บทที่ 4 ทฤษฎีการเมืองตะวันออกที่ส าคัญ 4.1 อรรถศาสตร์ของจาณักยะ 1

Download Report

Transcript บทที่ 4 ทฤษฎีการเมืองตะวันออกที่ส าคัญ 4.1 อรรถศาสตร์ของจาณักยะ 1

บทที่ 4
ทฤษฎีการเมืองตะวันออกที่สาคัญ
4.1 อรรถศาสตร์ ของจาณักยะ
1
คาถามทีท่ ้ าทายให้ คุณตอบ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
อรรถศาสตร์ คืออะไร เป็ นผลงานของใคร และเกิดขึน้ ในยุคใด ?
จากคากล่าวที่ว่า “อรรถศาสตร์ เป็ นงานที่ควรศึกษามากทีส่ ุ ด” สั งเกตได้ จากด้ าน
ใดบ้ าง ?
ศาสตร์ ทสี่ าคัญในคัมภีร์เล่มนีม้ ีกศี่ าสตร์ อะไรบ้ าง ?
รัฐและองค์ ประกอบของรัฐมีอะไรบ้ าง ในองค์ ประกอบทั้งหมดเหล่านั้นอะไรสาคัญ
ทีส่ ุ ด ?
นโยบายต่ างประเทศในอรรถศาสตร์ มีท้ังหมดกีแ่ บบ และคากล่าวทีว่ ่ า “ศีลธรรม
ไม่ ใช่ สิ่งที่ต้องคานึงถึงในทางการเมือง” หมายถึงอะไร ?
ทาไมกษัตริย์จึงสาคัญทีส่ ุ ดในงานนิพนธ์ นี้ ?
งานเขียนเล่มนีม้ ีข้อเหมือนอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกับ เดอะ พริ้นซ์ ในการวิเคราะห์
ธรรมชาติของมนุษย์ ?
2
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ นิสิต
1. ได้ เรียนรู้ แนวคิดทางการเมืองทางตะวันออก
2. ได้ เรียนรู้ คมั ภีร์ปกครองการเมืองทางตะวันออก
3. ได้ เข้ าใจจุดประสงค์ ของการงานเขียนเรื่ องอรรถศาสตร์
3
จาณักยะ
ชื่ อพราหมณ์ ผู้เป็ นที่
ปรึกษาในการสถาปนา
ราชวงศ์ เมารยะ
เกาฏิลยะ
วิษณุคุปต์
ปาณกพราหมณ์
4
สั งเกตได้ จาก 2 ด้ านคือ
1. ด้ านวิธีการเขียน
2. ด้ านเนื้อหา
5
ด้ านเนื้อหา มีท้งั หมด 15 เล่ ม แบ่ งเป็ น 180 ตอน และ 150 บท
มีเค้ าโครงย่ อ ดังต่ อไปนี้
เล่ มที่ 1
ว่ าด้ วยแง่ มุมและปัญหาต่ าง ๆเกีย่ วกับกษัตริย์
เล่ มที่ 2
ว่ าด้ วยการบริหารบ้ านเมือง
เล่ มที่ 3 - 4 ว่ าด้ วยกฎหมายต่ าง ๆ
เล่ มที่ 5
ว่ าด้ วยหน้ าที่และความรับผิดชอบของข้ าราช
สานักและข้ าราชบริพารของกษัตริย์
เล่ มที่ 6
ว่ าด้ วยธรรมชาติและภารกิจขององค์ ประกอบ
7 ประการของรัฐ
เล่ มที่ 7 - 14 ว่ าด้ วยปัญหาเรื่ องนโยบายต่ างประเทศ
เล่ มที่ 15
ว่ าด้ วยเค้ าโครงของหนังสื อทั้งหมดและบทสรุ ป
6
เนื้อหาส่ วนใหญ่ ในอรรถศาสตร์ จะเกีย่ วข้ องกับปัญหาใน
การปกครอง โดยจาณักยะได้ กล่ าวไว้ ว่าในอรรถศาสตร์ มีศาสตร์
ทีส่ าคัญอยู่ท้งั หมด 4 ประการได้ แก่
1. ปรัชญา (Anvikshaki) หรื อตรรกวิทยา
2. พระเวท (Vedas)
3. เศรษฐศาสตร์ (Varta)
4. ศาสตร์ แห่ งการปกครอง(Dandaniti)
7
องค์ ประกอบของรัฐ เรียงตามลาดับความสาคัญดังต่ อไปนี้
1. กษัตริย์ (Swami)
2. มุขมนตรี (Amatya)
3. ประชาชนหรื อประเทศ (Janapada)
4. ป้ อมปราการ (Durga)
5. พระคลัง (Kosa)
6. กองทัพ (Danda)
7. พันธมิตรหรื อศัตรู (Satru)
8
9
นโยบายต่ างประเทศทั้ง 6 ในอรรถศาสตร์
1.
2.
3.
4.
5.
การตกลงตามข้ อสั ญญา คือ สั นติภาพ
ปฏิบัตกิ ารรุกราน คือ สงคราม
การวางเฉย คือ การเป็ นกลาง
การเตรียมการ คือ พร้ อมรุก
การแสวงหาความพิทกั ษ์ จากผู้อื่น คือ
การผูกพันธมิตร
6. การทาสั นติภาพกับข้ างหนึ่งและทา
สงครามกับอีกข้ างหนึ่ง คือ นโยบายซ้ อน
10
การศึกษาของกษัตริย์
“อวิชชาและการไร้ วนิ ัย
คือสาเหตุของความยุ่งยากของมนุษย์ ”
11
ต้ องขจัดศัตรู ท้งั 6 ประการดังต่ อไปนี้
1. ตัณหา
2. ความโกรธ
3. ความโลภ
4. ความถือดี
ความโกรธ
5. ความจองหอง
6. ความปี ติจนลืมตน
ความอยาก
12
13
สรุป
จาณักยะได้ ให้ ความสาคัญแก่ กษัตริ ย์ในฐานะเป็ นต้ น ตอแห่ ง
ความยุตธิ รรม
อวิชชาและการไร้ ระเบียบวินัยคื อสาเหตุในความยุ่งยากของ
มนุษย์ ผู้ที่ไม่ ได้ รับการฝึ กฝนจะไม่ สามารถมองเห็นภัยอันตรายที่มา
จากความชั่วช้ าได้
เขามีความเห็ นเหมื อนมาเคียเว็ลลีในการวิเคราะห์ ธรรมชาติ
มนุษย์ ว่า ธรรมชาติของมนุษย์ น้ันเลว
14
15