวติ
โครงร่ างของ ichthyosaur
ตัวอย่างซากดึกดาบรรพ์
ซากดึกดาบรรพ์ของ กลอสซอฟเทอริส
ซากชีวติ ที่อยู่ครบบริบูรณ์
เช่น ซำกของตัวแมลงที่ฝังอยูใ่ นทุ่งหิ มะของไซบีเรี ย
หรื อแมลงที่พบอยูใ่ นแท่งอำพันเป็ นต้น
แมลงที่พบอยูใ่ นแท่งอำพัน
ยคุ ไทรแอสสิก (Triassic period)
248-213 ล้ านปี ก่ อน
ยุคไทรแอสสิ ก เป็ นช่ วงเวลาเริ่มต้ นแห่ งยุคไดโนเสาร์ สั นนิฐานกันว่ า
แผ่ นดินทั้งหมดในโลกแผ่ ติดกัน เป็ นทวีปอันกว้ างใหญ่ เรี ยกว่ า
“พันเจีย” แผ่ นดิน ทัว่ ไปในยุคนีจ้ ะมีอากาศทีอ่ บอุ่นเว้ นแต่ พนื้ ทีส่ ่ วน
ใน ของทวีปซึ่งอยู่ห่างไกลทะเล จะมีสภาพเป็ นทะเลทรายเพราะลมไม่
สามารถพัดพาความชุ่มชื้น จากพืน้ นา้ ทะเล เข้ าไปถึง ไดโนเสาร์ ในยุค
ไทรแอสสิ กนั้น ตัวไม่ ใหญ่ พอปลายยุคจะมีไดโนเสาร์ กินเนือ้ ขนาดเล็ก
และสั ตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนม
ยุคจูแรสสิ ก (Jurassic period)
213-144 ล้ านปี มาแล้ ว
• ยุคนี้เป็ นช่วงกลำงของไดโนเสำร์ มีพืชจำพวก ปรง เฟิ ร์ น จิงโก้
และมี ต้นสนขนำดใหญ่ ส่ วนสัตว์มีท้ งั พวกไดโนเสำร์กินพืชและ
ไดโนเสำร์ กินเนื้อ ขนำดใหญ่และขนำดเล็ก เช่น คอมพ์ซอกนำธัส
มีไดโนเสำร์หุม้ เกรำะ และมีสตั วคล้ำยจระเข้อยูใ่ นแหล่งน้ ำอีกด้วย
สัตว์จำพวกที่เลี้ยงลูกด้วยนมในยุค นี้ส่วนใหญ่จะมีขนำดเล็ก ไม่
สำมำรถเทียบกับไดโนเสำร์ได้ จึงมักหลบซ่อนอยูใ่ นโพรงไม้ โพรง
ถ้ ำ หรื อขุดรู อยูใ่ ต้ดิน และออกหำกินเวลำกลำงคืน
ยุคครีเตเซียส (Cretaceus) 14465 ล้ านปี มาแล้ ว
• ในยุคครี เตเซี ยสนี้มีพืชดอกหลำยชนิด มีไดโนเสำร์กิน
เนื้อขนำดใหญ่ที่สุด คือ ไทรันโนซอรัส มีไดโนเสำร์
ปำกเป็ ดและไดโนเสำร์คล้ำยนกไม่มีฟัน ส่ วนสัตว์อื่นมี
ประเภท กบ ซำลำมำนเดอร์ เต่ำ กิ้งก่ำ งู จระเข้ นกน้ ำ
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ขนำดเล็ก หลังจำกผ่ำนยุคนี้ไป
ไดโนเสำร์และสัตว์อื่นๆ ก็สูญพันธุ์ไปหมดโดยที่ ไม่
ทรำบสำเหตุที่แน่ชดั
แหล่ งซากไดโนเสาร์ ของประเทศไทย
•
•
•
•
ส่ วนมากอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ในชั้นหินทราย หินทรายแป้ง
พบในยุคไทรแอสสิ กตอนปลายถึงยุคครีเตเชียสตอนกลาง
