สาธารณรัฐอินโดนีเซีย: ขนาด 602.46 KB

Download Report

Transcript สาธารณรัฐอินโดนีเซีย: ขนาด 602.46 KB

Republic of
Indonesia
สาธารณรัฐ
อินโดนีเซีย
เมืองหลวง
(Jakarta)
กรุงจาการตา
์
กลวยไม
ราตรี
(Moon
้
้
orchid)
ดอกไมประจ
าชาติประเทศ
้
อินโดนีเซีย
1.ข้อมูลพืน
้ ฐาน
จานวนประชากร
จานวน
245,613,046 คน (สถิต ิ พ.ศ.2554)
เป็ นชาย 122,924,547 คน เป็ นหญิง
122,688,499 คน
ลักษณะภูมศ
ิ าสตร ์
อินโดนี เซีย เป็ น
ประเทศที่มีเ กาะขนาดใหญ่ที่สุ ด ในโลก
17,000
เกาะ กว่า 70% ไม่มีผู้ คน
อาศั ย เกาะหลักๆ 5 เกาะ คือ อีเรียน
( irian) ช ว า ( Java) ก า ลิ มั น ตั น
(Kalimantan)
สุ ล า เ ว สี ( Sulawesi) แ ล ะ สุ ม า ต ร า
(Sumatra) ประชากรประมาณ 60 % ของ
ประชากร 200 ล้านคน อาศั ย อยู่บน
เกาะนี้ เ กาะที่ใ หญ่ที่สุ ด คือ เกาะสุ ม าตรา
อิน โดนี เ ซี ย เป็ นประเทศที่มีภู เ ขาสู ง ตาม
เกาะตาง
ๆ มักมีภูเขาไฟ
่
ภู ม ิอ ากาศ
ลัก ษณะอากาศแบบศู น ย ์
สู ต ร ฝนตกชุ ก ตลอดปี
ทั้ง ปี มี 2
ฤดู คือ ฤดูแล้ง (พฤษภาคม-ตุลาคม)
ฤดูฝน(พฤศจิกายน – เมษายน)
พื้ น ที่ 5,070,6 0 6 ต า ร า ง กิ โ ล เ ม ต ร
ชายฝั่งยาว 2,600 กิโลเมตร
2.ดานสั
งคม
้
ป ร ะ เ ท ศ อิ น โ ด นี เ ซี ย เ ป็ น
ป ร ะ เ ท ศ ที่ มี ข น า ด ใ ห ญ่ ที่ สุ ด ใ น ก ลุ่ ม
ประเทศอาเซียน อดีตถือ กาเนิดจากหมู่
เกาะทั้ง หลายมีค วามเจริญ รุ่ งเรือ ง แต่
ต่ อ ม า ต้ อ ง ต ก เ ป็ น อ า ณ า นิ ค ม ข อ ง
เชื้อ ชาติ
อิน โดนี เ ซีย มีป ระชากรมากเป็ น
อัน ดับ 4 ของโลก เป็ นชาวชวา 41.7 %
ชาวซุนดา 15.4 % ชาวมาดูรส
ี 3.3 % ชาว
มินงั กะเบา 2.7 % ชาวเบตาวี 2.5 % ชาวบู
กิน 2.9 % ชาวบันเท 2.1 % ชาวบันจารี
2.3 % อืน
่ ๆ 27.1 % (พ.ศ.2552)
ศาสนา
อิส ลาม ร้อยละ 85.2 คริส ต ์
นิ ก ายโปรแตสเตน ร้ อยละ 8.9
คริส ต ์
นิ ก ายโรมัน คาทอริ ก ร้ อยละ 3
ฮิ น ดู
ร้ อยละ 1.8
พุ ท ธ ร้ อยละ 0.8 และ
ศาสนาอืน
่ ๆ รอยละ
0.3 (พ.ศ.2553)
้
การจัดสวัสดิการสั งคม
มีการจัดการศึ กษา
สาหรับเด็กทีไ่ รที
่ ยูและไม
มี
้ อ
่
่ สัญชาติ
3.วัฒนธรรม
ชาวบาหลีมค
ี วามเป็ นมิตรและน้าใจ
ไมตรีสูงมาก และยังคงเป็ นผู้ทีม
่ ีประเพณี ซึ่ง
เป็ นหัว ใจของการด ารงชี ว ิต นั ก ท่องเที่ย ว
ควรให้ ความเคารพต่อประเพณี แ ละทัศ นคติ
ของชาวบาหลี ข้อควรปฏิบต
ั ิ คือ ห้ามใช้
มื อ ข้ างซ้ ายในการให้ หรื อ รับ ของและชี้ นิ้ ว
(เนื่องจากมือขางซ
้
้ายใช้สาหรับทากิจกรรมใน
ห้ องน้ า ) ห้ ามกระดิก นิ้ ว หากต้ องการซื้ อ
สิ นคาใดๆ
ควรตกลงราคาให้แน่นอนกอนซื
อ
้
้
่
ไม่ ควรต่ อรองหากไม่ต้ องการซื้อ และควร
ต่อรองราคาครึ่ง ต่อครึ่ง และดูท่าทีข องผู้ ขาย
เพือ
่ ตอรองราคาต
อไป
ควรเก็ บเงินก้อนใหญ่
่
่
ทีม
่ ีตด
ิ ตัวให้มิดชิด ไม่ควรใส่ชุ ดวายน
้านอก
่
