Transcript ภาษาศาสตร์
ภาษาศาสตร์ เบือ้ งต้ น
Introduction to Linguistics
http://ahph9thi.gotoknow.org/assets/media/files/000/810/969/original_scopeli
ng2012.DOC
โดย “ สิ้นศึก มุงคุณ ”
สั ปดาห์ ที่ ๑-๒
ความหมายของ
“ภาษา” และ
“ภาษาศาสตร์ ”
ทฤษฎีและแนวคิด
ของนักภาษาศาสตร์
ความรู้ เกีย่ วกับ
ภาษาศาสตร์
พัฒนาการของ
ภาษาและภาษาศาสตร์
ลักษณะและ
ความสาคัญ
ของภาษา
และภาษาศาสตร์
ความหมายของภาษา
ภาษา เป็ นคาสันสกฤต รูปบาลี คือ ภาสา รากศัพท์ เดิมคือ ภาษ
(ส.), ภาส (ป.) แปลว่ า พูด กล่ าว บอก เมือ่ เปลีย่ นรู ปเป็ นคานามมี
คาแปลตามรู ปศัพท์ ว่า “คาพูดหรือถ้ อยคา (กาชัย ทองหล่ อ
2509:1)
กล่ าวไว้ ว่า เมือ่ เราศึกษา
ภาษามนุษย์ เรากาลังก้ าวไปสู่ สิ่งทีบ่ างคนอาจจะเรียกได้ ว่า แก่ น
สารของมนุษย์ หรือสารัตถะของมนุษย์ คุณภาพทีเ่ ด่ นชัดของ
Noam Chomsky
ความหมายของภาษา
• ภาษา ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒
ความหมายของภาษา ว่ า ถ้ อยคาทีใ่ ช้ พูดหรือเขียนเพือ่ สื่ อความ
ของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เสี ยง ตัวหนังสื อ หรือกิริยาอาการทีส่ ื่ อ
ความได้ กลุ่มของชุดอักขระ สั ญนิยม และเกณฑ์ ทกี่ าหนดขึน้
เพือ่ สั่ งงานคอมพิวเตอร์
• Bloch และ Trager กล่ าวว่ า “ภาษาเป็ นระบบของสั ญลักษณ์
ทางเสี ยงทีก่ าหนดขึน้ เอง โดยอาศัยความร่ วมมือของสั งคม”
ความหมายของภาษา
• ภาษา
• Sturtevant กล่ าวว่ า “ภาษาเป็ นระบบของสั ญลักษณ์ ทางเสี ยงที่
กาหนดขึน้ มาเองโดยสมาชิกทางสั งคมให้ ความร่ วมมือและมี
ปฏิกริ ิยาร่ วมด้ วย”
• Francis กล่ าวว่ า “ภาษาเป็ นระบบที่กาหนดขึน้ มาเอง
ประกอบด้ วยเสี ยงทีเ่ ปล่ งออกมา ซึ่งกลุ่มมนุษย์ ใช้ ในการดาเนิน
ชีวติ ในสั งคม”
ความหมายของภาษาตามทัศนะ
ของนักภาษาศาสตร์
• ภาษา
• พระยาอนุมานราชธน (2510:23) กล่ าวว่ า “ภาษาตาม
ความหมายในนิรุกติศาสตร์ (Philology) ก็คอื วิธีทมี่ นุษย์ แสดง
ความในใจ เพือ่ ให้ ผ้ ูทตี่ นต้ องการให้ ร้ ู ได้ ร้ ู จะเป็ นเพราะต้ องการ
บอกความในใจทีน่ ึกไว้ หรือเพือ่ ระบายความในใจทีอ่ ดั ดั้นอยู่ให้
ปรากฏออกมาภายนอก โดยใช้ เสี ยงพูดทีม่ คี วามหมายตามทีไ่ ด้
ตกลงรับรู้ กนั ซึ่งมีผ้ ูได้ ยนิ รับรู้ และเข้ าใจ”
ภาษาศาสตร์ ( Linguistics )
มีรากศัพท์มาจากภาษาฝรัง่ เศส
Linguistigue. ซึ่งหมายถึงการศึกษาภาษา
แบบวิทยาศาสตร์ (The scientific study
of languages.)