อายุ 200 – 100 ล้ านปี ที่ผ่านมา
• ไดโนเสาร์ ชนิดแรกที่พบคือ สยามโมซอรัส สุ ธีธรนี
ฟอสซิลไดโนเสำร์
สยามโมซอรัส สุธีธรนี
(Siamosaurus suteethorni )
• ยุค : ครีเตเซียสตอนต้ น ประมาณ 130 ล้ านปี มาแล้ว ไดโนเสาร์
ชนิดแรกของไทย ตั้งชื่อให้ เป็ นเกียรติแก่
นายวราวุธ สุ ธีธร ผู้สารวจ เป็ นเทอโรพอดขนาดใหญ่ มีความยาว
ประมาณ 7 เมตร ลักษณะฟันรูปทรงกรวย มีแนวร่ องและสั นเรียง
สลับตลอด ฟันคล้ายของจระข้
• สถานที่พบ : ภูเวียง ภูก้ มุ ข้ าว ภูนาขาม ภูผาโง
• พบครั้งแรกในไทย ปี 1986
สยามโมซอรัส สุ ธีธรนี
(Siamosaurus suteethorni )
ซากดึกดาบรรพ์ของไดโนเสาร์ กนิ พืช ประกอบด้ วยลาตัวสะโพกและหาง
ม้ วนตวัดขึน้ ไป ส่ วนหัวหายไป อายุประมาณ 135 ล้ านปี ที่ผ่านมา บริเวณ
ภูก้ มุ ข้ าว อาเภอสหัสขันท์ จังหวัดกาฬสิ นธุ์
ฟอสซิลฟันของสยามโมซอรัส พบที่ขอนแก่ น
ภูเวียงโกซอรัส สิ รินธรเน
(Phuwianggosaurus sirindhornae)
• ยุค : ครีเตเซียสตอนต้ น ประมาณ 130 ล้ านปี มาแล้ ว ไดโนเสาร์ ซอ
โรพอดชนิดแรกของไทย ตั้งชื่อให้ เป็ นเกียรติแก่ สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุ ดาฯสยามบรมราชกุมารี ผู้ทรงสนพระทัยในงานด้ าน
โบราณชีววิทยา เป็ นเทอโรพอดขนาดกลาง มีความยาวประมาณ 1520 เมตร เดิน 4 เท้ า คอยาว กินพืชเป็ นอาหาร
• สถานที่พบ : บริเวณห้ วยประตูตีหมา อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่ น
• พบครั้งแรกในไทยปี 1994
ภูเวียงโกซอรัส สิ รินธรเน
ภูเวียงโกซอรัส สิ รินธรเน
สยามไมไทรันนัส อิสานเอนซิส
(Siamotyrannus isanensis)
• ยุค : ครีเตเซียสตอนต้ น ประมาณ 130 ล้ านปี
มาแล้ ว เป็ นไดโนเสาร์ กนิ เนือ้ ขนาดใหญ่ มี
ความยาวประมาณ 7 เมตร ขาหลังมีขนาดใหญ่
และแข็งแรง
• สถานที่พบ : ที่บริเวณหินลาดยาว ภูเวียง
จังหวัดขอนแก่ นเมือ่ เดือนสิ งหาคม ปี 1996
A dinosaur fossil found within the remains of a mammal
คอมพ์ซอกนาธัส (Compsognathus logipes)
• เป็ นไดโนเสาร์ กนิ เนือ้ ขนาดเล็กที่มีลกั ษณะคล้ ายนก มีหัวขนาดเล็ก
คอ ขา และหางยาว ส่ วนแขนสั้ น มีมือข้ างละ 3 นิว้ มีเล็บแหมล