บริ เ วณสระ ว่ ายน้ าและชายหาด ควรถอด
รองเท้ าวางไว้ บริเ วณข้ างบัน ไดก่อนเข้ าบ้ าน
ภาษาราชการ
ภ า ษา อิ น โ ด นี เซี ย
อังกฤษ
ดัชท ์
ภาษาอืน
่ ๆ
ส่วนใหญเป็
่ นภาษาชวา
4 . ก า ร ศึ ก ษ า
ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า
ประกอบดวย
้
การศึ กษาขัน
้ พืน
้ ฐาน
ตามเกณฑจะใช
์
้
เ ว ล า ศึ ก ษ า 9 ปี โ ด ย เ รี ย น ชั้ น
ประถมศึ กษา 6 ปี และมัธ ยมศึ กษา
ตอนต้ น 3 ปี
การศึ กษาในระดั บ
มัธ ยมศึ กษา มีก ารจัด การศึ กษาหลาย
แบบ เช่ น แบบสามัญ ทั่ว ไป
แบบ
สามัญ วิช าชี พ แบบสามัญ ทางศาสนา
แบบสามัญ บริก าร และแบบการศึ กษา
พิเศษ
การศึ กษาระดับสูง
การศึ กษาระดับสูง
หรืออุดมศึ กษา เป็ นการขยายการศึ กษา
จากระดับมัธยมศึ กษา ระดับปริญญาตรี
ใช้ เวลา 3-4 ปี ปริญ ญาโท 2 ปี
และปริญญาเอก 3 ปี
อิ น โ ด นี เ ซี ย ไ ด้ เ น้ น ก า ร พั ฒ น า
โ ค ร ง ส ร้ า ง ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า
ทรัพ ยากรมนุ ษ ย ตอบสนองต
่อการพัฒ นา
์
ชนบท โดยเฉพาะในด้ านการพั ฒ นา
เศรษฐกิจ และการจ้ างงาน การพัฒ นา
คุ ณ ภาพครู สถาบัน การศึ กษา
การ
เสริมสรางศั
กยภาพผูบริ
้
้ หารโรงเรียน
อัต ราการอ่ านออกเขี ย นได้
ร้ อยละ
92 (พ.ศ. 2552)
5.เศรษฐกิจ
อิน โดนี เ ซี ย เป็ นประเทศที่ มี
ระบบเศรษฐกิจแบบ Markket- based ที่
ใหญ่ ที่ สุ ด ในเอเชี ย ตะวัน ออกเฉี ยงใต้
รัฐบาลมีบทบาทสาคัญในการจัดการดูแล
ราคาผลิต ภัณ ฑ ์พื้ น ฐานต่ าง ๆ เช่ น
เชื้อ เพลิง ข้ าว ไฟฟ้า เศรษฐกิจ ของ
ป ร ะ เ ท ศ ขึ้ น อ ยู่ กั บ ก า ร ท า เ ห มื อ ง แ ร่
ภาคอุ ต สาหกรรม และสาธารณู ป โภค
จาการตา
เป็ นเมืองหลวงและศูนยกลาง
์
์
เศรษฐกิจ ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ภาคการผลิต ที่
ส า คั ญ ไ ด้ แ ก่ ป่ า ไ ม้ แ ร่ ธ า ตุ
เกษตรกรรม (ปลู ก พื ช แบบขั้น บัน ได
ข้ าว ยาสู บ ข้ าวโพด เครื่อ งเทศ )
ประมง อุ ต สาหกรรม(การกลั่น น้ า มัน
การตอเรื
่ อ) กาโด กาโด
สิ นค้านาเข้าส
าคัญ Gado)
น้ามัน เหล็ก สิ่ ง
(Gado
7.สถานทีท
่ องเที
ย
่ วสาคัญ
่
Borobudur Temple Compounds (กลุม
่
วัดบรมพุทโธ) สถานทีส
่ าคัญศาสนาพุทธมีอายุ
ระหวางคริ
สตศตวรรษที
่ 8-9 (พุทธศตวรรษที่
่
์
13-14) ตั้ง อยู่ บนเกาะชวากลาง องค เจดี
ย์
์
สร้างเป็ น 3 ส่วน ลดหลัน
่ กันโดยส่วนฐาน
เป็ นลานสี่ เหลีย
่ มซ้อนกัน 5 ชั้น ส่วนกลาง
เป็ นลานวงกลม 3 ชั้น และบนลานกลมชั้น
สู ง สุ ด มีพ ระสถู ป ตั้ง สู ง ขึ้น ไปอีก ก าแพงและ
ลูกกรงประดับ ตกแต่งด้วยการสลักครอบคลุ ม
บริเ วณทั้ง หมดถึง 2,500 ตารางกิโ ลเมตร
รอบ ๆ ลานวงกลมเป็ นสถู ป ฉลุ ล าย 72
องค ์ ภายในแต่ ละองค ์บรรจุ พ ระพุ ท ธรู ป
อนุ ส รณ สถานนี
้ ไ ด้รับ การบู ร ณะจากยู เ นสโก
์
ในระหวางปี
คริสตศั
่
์ กราช 1970-1979 (พ.ศ.
