Click - สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
Download
Report
Transcript Click - สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
ึ ษาวิเคราะห์แนวทางการพ ัฒนา
โครงการศก
ผลิตภ ัณฑ์สมุนไพร
เพือ
่ สุขภาพและเศรษฐกิจของคนไทย
ภญ.ดร.สุภาภรณ์
ภญ.ดร.ฉลอง
ภญ.นุชน้ อย
นายวิฑรู ย์
น.ส.สุภาภรณ์
ภญ.โสภิต
ภญ.สุธีวรรณ
ภญ.วัจนา
ปิ ติพร
เลาจริยกุล
ประภาโส
ปั ญญากุล
อัษฎมงคล
บุษยะจารุ
โหตกษาปน์กลุ
ตังความเพี
้
ยร
หัวหน้ าโครงการ
ผู้ร่วมวิจยั
ผู้ร่วมวิจยั
ผู้ร่วมวิจยั
ผู้ร่วมวิจยั
ผู้ร่วมวิจยั
ผู้ร่วมวิจยั
ผู้ร่วมวิจยั
ึ ษา
วัตถุประสงค์การศก
เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบำยในกำรพัฒนำ
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุ ขภำพและเศรษฐกิจของคนไทย
ขอบเขตการศึกษา
1. ศึกษาและวิเคราะห์ สถานการณ์ ด้านการตลาดผลิตภัณฑ์ สมุนไพรเพือ่
สุ ขภาพ
2. ศึกษาปัจจัยด้ านกฎหมาย กฎระเบียบ การจัดองค์ แหล่งทุนและ
นโยบายในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ สมุนไพร
3. สั งเคราะห์ ข้อเสนอแนะเชิงนโบายในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ สมุนไพร
เพือ่ สุ ขภาพและเศรษฐกิจของคนไทย
ึ ษา
วิธก
ี ารศก
ศึกษาจากเอกสาร งานวิจยั ที่เกีย่ วข้ องด้ านกฎหมาย สถิตขิ ้ อมูลที่
เปิ ดเผย แผนพัฒนา นโยบาย พรบ. กฎกระทรวง กฎระเบียบ
สั มภาษณ์ เจาะลึกผู้ทเี่ กีย
่ วข้ อง
การสนทนากลุ่ม
ั ภาษณ์ : Key Informances
การสม
นพ.สุ วทิ ย์ วิบูลย์ ผลประเสริฐ
นพ.วิชัย โชควิวฒ
ั น (ประธานกรรมการองค์ การเภสั ชกรรม)
คุณกรรณิการ์ จรั สอุไรสิ น (บ. P&G)
คุณสุ นิชา พิทักษ์ กต
ิ ตินันท์ (บริษัท เมกาวีแคร์ จา กัด)
ภก.วินิต อัศวกิจวิรี (ผู้อานวยการกองควบคุมยา)
ผู้อานวยการกองอาหาร
ผู้อานวยการกองเครื่ องสาอาง
คุณชวน ธรรมสุ ริยะ (ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมสมุนไพร)
คุณไพศาล เวชพงศา (นายกสมาคมผู้ผลิตสมุนไพรไทย)
ผู้อานวยการสานักเศรษฐกิจจากฐานชี วภาพ
ฯลฯ
กรอบแนวคิด
กรอบแนวคิดที่ 1
แนวคิดบริโภคนิยม: มิได้หมายถึงลัทธิการคลังไคล้
่ การบริโภค
แต่แนวคิดนี้ เป็ นแนวคิดหลังทันสมัย (Postmodernism)
ซึ่งมองว่าผลพวงของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศที่