• ภาษาศาสตร์ทวั่ ไป (General Ling.)
• ภาษาศาสตร์เชิงประวัติและเปรียบเทียบ
(Historical & Comparative Ling.)
• ภาษาศาสตร์ประย ุกต์ (Applied Ling.)
ศาสตร์ทางภาษา เป็นการศึกษาภาษาโดยใช้วิธีทางวิทยาศาสตร์ ซึ่ง
ศึกษาที่มา โครงสร้าง และการเปลี่ยนแปลงของภาษา เป็นต้น
อย่างมีระบบกับทัง้ มีการตัง้ สมมติฐาน รวมทัง้ หลักไวยากรณ์ ซึ่งมี
ส่วนประกอบสาคัญ คือ
• สรวิทยา (Phonology)
สัทศาสตร์ (Phonetics)
• สรศาสตร์ (Phonemics)
• วจีวิภาค (Morphology)
• วากยสัมพันธ์ (Syntax)
• อรรถศาสตร์ (Semantic) และ
• ระบบการเขียน (Writing System)
ความสาคัญของภาษาศาสตร์ เป็น
การศึกษาระบบของสัญลักษณ์ในเชิงคาพูด
หรือเชิงการเขียน อันเป็นแก่นสารที่มนษุ ย์
กาหนดขึ้นเอง โดยสมาชิกทางสังคมให้ความ
ร่วมมือ และเป็นการศึกษาเกี่ยวกับเครื่องมือ
ในการสื่อความหมายและอธิบายความ
รวมทัง้ เครือ่ งถ่ายทอดทางวัฒนธรรม
ระหว่างมน ุษย์ ที่มีการกาหนดกฎเกณฑ์ที่
แน่นอน
ความสาคัญของภาษา
เครื่องมือสื่ อสาร สร้ างสายใย แสดงวัฒนธรรม เป็ นศาสตร์
ติดต่ อกันได้
แสดงวัฒนธรรม
สร้ างความผูกพัน
เอกลักษณ์
ทีด่ ตี ่ อกัน
ของชนชาติ
รักษา
ระบบกฎเกณฑ์
ของภาษา
เป็ นศิลปะ
ความงดงาม
ในกระบวนการ
ใช้ ภาษา
ภาษามีโครงสร้ าง
ภาษามีลกั ษณะเป็ นสั งคม
ลักษณะทัว่ ไปของภาษา
ภาษาเป็ นสิ่ งสมมุติ
ภาษามีระบบ
ลักษณะของภาษาศาสตร์
Science
วิทยาศาสตร์
Sociology Psychology
สั งคมวิทยา
จิตวิทยา
Anthropology Mathematic
มานุษยวิทยา
คณิตศาสตร์
ภาษาศาสตร์เชิง
จิตวิทยา
ภาษาและความรูส้ กึ
ตรรกวิทยากับภาษา
การรับภาษา
ภาษาศาสตร์เชิงสังคม,
ภาวะสองภาษา, การ
วางแผนภาษา, ภาษาชน
กลุ่มน้อย, ภาษาและ
กลุ่มคน,ภาษาผสมแก้ขดั
,ภาษาผสม, ภาษากับ
สังคม
ภาษาศาสตร์เชิง
มานุษยวิทยา
ภาษาศาสตร์เชิง
คณิตศาสตร์
ภาษาศาสตร์เชิงประวัติและ
เปรียบเทียบ
การสื่อสารและ
การสื่อความ
ภาษาศาสตร์เชิงชาติพนั ธุ์
การแปลและการตีความ
ภาษาศาสตร์เชิงพรรณนา
ไวยากรณ์
วากยสัมพันธ์ วิทยาภาษาถิน่
ระบบหน่วยคา
อรรถศาสตร์
สัทศาสตร์
สรวิทยา
ศัพทวิทยา
ภาษาศาสตร์ประสาทวิทยา,
พยาธิวทิ ยาการพูด,
พฤติกรรมภาษาเบีย่ งเบน
สัญญาณศาสตร์/สัญญาณ
วิทยา
วัจนปฏิบตั ศิ าสตร์