โค้ ง มีฟันแหลมคมไว้ กดั กินแมลงและสั ตว์ เลือ้ ยคลานตัวเล็กๆ มี
ขนาดลาตัวประมาณ 2 ฟุตและมีนา้ หนักเพียง 3 กิโลกรัม ใน
ประเทศไทยพบกระดูกขาหลังท่ อนล่ าง กระดูกขาหน้ าชิ้นบนอย่ าง
ละชิ้นของไดโนเสาร์
• สถำนที่พบที่ภูประตูตีหมำ อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น มีควำม
ยำวประมำณ 70 เซนติเมตร น้ ำหนักประมำณ 3.5 กิโลกรัม
คอมพ์ซอกนาธัส
ประโยชน์ ของซากดึกดาบรรพ์
• ซากดึกดาบรรพ์แสดงถึงความเปลีย่ นแปลงและความก้ าวหน้ าทาง
วิวฒ
ั นาการของสิ่ งมีชีวติ
• ทราบถึงความสั มพันธ์ ของสิ่ งมีชีวติ กับสภาพแวดล้ อมในอดีต
• นอกจากนั้นซากดึกดาบรรพ์ยงั ทาให้ เรียนรู้ ถงึ กฎเกณฑ์ การดารงชีพของ
สิ่ งมีชีวติ แต่ ละชนิด
• เป็ นเหมือนลายแทงในการสารวจหาแหล่ งปิ โตรเลียม ก๊ าซธรรมชาติและ
ถ่ านหิน
• ยืนยันถึงการแปรสั ณฐานของแผ่ นธรณีภาค
• เป็ นหลักฐานใช้ ศึกษาหาความสั มพันธ์ ของชั้นหินตะกอน
คำถำม หน้ำ 68
• ซากดึกดาบรรพ์ที่ค้นพบในแต่ ละพืน้ ที่มี
ความสาคัญอย่ างไร สามารถบอกประวัติความ
เป็ นมาของพืน้ ที่น้ันได้ อย่างไร
ซากดึกดาบรรพ์สามารถบอกวิวฒ
ั นาการการเปลี่ยนแปลง
และอายขุ องพืน้ ทีน่ ั้นๆ
หน่ วยเวลาของธรณีกาล
นักวิทยาศาสตร์ ได้ แบ่ งธรณีกาลออกเป็ น
มหายุค (era)
ยุค (period)
สมัย (epoch)
ช่ วงอายุ ( age)
ตามลาดับ
Historical geology
วิวฒ
ั นาการของมนุษย์
วิวฒ
ั นาการของมนุษย์
วิวฒ
ั นาการของมนุษย์
วิวฒ
ั นาการของมนุษย์
วิวฒ
ั นาการของมนุษย์
วิวฒ
ั นาการของมนุษย์
วิวฒ
ั นาการของมนุษย์
วิวฒ
ั นาการของมนุษย์
วิวฒ
ั นาการของมนุษย์
วิวฒ
ั นาการของมนุษย์
การหาอายุหินโดยการใช้คานวณจากครึ่งชี วิตของธาตุ
กัมมันตรังสี เป็ นการหาอายุหินแบบใด
เวลาสัมพัทธ์
อายุสมั บูรณ์
อายุเปรียบเทียบ
อายุเทียบสัมพันธ์
การทับถมของซากดึกดาบรรพ์ ควรเกิดที่บริเวณใดมาก
ที่สุด
ส่วนที่เป็ นทวีป
ในยางไม้
ทะเลมหาสมุทร
ในทะเลสาบลึกๆ
แหล่งซากไดโนเสาร์ของประเทศไทย อยู่ในหินยุคใด
ไตรแอสสิกตอนต้น ถึงยุคจูแรสสิกตอนปลาย
ไตรแอสสิกตอนปลาย ถึงยุคครีเตเชียสตอนกลาง
ไตรแอสสิกตอนปลาย ถึงยุคครีเตเชียสตอนปลาย
ไตรแอสสิกตอนปลาย ถึงยุคจูแรสสิกตอนปลาย