เชื่อมโลกให้เป็ นหนึ่ งเดียว (Globalization) ทาให้เกิดการล่มสลาย
ของความคิด ความเชื่อเดิมๆ เกิดการเปลี่ยนแปลงของจิตสานึ ก
ในด้านการเกิดความคิด ความเชื่อแตกแยกย่อยมากมาย เกิดการ
แสวงหาความเป็ นตัวตนและมีคาอธิบายใหม่ๆ ที่เกิดดับอยู่ทกุ ขณะ
เกิดตลาดเฉพาะ (Niche market) ขึน้ มากมาย รวมทัง้ เกิดกระแสความนิยม
การแพทย์ทางเลือกขึน้ ในประเทศที่เจริญแล้ว
5
10 global consumer mega-trend
• Age Complexity ซึ่งจะพบความซับซ้อนของวัยกับพฤติกรรมที่หลากหลาย
อาทิ fear of agingActing younger Acting older
• Gender complexity
• Life-stage complexity แต่งงานช้าหรื อการหย่าร้าง
• Income complexity ซึ่งจะพบความซับซ้อนของพฤติกรรมผูบ้ ริ โภคกับ
รายได้ คนที่มีรายได้สูงมีพฤติกรรมต่อต้านสิ นค้าฟุ่ มเฟื อย คนรายได้นอ้ ยเสี ย
เงินซื้อสิ นค้าฟุ่ มเฟื อยมากขึ้น สิ นค้าที่ใช้คุณค่าหรื อแบรนด์ยงั คงดารงอยู่
เท่าๆ กับผูบ้ ริ โภคอีกกลุ่มหนึ่งหนีไปจากสิ นค้าประเภทนี้ ผูบ้ ริ โภคยังมี
พฤติกรรมล่ารางวัลหรื อของแถมเพิ่มขึ้น การบริ โภคความแตกต่างระหว่าง
สิ นค้า Hi-lo จะปรากฏชัดยิง่ ขึ้น เป็ นต้น
6
10 global consumer mega-trend
Convenience เวลำเป็ นสิ่ งมีค่ำที่หำยำก สินค้ าต้ องง่ำย สะดวกสบำย รวดเร็ ว
Health พฤติกรรมกำรห่วงใยด้ำนสุ ขภำพ เกิดควำมตระหนักกำรบริ โภคอำหำร
โดยแสวงหำอำหำรสุ ขภำพ เครื่ องสำอำงสมุนไพร ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรี ย ์ และกำร
พึ่งตนเองด้ำนสุ ขภำพโดยเกิดกำรแสวงหำข้อมูลเพื่อกำรดูแลและรักษำตนเอง ให้
ควำมสำคัญกับกำรคลำยเครี ยด ให้ควำมสำคัญกับสุ ขภำพองค์รวม เป็ นต้น
Sensory เป็ นพฤติกรรมที่ให้ควำมสำคัญกับควำมรู ้สึกมำกกว่ำวัตถุ
Individualism เป็ นพฤติกรรมที่ตอ้ งกำรควำมอิสระ ต้องกำรควำมเฉพำะตัว
เป็ นต้น
Comfort เป็ นค่ำนิยมที่ชอบควำมเรี ยบง่ำยไม่ซบั ซ้อน ให้คุณค่ำกับครอบครัว บ้ำน
ให้คุณค่ำตำนำนเรื่ องรำว วัฒนธรรมพื้นบ้ำน
Connectivity เป็ นพฤติกรรมที่ชอบสังคม ชอบสมำคม ชอบอยูก่ บั เพื่อนมำกกว่ำ
ครอบครัว กลัวที่จะอยูค่ นเดียวตอนแก่
7
กรอบแนวคิดที่ 2
Diamond Model
บทบาทภาครัฐ
นโยบาย
กฏหมาย
กฏระเบียบ
Source: Michael Porter, Institute for Strategy
and Competitiveness, Harvard Business School.
8
See Porter (1998).