ลิขวิทยา
การสอนและการสอบทางภาษา
ภาษาศาสตร์เชิงเปรียบต่าง
การวิเคราะห์ขอ้ ผิดพลาด
การวิเคราะห์วจั นลีลาศาสตร์
กับถ้อยคาเกีย่ วเนื่อง
ของ
นักภาษาศาส
ตร์
วาง
สมมติฐาน
ตั้งปัญหา
รวบรวม
ข้ อมูล
วิเคราะห์
ข้ อมูล
แนว
วิทยาศาสตร์
รูปแบบการศึกษาทางด้ านภาษาศาสตร์
สรุ ปผล
พัฒนาการของภาษาศาสตร์
อินเดีย
จีน,ญีป่ ุ่ น, เกาหลี
ตะวันออก
ลังกา,ไทย, เขมร, ลาว
พม่ า, มาเลเซีย, อินโด
วรรณะสู ง
พราหมณ์
๑
ปาณินิ
(Panini)
๒
อัษฏาธยายี
(Astadhayayi)
๓
สู ตร
(Sutra)
๔
สั นสกฤต
(Sanskrit)
อินเดีย (India)
ภาษา
ไวยากรณ์
สั นสกฤต
กรีก
ภาษาศาสตร์
ในอเมริกา
สมัยนิรุกติศาสตร์
Philology
โรมัน
ตะวันตก
ยุคการศึกษาภาษา
เปลีย่ นแปลง
D:\Subject\linguistics\UPenn Linguistics Undergraduate Courses.mht
ยุคกลาง
กรีก = อิเลียด (Iliad) โอดิซซี (Odyssey) เ
อริสโตเติล (Aristotle) สโตอิกส์ (Stoics) ไดโ
โรมัน= วาโร (Varo: 116-27 B.C.)
โดนาตัส (Donatus 4th) พริสเชียน (
นักทฤษฎี
ตะวันตก
คนสาคัญ
ดังเต (Dante 1265-1321)
ซองติอส
ั (Sanctius 1587)
Sir William Jones 1746-1794
Jacob L Grimm 1787-1863
Ferdinand de Saussure: 1857-1913
Leonard Bloomfield
W.D. Whitney : American
ทฤษฎีภาษาศาสตร์
ไวยากรณ์แนวเดิม (Traditional Grammar)
คริสตศตวรรษที
่ ๑๗
ใช้สอนกัน
์
ในโรงเรียนยุโรป และแพรหลายไป
่
ยังอเมริกา
พัฒนาการมาจากไวยากรณกรี
์ กและ
ละติน
เขียนไวยากรณโดยอาศั
ยแบบอยาง
่
์
ของไวยากรณละติ
น สาเหตุเพราะ
์
ป้องกันภาษาวิบต
ั จ
ิ ากชาวชนบททีย
่ าย
้
เขาสูเมืองใน คริสตศตวรรษที่ ๑๘
ทฤษฎีภาษาศาสตร์
ไวยากรณ์ โครงสร้ าง (Structural Grammar)
•การศึกษาภาษาศาสตร์ ปัจจุบันในยุคแรก คือ ยุคของ เดอ เซอซู ร์ (Ferdinand de
Saussure: 1857-1913)
•ศึกษา ๒ ลักษณะ คือ ศึกษาภาษาเฉพาะสมัย (Synchronic study) และ ศึกษาภาษา
ต่ างสมัย (Diachronic study)
•ความสั มพันธ์ ของหน่ วยต่ างๆ ๒ แบบ คือ ความสั มพันธ์ แบบหมวดหมู่
(Paradigmatic relation) หรือความสั มพันธ์ ในแนวตั้งกับความสั มพันธ์ แบบเรียบ
เรียง (Syntagmatic relation)
•ฟรีส (Charles C. Fries) วางเกณฑ์ ใหม่ ในการจาแนกคาโดยใช้ กรอบประโยค