แหล่งซากไดโนเสาร์ในประเทศไทยอยู่ในชัน้ หินชนิ ดใด
หินทราย หินทรายแป้ง
หินทรายสลับหินดินดาน
หินปูน
หินทราย
การหาอายุหินโดยการใช้คานวณจากครึ่งชี วิตของธาตุ
กัมมันตรังสี เป็ นการหาอายุหินแบบใด
เวลาสัมพัทธ์
อายุสมั บูรณ์
อายุเปรียบเทียบ
อายุเทียบสัมพันธ์
การทับถมของซากดึกดาบรรพ์ ควรเกิดที่บริเวณใดมาก
ที่สุด
ส่วนที่เป็ นทวีป
ในยางไม้
ทะเลมหาสมุทร
ในทะเลสาบลึกๆ
แหล่งซากไดโนเสาร์ของประเทศไทย อยู่ในหินยุคใด
ไตรแอสสิกตอนต้น ถึงยุคจูแรสสิกตอนปลาย
ไตรแอสสิกตอนปลาย ถึงยุคครีเตเชียสตอนกลาง
ไตรแอสสิกตอนปลาย ถึงยุคครีเตเชียสตอนปลาย
ไตรแอสสิกตอนปลาย ถึงยุคจูแรสสิกตอนปลาย
แหล่งซากไดโนเสาร์ในประเทศไทยอยู่ในชัน้ หินชนิ ดใด
หินทราย หินทรายแป้ง
หินทรายสลับหินดินดาน
หินปูน
หินทราย
ชั้นหินและอายุของชั้นหิน
• หินเป็ นส่ วนประกอบทีส่ าคัญของเปลือกโลก เนื่องจากภายใต้ ช้ ัน
แมนเทิลจะมีหินหลอมละลายหรือที่เรียกว่ า หินหนืด ซึ่งหิน
หลอมละลายนีจ้ ะถูกดันขึน้ มาทีผ่ วิ โลกแล้ วเย็นตัวกลายเป็ นหิน
อัคนี จากนั้นหินอัคนีจะเกิดการเปลีย่ นแปลงเป็ นหินตะกอน
เนื่องจากการสึ กร่ อนจากสาเหตุต่างๆ หากได้ รับความร้ อนและ
ความกดดันมากๆ ก็จะกลายเป็ นหินแปร ซึ่งการเปลีย่ นแปลงใน
ลักษณะหมุนเวียนกับไปนี้ เรียกว่ า วัฏจักรของหิน
วัฏจักรของหิน มีระยะเวลาทีเ่ กิดต่ างกัน จึงใช้ อายุของหินในการแบ่ งหิน
ภาพแสดง ลักษณะการลาดับชั้นของหินตะกอนจากชั้นล่าง (อายุมาก) ไปชั้นบน
(อายุน้อย) ของชั้นหินทรายแป้ง ชั้นหินทรายสลับหินดินดาน และหินทราย
กระบวนการเกิดหินชนิดต่ างๆ
ในสภาพปกติช้ันหินตะกอนทีอ่ ยู่ด้านล่ างจะสะสมตัวก่ อน มีอายุ
มากกว่ าชั้นหินตะกอนทีว่ างทับอยู่ช้ันบน ดังภาพด้ านล่ างต่ อไปนี้
หินดินดานเป็ นหินทีม่ ีอายุมากทีส่ ุ ด หินปูนเกิดสะสมก่ อนหิน
กรวดมน และหินทรายมีอายุน้อยทีส่ ุ ด
หินอัคนี
• เป็ นหินที่เกิดจากหินหนืดหรือแมกมา ที่แทรกตัวขึน้ มา
จากส่ วนลึกชั้นฐานธรณีภาค เมื่อเย็นตัวลงกลายเป็ นหิน
อัคนี มี 2 ชนิดคือ
• 1. หินอัคนีแทรกซอน เช่ น หินแกรนิต หินไดโอไรต์
• 2. หินอัคนีพุหรือหินอัคนีภูเขาไฟ เช่ น หินบะซอลต์ หิน