สถานการณ์ ตลาดผลิตภัณฑ์ สมุนไพรเพือ่ สุ ขภาพทัว่ โลก
(หน่ วย: พันล้ านดอลลาร์ สหรัฐ)
ปี 2007
ปี 2006
สหรัฐอเมริกา
กลุ่มประเทศ EU 7.4
4.6
ฝรังเศส
่
1.73
อิ ตาลี
0.89
สหราชอาณาจักร
0.7
ปี 2006
เอเชีย (ไม่รวมญี่ปน)
ุ่ 6.4
ปี 2006
ละตินอเมริกา
ปี 2006
0.9
ออสเตรเลีย 0.45
ญี่ปนุ่
2.6
อินเดีย
7.3
จีน (ปี 2007)
8
ผลการศึกษา ด้ านการตลาด
• ตลำดในต่ำงประเทศมีมูลค่ำสูงแต่ประเทศไทยมีส่วนแบ่งในตลำดโลก
น้อย ส่ วนตลำดภำยในประเทศไม่เติบโตเท่ำที่ควร
• ตลำดเฉพำะ Niche market มีกำรแตกแยกย่อยมำกขึ้น
• ตลำดผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรี ยท์ ี่ได้รับกำรรับรองมีแนวโน้มจะเติบโต
• ตลำดเครื่ องดื่มและตลำดเครื่ องสำอำงผสมสมุนไพรมีโอกำสทำง
กำรตลำดสูงเนื่องจำกกฎหมำยควบคุมในประเทศต่ำงๆ ไม่เข้มงวด
เท่ำกับผลิตภัณฑ์สมุนไพรประเภทยำ แต่ควรมีกำรพัฒนำกฎหมำย
ภำยในให้มีกำรส่ งเสริ มให้มำกขึ้น
10
ผลการศึกษา ด้ านการตลาด
• ขำดกำรจัดกำรระบบข้อมูลที่ดี
• ขำดยุทธศำสตร์และกลไกสนับสนุนให้นโยบายเป็ นจริ ง
• ขาดกำรพัฒนำในด้ำนทรัพยำกรมนุษย์ ทั้งผูป้ ระกอบกำร ผูเ้ ชี่ยวชำญที่
เกี่ยวข้อง บุคลำกรที่ปฏิบตั ิงำนในภำครัฐ กำรพัฒนำเทคโนโลยีที่
เหมำะสม
• ขำดกำรยุทธศำสตร์ในกำรพัฒนำกระบวนกำรผลิตในแต่ละกลุ่มผูผ้ ลิต
• ขาดกำรพัฒนำกลไกและประเด็นขับเคลื่อนในเวทีระหว่ำงประเทศ ซึ่ง
จะส่ งผลกระทบอย่ำงกว้ำงขวำงต่อทุกภำคส่ วนที่เกี่ยวข้อง
11
ผลการศึกษา ด้ านกฏหมาย
• นโยบำยรัฐ ขำดควำมชัดเจน ขำดควำมต่อเนื่อง ขำดยุทธศำสตร์และกลไกที่
จะทำให้นโยบำยเป็ นจริ ง
• กฎหมำย กฏระเบียบที่เกี่ยวข้องยังไม่เอื้อต่อกำรพัฒนำผลิตภัณฑ์สมุนไพร
และไม่ทนั ต่อกำรเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก
• รู ปแบบและวิธีทำงำนของหน่วยงำนรำชกำรต่ำงๆ ต้องมีกำรพัฒนำอีกมำกทั้ง
ระบบที่ตอ้ งมีควำมโปร่ งใส ชัดเจน มีเกณฑ์ในกำรชี้วดั ควำมสัมฤทธิ์ผลที่ทุก
ภำคส่ วนต้องร่ วมกันกำหนด และมีกำรทำงำนในเชิงรุ กและเอื้อต่อภำคเอกชน
มำกกว่ำเดิม
• มีกำรจัดองค์กรภำครัฐในแนวดิ่งมำกมำยถึง แต่ขำดองค์กรประสำน ทำให้
ทำงำนทับซ้อนกัน และไม่ไปในทิศทำงเดียวกัน