(Sentence frame) เน้ นที่ระบบเสี ยง (Phonology) และระบบคา (Morphology)
สั มพันธ์ กบั การสร้ างประโยค (Syntax)
นักทฤษฎีภาษาศาสตร์
ช่ วงศตวรรษที่ ๑๙
อีรามัส ราสก์ (Eramus Rask, ๑๗๘๗๑๘๓๗)
นักภาษาศาสตรชาวเดมารกศึ กษาวา
่
์
์
ภาษาใดเกาแก
ที
่ ุด เป็ นการ
่
่ ส
เปรียบเทียบไวยากรณ์ เขาเชือ
่ วา่
ภาษามีไวยากรณเหมื
อนกันนั่นคือวา่
์
เป็ นภาษามีตนก
้ าเนิดเดียวกันและมี
ความสั มพันธกั
์ น ดังนั้น ถ้าภาษาใดๆ
ก็ตาม สามารถเทียบหากฎเสี ยงและ
เขียนเป็ นกฎได้ ก็ถอ
ื วาภาษานั
้นๆ
่
สั มพันธกั
เขี
่
่
้ ยนหนังสื อชือ
์ น ทานได
Investigation on the Origin of the
คาร์ล เวอร์เนอร์ (Karl Verner,
๑๘๖๔-๑๘๖๗)
นักภาษาศาสตร์ชาว เดมาร์กได้ศึกษา
ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ อธิบายลักษณะการ
เปลี่ยนแปลงเสียง(Sound Chang) ใน
ภาษาเยอรมันโบราณ
จึงตัง้ ทฤษฎีที่
สาคัญชื่อ Verner’s Law
จาคอบ
กริมม ์
(Jacob
Grimm, ๑๗๘๖-๑๘๐๒) ชาว
เยอรมันไดเขี
้ ยนหนังสื อไวยากรณ ์
เยอรมัน
ประวัตภ
ิ าษาเยอรมัน
กริมมลอว
์
์ พจนานุ กรม
ภาษาเยอรมัน เขาไดท
ั
้ าการวิจย
ภาษาทาให้มีลก
ั ษณะเป็ น
วิทยาศาสตรแบบสะสมเพิ
ม
่ พูนและมี
์
ลักษณะไมใช
่ ่ ส่วนตัว สรุปสร้าง
เป็ นทฤษฎีสากลชือ
่
“ Grimm’s
เอากุสต ์ ชไลเคอร ์ (August
Schleicher, ๑๘๒๑ - ๑๘๖๘)
ชาวเยอรมัน ไดศึ
ยง
้ กษาโดยสรางเสี
้
ภาษาโบราณของตระกูลอินโดยุโร
เปี ยน (Indo-European) ทานจึ
ง
่
เริม
่ มองเห็ นวาภาษามี
พฒ
ั นาการ
่
สามารถหากฎเกณฑ ์ เสี ยงเทียบ
ระหวางภาษาที
ม
่ ค
ี วามสั มพันธกั
่
์ นได้
แฟรดิ
์ นองด ์ เดอ โซซูร ์ (Ferdinand
De Saussure, ๑๘๕๗-๑๙๑๓)
มองภาษาในฐานะเป็ นตัววัตถุ ซึง่
นักวิทยาศาสตรต
กษาวิเคราะหได
้
์ องศึ
์ ้
เขาไดแยกภาษาออกเป็
นสามส่วน คือ
้
• ๑) La Parole ทุกคาทีพ
่ ด
ู ออกมา
เลือกคา
ออกเสี ยง สรางประโยค
้
• ๒) La Language ภาษามีกฎตาง
ๆ
่
ซึง่ ประกอบขึน
้ มา
ๆ ทางภาษา
• ๓) La Langue กฎตาง
่
ซึง่ เป็ นวิธศ
ี ึ กษาแบบวิทยาศาสตร ์
นักทฤษฎีภาษาศาสตร์
ช่ วงศตวรรษที่ ๒๐
ในศตวรรษนี้ถอ
ื ไดว
้ าเป็
่ นยุค
ทองของนักภาษาศาสตรที
์ ่
อาจแบงเป็
เดนชั
่ น
่ ดมาก
