ดูงาน - ระบบงานศูนย์ข้อมูลและเครือข่าย

Download Report

Transcript ดูงาน - ระบบงานศูนย์ข้อมูลและเครือข่าย

EVOLUTION
OF
FROGS.
กบ เป็ นสัตว์ครึ่ งบกครึ่ งน้ ำอยูใ่ น Order Anura
(กรี กโบรำณหมำยถึง “ไม่มีหำง”) ซึ่งซำกดึกดำบรรพ์ที่
เก่ำแก่ที่สุดของกบนั้นปรำกฏอยูใ่ นยุคก่อน
ไทรแอสสิ ก (Triassic) บนเกำะมำดำกัสกำร์ แต่จำก
วิวฒั นำกำรของพวกมันแสดงให้เห็นว่ำจริ งๆแล้วต้น
กำเนิดของมันนั้นเกิดมำตั้งแต่หลังยุค เพอร์
เมียน (Permian) เมื่อ 265ล้ำนปี ที่แล้ว
กบมีกำรกระจำยอย่ำงกว้ำงขวำงตั้งแต่เขตร้อนไป
จนถึงเขตหนำวเย็น แต่จำนวนสำยพันธุ์มำกที่สุดพบที่ป่ำ
ฝนเขตร้อน จำกกำรบันทึกไว้มีมำกกว่ำ 4,800 สำยพันธุ์
Triadobatrachus เป็ นสัตว์สูญพันธุ์จำพวกกบ รวมถึงอีกหนึ่งสำย
พันธุ์คือ Triadobatrachus massinoti มันเป็ นกบที่เก่ำแก่ที่สุดและเป็ น
ตัวอย่ำงสำคัญในกำรศึกษำทำงด้ำนวิทยำศำสตร์ มันอำศัยอยูใ่ นช่วงก่อนยุค
ไทรแอสสิ ก (Triassic) ประมำณ 250 ล้ำนปี มำแล้ว ในหมู่เกำะมำดำกัสกำร์
Triadobatrachus มีลำตัวยำว 10 cm . หรื อ 3.9 นิ้ว และยังคง
ลักษณะดั้งเดิมไว้อยู่ เช่น มีกระดูกสันหลังทั้งหมด 14 ชิ้น ปัจจุบนั มีเพียง
4-9 ชิ้นเท่ำนั้น ส่ วนอีก 6 ชิ้นเป็ นกระดูกส่ วนหำงสั้นๆ
มันถูกค้นพบครั้งแรกในปี 1937 ที่ Adrien Massinot ใกล้หมู่บำ้ น
ทำงภำคเหนือของ Betsieka ใน มำดำกัสกำร์พบโครงกระดูกที่สมบูรณ์เกือบ
ทั้งหมด คำดว่ำมันกลำยเป็ นฟอสซิลทันทีหลังตำยแล้ว เพรำะกระดูก
ทั้งหมดวำงอยูใ่ นตำแหน่งที่เป็ นไปตำมธรรมชำติของมัน มีแต่เฉพำะส่ วนที่
ด้ำนหน้ำของกะโหลกศีรษะและปลำยของแขนขำหำยไป
ด้ำนสรี รวิทยำของกบ
1. ตำ มีลกั ษณะกลมโตและโปนขึ้นมำ นอกจำกจะทำให้กบมอง
ได้ในที่มืดแล้ว ยังสำมำรถมองได้รอบทิศโดยไม่ตอ้ งหมุนตัว
2. หู มีลกั ษณะเป็ นแผ่นกลมอยูถ่ ดั จำกตำไปทำงด้ำนลำตัว กบไม่
มีใบหูหรื อหูส่วนนอก แต่หูของกบจะทำหน้ำที่รับคลื่นเสี ยงจำกอำกำศ
หรื อน้ ำแล้วสะท้อนเข้ำหูส่วนใน
3. จมูก มีรูจมูก (Nares หรื อ Nostrils) สองช่อง รู จมูกทะลุเข้ำไป
ในช่องปำก รู จมูกที่อยูข่ ำ้ งนอกเรี ยก
(External nares) ส่ วนรู ที่เปิ ดเข้ำไปในปำกเรี ยก (Internal nares)
4. ปำก กบมีปำกที่กว้ำงเวลำอ้ำปำก ลิ้นกบมีลกั ษณะแตกต่ำงจำก
สัตว์อื่นคือมีส่วนโคนติดกับขำกรรไกรล่ำงและส่ วนปลำยของลิ้นอยูภ่ ำยใน
ปำก เวลำจับแมลงจะตวัดส่ วนปลำยลิ้นออกมำ
5. ขำและเท้ำ โครงสร้ำงของขำและเท้ำของกบแต่ละสำยพันธุ์น้ นั
แตกต่ำงกันมำกขึ้นอยูก่ บั ที่อยูอ่ ำศัย ว่ำอยูบ่ นพื้น ในน้ ำ ในต้นไม้หรื อใน
โพรง กบต้องเคลื่อนไหวได้อย่ำงรวดเร็ วไม่วำ่ จะอยูใ่ นสภำพแวดล้อมแบบ
ไหน เพื่อกำรจับเหยือ่ หรื อหนีนกั ล่ำ กบส่ วนใหญ่จะมีพงั พืดที่เท้ำช่วยใน
กำรว่ำยน้ ำ
6.ผิวหนัง ผิวของกบป้ องกันโรคได้ ระบบทำงเดินหำยใจมีหน้ำที่
สำมำรถดูดซับน้ ำและช่วยควบคุมอุณหภูมิของร่ ำงกำย มันมีต่อมโดยเฉพำะ
บนศีรษะ ซึ่งมักจะคำยสำรพิษที่น่ำรังเกียจและ หลัง่ ออกมำมักจะเหนียวและ
ช่วยให้ผวิ ชุ่มชื้น, ป้ องกันเชื้อรำและแบคทีเรี ยและทำให้ลื่นสำมำรถที่จะหนี
จำกนักล่ำ.
FROG SKELETON
วัฏจักรชีวิตของกบ
(Life Cycle of Frogs.)
บรรณำนุกรม
 http://en.wikipedia.org/wiki/Frog
1.
2.
3.
4.
5.
สมำชิกกลุ่ม 1 มัธยมศึกษำปี ที่ 6/9
นำงสำวพรดิฐี
เถื่อนโทสำร เลขที่ 17ก.
(ตกแต่งงำน)
นำงสำวพรชิตำ ยิม้ แย้ม
เลขที่ 19ก.
(ตกแต่งงำน)
นำงสำวนฤมล
เชิดโคกสูง เลขที่ 19ข.
(รวบรวมเรี ยบเรี ยงเนื้อหำ)
นำงสำวเบญจมำศ ทิมศรี
เลขที่ 20ข.
(ค้นหำข้อมูล)
นำงสำวภัทรวรรณ ยืนยง
เลขที่ 21ข.
(ค้นหำข้อมูล)