12
มีน้อย ไม่สามารถด้างอิ งได้ ขึ้นกับ
ดุลพิ นิจ
การปลูกสมุนไพร
วิจยั รวบรวมองค์ความรูเ้ ดิม
มีมากแต่กระจะกระจาย ไม่ตตรงกับที่
ต้องการ
วิจยั ตัวยาสมุนไพร
ยาแผนโบราณ ยาจากสมุนไพร
มีงานวิ จยั ทางคลิ นิกน้ อย ไม่
สามารถนามา back up ผลิ ตภัณฑ์
ได้ ส่วนใหญ่ใช้ตามความรู้เดิ ม
-โรงงานที่ได้ GMP มีน้อย
-วัตถุดิบไม่มีมาตรฐาน
-ขึ้นทะเบียนล่าช้า
-ความไม่ทนั สมัยของกฏหมาย
การทดสอบทางคลินิก
การผลิตยาสมุนไพร
การตลาด
มีทรัพยากรและบุคลากร
แต่มีปัญหาคือการจัดการ
การตลาดและมาตรฐาน
GAP
ไม่เติ บโตเท่าที่ควร บริ โภคตาม
กระแส การขายตรง นโยบายการ
ใช้ในดรงพยาบาลยังไม่มี
มาตรการแน่ นอน
-ขาดเทคโนโลยีการดูแลหลัง
เก็บเกี่ยว การสกัด
-กฏหมายยังไม่ยอมรับ
-กากของเสีย
การเก็บรักษาและสกัด
วัตถุดิบ
มีสถาบันวิ จยั ภาครัฐเช่น
มหาวิ ทยาลัย วว.
แต่ขาดระบบการตลาด
วิ จยั สารสกัดจากพืช งานวิ จยั ยังอยู่ในหิ้ ง
-หน่ วยงานรัฐมีศกั ยภาพระดับหนึ่ งที่
สามารถพัฒนาต่ อยอดได้ ขาด
กาลังคน
การทดสอบทางคลินิก
•มีแหล่งเพาะปลูกจานวนมาก
•ส่วนใหญ่ยงั ไม่มG
ี AP
•ขาดมาตรฐานการปลูกและดูแลหลังเก็บ
เกี่ยว
•ขาดข้อมูลการตลาด
ผลิ ตภัณฑ์จากต่างประเทศยัง
ครองตลาดในประเทศ
ช่องทางในการจาหน่ ายมีน้อย
โดยมากเป็ นขายตรง
มีข้อจากัดเรื่องกฏหมาย
การผลิต
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ห้องปฏิ บตั ิ การในการทดสอบ
สารสาคัญยังไม่มีการให้บริ การ
หรือมีน้อย
มีศกั ยภาพสูง
ขึ้นทะเบียนยังมีขนั ้ ตอนที่ย่งุ ยาก และ
ใช้เวลานาน
การตลาด
เครื่องสาอาง
โรงงานขนาดใหญ่
ป็ นฐานการผลิ ตขัน้ OEM
มีศกั ยภาพสูง
มีการส่งออกสูงมาก
มีการ R&D เอง
วัตถุดิบ 90% ต้องนาเข้าโดยเฉพาะ
สารสาคัญและวิ ตามิ น
วัตถุดิบธรรมชาติ มีปัญหามาตรฐาน GAP
และ GMP
การทาวิจยั และพัฒนา
การผลิตวัตถุดิบ
การจัดหาวัตถุดิบ
ไม่สามารถวิ จยั สารใหม่ เชิ งอุตสาหกรรม
มีการวิ จยั ต่อยอดในการพัฒนารูปแบบ
ขาดผูเ้ ชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ และการ
จัดการองค์ความรู้ (ความรู้กระจัดกระจาย)
แบรนด์ในประเทศยังไม่เป็ นที่นิยม
และแบรนด์ของไทยยังไม่เป็ นที่ร้จู ดั