กลุมเพื
อ
่ ประโยชนในการศึ
กษา
่
์
ได้
๓
กลุม
่
กลุ่มโครงสร้ าง (Structural Grammar)
ศึกษาโดยการเริ่มเก็บข้ อมูล วิเคราะห์ ระบบเสี ยง
(Phoneme) มีหน่ วยเสี ยงย่ อย (Allophone)
อะไรบ้ าง เพือ่ หาระบบคาว่ า ประกอบดขึน้ ด้ วยหน่ วยตา
(Morpheme) อะไรบ้ าง จนสามารถรวมกันเป็ น
กลุ่มคาหรือวลี กลายเป็ นประโยค : นักภาษาศาสตร์ กลุ่มนี้
มี
• เลียวนาร์ ด บลูมฟิ ลด์ (Leonard Bloomfield)
• ชาลส์ ฮอกเก็ต (Chartes Hockett)
• เอ กลีสัน (A.Gleason)
• เคนเนธ ไปค์ (Keneth Pike) ฯลฯ
ทฤษฎีแทกมิมิค (Tagmemic Theory)
• สถาบันภาษาศาสตร์ ภาคฤดูร้อน (Summer Institute of
Linguistics) เป็ นทฤษฎีทเี่ ชื่อว่ าพฤติกรรมของมนุษย์
แสดงออกด้ วยเสี ยง การศึกษาภาษาต้ องศึกษาภาคสนามเพือ่ ให้ เห็น
พฤติกรรมด้ วย เช่ น พวกมิชชันนารี ทีอ่ อกไปเผยแผ่ คริสต์ ศาสนา
• ทฤษฎีวเิ คราะห์ ภาษาคล้ายทฤษฎีโครงสร้ าง คือ วิเคราะห์ เสี ยง คาและ
ไวยากรณ์ การวิเคราะห์ ประโยคแตกต่ างกับการวิเคราะห์ ส่วนประชิด
ของทฤษฎีโครงสร้ างไวยากรณ์ แทกมิมิคแบ่ งเป็ น ๕ ระดับ คือ ระดับอเน
กัตถประโยค ระดับประโยค ระดับวลี ระดับคา และระดับรากคา
กลุมนั
่ กไวยากรณปริ
์ วรรต
(Transformational Grammar)
เกิดขึน
้ โดย นอม ซอมสกี (Noam
Chomsky) ทีไ่ ดเสนองานชื
อ
่
้
Syntactic Structure & Aspect of
Theory of Syntax ; ๑๙๕๗) ทาน
่
ตองการที
จ
่ ะวิเคราะหและแยกแยะภาษา
้
์
เพือ
่ อธิบายกฎเกณฑต
และเห็ น
่
์ างๆ
วา่ “ไวยากรณ”์ คือ กฎหรือทฤษฎีท ี่
มนุ ษยตั
้ จึงมองภาษามนุ ษยว์ ามี
่ สอง
์ ง้ ขึน
ระดับ คือระดับโครงสรางลึ
ก (Deep
้
Structure) คืออยูในความคิ
ด กาลัง
่
ทฤษฎีภาษาศาสตร์
ยุคไวยากรณ์ ปริวรรต (Transformation Grammar)
•ชอมสกี (A. Noam Chomsky: Massachusetts
Institute of Technology)
Syntactic Structure ๓ ระดับ
•ระดับที่ ๑ กฎโครงสร้ างวลี (Phrase
Structure Rules)
•ระดับที่ ๒ กฎโครงสร้ างคา
(Morphophonemic Rules)
•ระดับที่ ๓ กฎปริวรรต (กฎการแปรรู ป)
Transformational Rules
•กฎปริวรรต มี ๒ ระดับ คือ
ทฤษฎีภาษาศาสตร์
ยุคไวยากรณ์ การก (Case Grammar)
• ชาร์ ลส์ เจ ฟิ ลมอร์ (Charles J. Fillmore.