2513-2522)
Sangiran Early Man Site (แหลงมนุ
ษย ์
่
ยุ ค เริ่ม แรกซัง งีร น
ั ) ที่ต้งั แหล่งโบราณคดีขุ ด
ค้ น พ บ ตั้ ง แ ต่ ปี
ค . ศ . 1936- 1941
(พ.ศ.2479-2486) พบฟอสซิ ล มนุ ษ ย ์ และ
ต่ อ ม า ก็ พ บ ฟ อ ส ซิ ล ข อ ง Meganthropus
erectus/Homo erectus จานวน 50 ซาก
โดยครึ่ ง หนึ่ ง เป็ นฟอสซิ ล มนุ ษย ์ เป็ นที่ อ ยู่
อาศั ยมาในอดีต ราว 1 ล้านปี ครึง่ ซังงีรน
ั
เ ป็ น ส ถ า น ที่ ส า คั ญ ที่ ท า ใ ห้ เ ร า เ ข้ า ใ จ
วิวฒ
ั นาการของมนุ ษยมากขึ
น
้
์
Ujung Kulon National Park (อุทยาน
แหงชาติ
อูจุงกูลอน) อุทยานแหงชาติ
ตง้ั อยูทิ
่
่
่ ศ
ตะวันตก
เฉี ยงใตของชวาแถบไหล
ทวี
้
่ ปซุน
ดารวมคาบสมุ ท รอู จุ ง กู ล อน เกาะนอกฝั่ ง
แ ล ะ ร ว ม ถึ ง เ ข ต อ นุ รั ก ษ์ ธ ร ร ม ช า ติ
กรากะตัว
้ (Krakatoa) ด้วย นอกเหนื อจาก
ธรรมชาติสวยงามพร้อมกับลักษณะธรณีวท
ิ ยา
ที่น่ าสนใจเพื่อ การศึ ก ษาภู เ ขาไฟบนแผ่นดิน
ตอนใน อุทยานแหงชาติ
นี้ยงั มีป่าฝนพืน
้ ทีต
่ า่
่
ใ น ที่ ร า บ ช ว า สั ต ว ์ แ ล ะ พื ช ใ ก ล้ สู ญพั น ธุ ์
รวมถึงแรดชวา
Prambanan Temple Compounds (กลุม
่
วั ด พรั ม บา นั น ) บริ เ วณนี้ ส ร้ างขึ้ น ในพุ ท ธ
ศตวรรษที่ 15 เป็ นวัดในศาสนาฮิ นดูทใี่ หญ่
ที่สุ ด เพื่อ บู ช าพระศิ ว ะในอิน โดนิ เ ซี ย เหนื อ
ขึ้น ไปจากศูน ย กลางของพื
น
้ ที่สี่ เหลี่ย มจัตุ ร ส
ั
์
คือ โบสถ ์ 3 หลัง มีภ าพแกะสลัก เล่าเรื่อ ง
ร า ม เ กี ย ร ติ ์ เ พื่ อ อุ ทิ ศ ถ ว า ย แ ด่ เ ท พ เจ้ า ที่
ยิ่ ง ใหญ่ ทั้ ง 3 องค
นดู (พระศิ วะ
์ ของฮิ
เคบาย
า่
พระวิ ษ ณุ และพระพรหม)
และสั ตว ์ เทพ
(Kebaya)