ในต่างประเทศ
การทดสอบผลิตภัณฑ์
การผลิตสินค้า
มีโรงงานน้ อย มีปัญหาเรื่อง
มาตรฐาน
การตลาด
(ในประเทศ/ต่างประเทศ)
ห้องปฏิ บตั ิ การในการทดสอบ
สารสาคัญยังไม่มีการให้บริ การ
หรือมีน้อย
มหาวิ ทยาลัยเริ่ มมีบทบาทมาก
ขึ้น
สรุปการประเมินขีดความสามารถในการแข่งขันอุตสาหกรรมสมุนไพรตามกรอบแนวคิด
Diamond Model
ปัจจัยที่ส่งผลต่ อความสามารถในการแข่ งขัน
ยาแผน
โบราณ
ผลิตภัณฑ์ เครื่องสาอา
เสริมอาหาร
ง
และเครื่องดืม่
หมายเหตุ
1.เงือ่ นไขปัจจัยการผลิต
1.1 ทรัพยากรมนุษย์
๏ศักยภาพผู้ประกอบการ
๏บุคลากรที่ปฏิบัตงิ านในภาครัฐ
๏ศักยภาพผู้เชี่ยวชาญหรือวิชาชีพที่เกีย่ วข้ อง
1.2 ทรัพยากรธรรมชาติ
++
++
+
+++
+++
++
++++
+++
+++
++++
++++
+++
1.3 ทรัพยากรด้ านความรู้ เช่ น งานวิจยั ระบบ
+
+
+++
1.4 เทคโนโลยีทางการผลิต
++
+++
++++
1.5 ทรัพยากรทุน
++
++++
++++
ข้ อมูล
มีความจาเป็ นต้ อง
จัดตั้งศูนย์ ผลิตและ
พัฒนาผลิตภัณฑ์
สมุนไพร
ปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อความสามารถในการแข่ งขัน
1.6 โครงสร้ างพืน้ ฐานทางกายภาพ
1.7 วัฒนธรรม
1.8 ความหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญา
ท้ องถิ่น
ยาแผน
โบราณ
ผลิตภัณฑ์ เครื่องสาอาง
เสริมอาหาร
และเครื่องดื่ม
++
++
+++
++++
++++
+++
++++
++++
+++
หมายเหตุ
ห้ องปฏิบัติการเพือ่
ทดสอบด้ าน
คุณภาพและ
ประสิ ทธิภาพที่ได้
มาตรฐาน
ยาแผน
โบราณ
ผลิตภัณฑ์
เสริมอาหาร
และ
เครื่องดืม่
สาอาง
+
NA
++
+/-
++++
++++
NA
++++
+++
+
+++
++++
4.1 ความเชื่อมโยงของกิจกรรม
+
++
+++
4.2 ความเชื่อมโยงความร่ วมมือ
++
+++
++++
4.3 อุตสาหกรรมที่เกีย่ วข้ อง
+
+++
+++
ปัจจัยที่ส่งผลต่ อความสามารถในการแข่ งขัน
2. เงือ่ นไขปัจจัยด้ านอุปสงค์
2.1 ตลาดผลิตภัณฑ์ สมุนไพร
๏ ตลาดภายในประเทศ
๏ ตลาดต่ างประเทศ
2.2 กระแสนิยมในการท่ องเที่ยวเชิงสุ ขภาพ
และพานักระยะยาวของผู้เกษียณอายุ
3. บทบาทการแข่ งขันและกลยุทธ์ ทางธุรกิจ
เครื่อง
หมายเหตุ
4. ปัจจัยที่เกีย่ วข้ องและสนับสนุน
อุตสาหกรรมทัวร์
สุ ขภาพ
Medical Hub
ปัจจัยที่ส่งผลต่ อความสามารถในการแข่ งขัน
ยาแผน
โบราณ
ผลิตภัณฑ์ เครื่องสาอาง