แอนดีไซต์ หินไรโอไลต์
แหล่ งกาเนิดหินอัคนี
หินอัคนีพุ
หินไรโอไลต์
หินแอนดีไซต์
หินบะซอลต์
หินอัคนีแทรกซอน
หินแกรนิต
หินไดออไรต์
หินแกรโบร
หินแกรนิต (Granite)
หิ นอัคนีแทรกซอน สี อ่อน
ผลึกใหญ่
มีแร่ ควอรตซ์
เฟลด์สปำร์ ฮอร์นเบล์น
หินไรโอไรต์ (Rhyolite)
หิ นอัคนีพุ สี อ่อน มี
ส่ วนประกอบ
เหมือน
หิ นแกรนิต แต่มี
ผลึกขนำดเล็ก
หินแอนดีไซต์ (Andesite)
หิ นอัคนีพุ สี เข้ม เนื้อ
ละเอียด มีผลึกขนำดเล็ก
เนื่องจำกเย็นตัวรวดเร็ ว
หินบะซอลต์ (Basalt)
หิ นภูเขำไฟ สี เข้ม เนื้อ
ละเอียด เกิดจำกลำวำ
บำงแห่งมีฟองอำกำศ
หินชั้นหรือหินตะกอน
• เกิดจากการสะสมและทับถมของเศษหินดินทรายทีถ่ ูก
ชะล้างละลายหรือแตกสลายออกมาจากหินเดิม
•
หินกรวดมน
หินทราย
หินดินดาน
หินตะกอนเคมี
หินปูน
หินเชิร์ต
หินตะกอน
หินกรวดมน (Conglomerate)
เนือ้ หยาบ มีกรวดมน
ฝังอยู่ในเนือ้
เชื่อมด้ วยวัสดุ
ประสาน
หินดินดาน (Shale)
เนือ้ ละเอียดมาก มี
รอยขนาน
แตกเป็ นแผ่ นได้
ประกอบด้ วยแร่
ดิน
หินทราย (Sandstone)
เนื้อหยาบเป็ น
เม็ดทราย
ประกอบด้วย
แร่ ควอรตซ์
หินปูน (Limestone)
ตะกอนคาร์บอเนต ทำ
ปฏิกิริยำกับกรด
เกิดจากการทับถมใน
ทะเล
หินแปร
• เกิดจากการแปรสภาพของหินเดิม ที่อาจเป็ นหินอัคนีหรือ
หินตะกอน โดยถูกความร้ อนหรือความดัน
• พบซากดึกดาบรรพ์ ในชั้นหินตะกอน
หินแกรนิต
หินไนส์
หินทราย
หินดินดาน
หินชนวน
หินปูน
หินแปร
หินควอร์ ตไซต์
หินอ่ อน
แปรสภาพสั มผัส
แปรสภาพบริเวณไพศาล
หินไนซ์ (Gneiss)
แปรสภาพมาจาก
หินแกรนิต เป็ น
หินแปรที่มีความ
แข็งและทนทาน
มาก
เนือ้ หยาบ มีริ้ว
ลาย หยักคดโค้ ง
หินชนวน (Slate)
แปรสภาพมา
จากหินดินดาน
เนือ้ เนียน มี
รอยขนาน แตก
เป็ นแผ่ นได้
หินควอร์ ตไซต์ (Quartzite)
แปรสภาพมาจาก
หิ นทราย
เนื้อหยาบ มีวสั ดุ
ประสานเชื่อมสนิท
หินอ่ อน (Marble)
แปรสภาพมาจาก
หิ นปูน
มีผลึกแคลไซต์ ทำ
ปฏิกิริยำกับกรด
ควอรตซ์
ไมก้ า
เฟลด์ สปาร์
แอมฟิ โบล
ไพร็อกซีน
แคลไซต์
แร่ ประกอบหิน
วัฏจักรการเกิดหินทั้งสามประเภท
การผุพงั อยู่กบั ที่ (Weathering)
การสึ กกร่ อน (Erosion)
• การทีช่ ้ ันหินทีอ่ ยู่ในแนวราบเกิดเอียงเทไปในปัจจุบัน เนื่องจาก
กำรเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ภำคแผ่นดินไหวหรื อภูเขำไฟระเบิด
• กำรลำดับชั้นหิ น ลำดับหิ นชั้นล่ำงสุ ดมีอำยุมำกที่สุด เรี ยง
ตำมลำดับคือ หิ นดินดำน หิ นทรำยแป้ ง หิ นทรำยสลับหิ นดินดำน
หิ นทรำย
การแบ่งหินออกเป็ น 3 ชนิ ด คือหินอัคนี หินตะกอน และ
หินแปรนัน้ นักธรณี วิทยาใช้หลักการใดในการแบ่ง
ลักษณะการเกิด
อายุ
ระยะเวลาที่เกิด
องค์ประกอบของแร่ในหิน
จากการเรียงตัวของชัน้ หิน หินชนิ ดใดอายุมากที่สุด
และหินชนิ ดใดอายุนอ้ ยที่สุดตามลาดับ
หินทราย หินดินดาน
หินดินดาน หินทราย
หินทราย หินปูน
หินปูน หินกรวดมน
หินชนิ ดใดไม่พบซากดึกดาบรรพ์
หินแปร
หินตะกอน
หินอัคนี
หินแปร หินอัคนี
ข้อใดผิ ด
หินอัคนี เป็ นหินที่เกิดจากการเย็นตัวแข็ งของหินหนื ดหรือ
แมกมา ซึ่งแทรกขึ้ นมาจากส่วนลึกภายในโลก
หินชัน้ เกิดจากอนุภาคของหิน ซึ่งตกตะกอนโดยน้า ลม หรือ
น้าแข็ ง และเกิดตะกอนเป็ นชัน้ ๆ
หินแปรเกิดขึ้ นเมื่อหิน(โดยปกติเป็ นหินชัน้ )ได้รบั ความร้อน
และ/หรือความดัน
หลักการลาดับชัน้ และหลักการแนวราบเดิมกล่าวถึงชัน้ หินอายุ
มากที่สุดจะอยู่บนสุด
การแบ่งหินออกเป็ น 3 ชนิ ด คือหินอัคนี หินตะกอน และ
หินแปรนัน้ นักธรณี วิทยาใช้หลักการใดในการแบ่ง
ลักษณะการเกิด
อายุ
ระยะเวลาที่เกิด
องค์ประกอบของแร่ในหิน
จากการเรียงตัวของชัน้ หิน หินชนิ ดใดอายุมากที่สุด
และหินชนิ ดใดอายุนอ้ ยที่สุดตามลาดับ
หินทราย หินดินดาน
หินดินดาน หินทราย
หินทราย หินปูน
หินปูน หินกรวดมน
หินชนิ ดใดไม่พบซากดึกดาบรรพ์
หินแปร
หินตะกอน
หินอัคนี
หินแปร หินอัคนี
ข้อใดผิ ด
หินอัคนี เป็ นหินที่เกิดจากการเย็นตัวแข็ งของหินหนื ดหรือ
แมกมา ซึ่งแทรกขึ้ นมาจากส่วนลึกภายในโลก
หินชัน้ เกิดจากอนุภาคของหิน ซึ่งตกตะกอนโดยน้า ลม หรือ
น้าแข็ ง และเกิดตะกอนเป็ นชัน้ ๆ
หินแปรเกิดขึ้ นเมื่อหิน(โดยปกติเป็ นหินชัน้ )ได้รบั ความร้อน
และ/หรือความดัน
หลักการลาดับชัน้ และหลักการแนวราบเดิมกล่าวถึงชัน้ หินอายุ
มากที่สุดจะอยู่บนสุด
http://www.geocities.com/patiya_p2002/T3.htm
http://www.nrru.ac.th/web/ancient/dino/dino201.htm