1966-1968)
เน้ น องค์ ประกอบทางความหมาย (Semantic
Component)
การกสั มพันธ์ (Case relationships)
ความสั มพันธ์ ทางอรรถ-วากยสั มพันธ์
(Semantic-syntactic relation)
ทฤษฎีภาษาศาสตร์
ยุคไวยากรณ์ การก (Case Grammar) ของ ชาร์ ลส์ เจ ฟิ ลมอร
ชุ ดการก ๑๐ การก
Agentive (ผู้กระทา) - แดงเปิ ด Goal (จุดหมาย)-เขาไป
โรงเรียนLocative
ประตู
Experience (ผู้ประสบ)-แดง (สถานที)่ -เขาอยู่บ้าน
Time (เวลา)-เขาอยู่บ้าน
เสี ยใจ
Instrumental (เครื่องมือ)-นา้ ตอนเช้ า
Comitative (ผู้มีส่วน
เซาะตลิง่
Objective (ผู้ทรง-ผู้รับ)-ประตู ร่ วม)-เขาเล่ นกับน้ อง
Benefactive (ผู้ได้ รับ
เปิ ด
เราตอบคาถามเหล่ านีไ้ ด้ หรือไม่ ?
1.อะไรคือความแตกตางของ
คาวา่
่
‘go’ และ ‘do’?
2.คาวา่ “นอนกอดอก” มีทง้ั หมดกีค
่ า?
3.ประโยคมีความเชือ
่ มของโครงสราง
้
หรือไม่ อยางไร?
่
Linguistics can help us to find the
Syntax
Sentences also grow on trees like this…
S
NP
N
VP
V
PP
P
NP
N
Sentences
grow
on
trees
Syntax
Key
S
Sentence
N
Noun
NP Noun Phrase
V
Verb
VP Verb Phrase
P
Preposition
PP Preposition Phrase
The relations of words in sentences is from a
branch of Linguistics called ‘Syntax’
คาถาม
• ถ้ าเราไปสหรัฐอเมริกา แต่ เครื่องบินตกลงกลางหมู่บ้านคนป่ าใน
ลุ่มนา้ อะเมซอล (ยังไม่ ตาย) หิวมาก ท่ านจะทาอย่ างไร
– ให้ มีชีวติ รอด
– ให้ ได้ กนิ ข้ าว
– ให้ ได้ กลับประเทศไทยหรือสหรัฐอเมริกา
คาถามทายชั
ว
่ โมง
้
• “ภาษาศาสตร์ ” ตามทัศนะของท่ านมีความหมายว่ า
อย่ างไรบ้ าง
• ภาษาศาสตร์ มีลกั ษณะอย่ างไรเกีย่ วข้ องกับศาสตร์
ต่ างๆ อย่ างไรอธิบายพอสั งเขป
• นักทฤษฎีภาษาศาสตร์ ที่สาคัญมีใครบ้ าง ยกตัวอย่ าง
พร้ อมแนวคิด
จบการนาเสนอแล้ ว
คำ