เสริมอาหาร
และเครื่องดื่ม
หมายเหตุ
5. บทบาทของภาครัฐ
5.1 นโยบาย
++
+
++
5.2 กฎหมาย
+
+/-
+++
5.3 การจัดองค์ กร
+
+/-
++
5.4 กลไกสนับสนุนและขับเคลือ่ นนโยบาย
+/-
+/-
+
ต้ องมีการพัฒนา
อย่ างเร่ งด่ วน
โดยเฉพาะการ
จัดทาพรบ.เฉพาะ
ส่ วนผลิตภัณฑ์
สมุนไพร
ต้ องพัฒนากลไก
การขับเคลือ่ น
นโยบาย
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบำย
•องค์กรประสานหรื อองค์กรเจ้ าภาพ
•พัฒนา cluster ระหว่างองค์กรทางวิชาการและผู้ประกอบการ
•พัฒนาการตลาด
•พัฒนาระบบข้ อมูลพัฒนากฏหมาย
•พัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้ อง
20
องค์ กรประสานหรือองค์ กรเจ้ าภาพ
องค์ ประกอบที่มีส่วนร่ วมคือ
ต้องมีเจ้ำหน้ำที่จำกผูป้ ระกอบกำรตัวแทนผูผ้ ลิต/จำหน่ำยผลิตภัณฑ์ ตัวแทนภำครัฐ
นักวิชำกำร ผูท้ ี่ตอ้ งทำหน้ำที่กำรคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค และภำคส่ วนที่เกี่ยวข้องอื่น เช่น กลุ่ม
ผูป้ ลูกสมุนไพร นักวิทยำศำสตร์ ตัวแทนผูบ้ ริ โภค องค์กรเอกชน ตัวแทนผูท้ ี่อุทิศตัวใน
กำรพัฒนำภูมิปัญญำไทยเหล่ำนี้
รู ปแบบ
คณะกรรมการระดับชาติหรื อสภา มีกฏหมายรองรับ มีสานักงาน มีฐานะทางสังคม
บทบาท
โดยองค์กรนี้จะมีบทบำทหน้ำที่ในกำรกลัน่ กรองงบประมาณ พัฒนำนโยบำย กำหนดทิศ
ทำงกำรวิจยั และพัฒนำ ติดตำมกำรแก้ไขอุปสรรคในด้ำนต่ำงๆ ที่เป็ นปั ญหำ พร้อมทั้งมี
บทบำทในกำรประสำนงำนกับภำคส่ วนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้อง
21
พัฒนา cluster ระหว่ างองค์ กรทางวิชาการและ
ผู้ประกอบการ
• กำรสร้ำงเครื อข่ำยระหว่ำงภำควิชำกำร ภำคกำรผลิตและภำคธุรกิจ ใน
ลักษณะของ Cluster กล่ำวคือใช้สถำบันกำรศึกษำเข้ำดูแลผูป้ ระกอบกำร
เป็ นกลุ่ม ในระดับต่ำงๆ สนับสนุนกำรสร้ำงควำมรู ้เพื่อนำมำพัฒนำ
ผลิตภัณฑ์ ทังด้
้ านนวตกรรม การตลาด การพัฒนาคน การผลิต
• ใช้ระบบสนับสนุนงบประมำณ ความก้ าวหน้ าทางวิชาการหรื อระบบกำร
แข่งขันเข้ำไปกระตุน้ กำรดำเนินงำน
เพือ่ นาพลังของความรู้ งานวิจัย ความสามารถของทุกภาคส่ วนมาสนับสนุน
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สมุนไพร
22
พัฒนาการตลาด
1.
สร้ำงกำรบริ โภคภำยในที่เข้มแข็งโดยโดย
เริ่ มจำกกำรส่ งเสริ มกำรใช้สมุนไพรในงำนสำธำรณสุ ขมูลฐำน ในหมอยำพื้นบ้ำน
กำรส่ งเสริ มกำรผลิตในระดับ OTOP วิสำหกิจชุมชน
กำรใช้ยำจำกสมุนไพรในโรงพยำบำลของรัฐ การจัดตังโรงพยาบาลแพทย์
้
แผนไทย
สร้ำงค่ำนิยมกำรใช้สมุนไพร ผ่าน mass media
การจัด herb exibition ในทุกระดับ
ถ้ าการบริโภคภายในประเทศเข้ มแข็งจะกระตุ้นให้ ผ้ ผู ลิตมีการพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ เพือ่
ตอบสนองต่ อความต้ องการของผู้บริโภค
25
พัฒนาการตลาด(ต่ อ)
2. ส่งเสริมการทาตลาด niche market
3. ส่งเสริมการส่งออก เน้ นเครื่ องสาอางผสมสมุนไพร ผลิตภัณฑ์เสริม
อาหารในตลาดโลก ส่วนยาจากสมุนไพรเน้ นนตลาดเอซีย
26
พัฒนาระบบข้ อมูล
ระบบข้ อมูลทีด่ คี รอบคลุม
• ข้อมูลควำมรู ้เกี่ยวกับตัวสมุนไพรที่มีศกั ยภำพ
• ข้อมูลกำรเพำะปลูกกำรเก็บเกี่ยว
• ข้อมูลด้ำนกฏระเบียบ มำตรฐำนที่เกี่ยวข้อง
• ข้อมูลของทั้งด้ำนเครื อข่ำย Supply chain
• ข้อมูลของผูป้ ระกอบกำรที่เกี่ยวข้อง เป็ นต้น
ข้ อมูลทีไ่ ด้ ต้องมีความถูกต้ อง เชื่อถือได้ และทันต่ อเหตุการณ์ เข้ าถึงได้ ง่าย
มีการนาเสนอทีง่ ่ ายต่ อการเข้ าใจและนามาใช้
27
พัฒนากฏหมาย
โดย
1) อยูบ่ นพื้นฐำนของควำมรู ้ ทันกับเทคโนโลยีใหม่ ใช้งำนวิจยั และปัญญำ
2) มีประสิ ทธิภำพคือแก้ปัญหำได้ ในเวลำที่เหมำะสมทันกับสถำนกำรณ์
3) มีควำมสมดุลทั้งในมิติของกำรคุม้ ครองผูบ้ ริ โภคและส่ งเสริ มกำรพัฒนำ
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อให้เป็ นประโยชน์ต่อสุ ขภำพและเศรษฐกิจของคนไทย
4) คุม้ ครองพิทกั ษ์ผลประโยชน์ของคนไทยในเวทีโลก โดยกำรมีส่วนร่ วมของ
ทุกภำคส่ วน
28
อุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง
ศูนย์ดแู ลความงาม
ศูนย์ฟื้นฟูสขุ ภาพ ที่พานักระยะยาว สปา
ดูแลผูส้ งู อายุ ทัวร์สขุ ภาพ
การนวดไทย
อุตสาหกรรมอาหาร
อุตสาหกรรมแฟชัน่
โรงพยาบาลแพทย์แผนไทย
โครงสร้างพื้นฐาน
อุตสาหกรรมสนับสนุน
ยาแผนโบราณ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เครื่องสาอาง
หน่ วยงาน
รองรับ/สนับสนุน
ข้ อเสนอแนะเชิงนโยบาย
ภาวะอุตสาหกรรม
- โลก
- ภูมภ
ิ าค
- ไทย
ปัจจ ัยทีม
่ ผ
ี ล
่ เสริม
ต่อการสง
การลงทุน
และพ ัฒนา
ภูมป
ิ ญ
ั ญา
องค์กรประสานหรือ
องค์กรเจ้าภาพในการพัฒนาและขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์หรือนโยบาย
กฎระเบียบ
- ในประเทศ
- ระหว่างประเทศ
ระบบโครงสร้าง
้ ฐาน
พืน
อุตสาหกรรม
เกีย
่ วข้อง
นโยบายและกลยุทธ์
การสร้างตลาด
•ตลาดภายใน
•ตลาดเฉพาะ
•ตลาดต่างประเทศ
ความหลากหลาย
ทางชวี ภาพ
Cluster
ของภาควิชาการ
ก ับผูป
้ ระกอบการ
ระบบข้อมูล
พ ัฒนา
กฎหมาย