การวิเคราะห์แบบเบื้องต้น น้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน

Download Report

Transcript การวิเคราะห์แบบเบื้องต้น น้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน

การตรวจสอบภาษีนา้ มันและ
ผลิตภัณฑ์ นา้ มัน
สานักตรวจสอบ ป้ องกันและปราบปราม
ส่ วนตรวจสอบภาษีและสื บสวน
หัวข้ อบรรยาย
การตรวจสอบภาษีสรรพสามิต
โรงกลัน่ นา้ มัน
คลังนา้ มัน
เส้ นทางธุรกิจนา้ มันและผลิตภัณฑ์ นา้ มัน
เส้ นทางธุรกิจนา้ มัน = นา้ มันดิบ-โรงกลัน่ -คลังถังเก็บนา้ มันสาเร็จรู ป-สถานีบริการ-ผู้ใช้ นา้ มัน
กฎหมายหลักที่ใช้ ในการตรวจสอบภาษี
• พ.ร.บ. ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527
• พ.ร.บ. พิกดั ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 (รวมถึง พ.ร.ก. แก้ไข)
• กฎกระทรวงการคลัง
• ประกาศกระทรวงการคลัง
• ประกาศกรมสรรพสามิต
• ระเบียบกรมสรรพสามิต
• คาสั่งกรมสรรพสามิต
• หนังสือกรมสรรพสามิต
( สามารถค้ นหา และ DOWNLOAD ได้ ที่ http:bta.excise.go.th )
คาจากัดความ
น้ามันและผลิตภัณฑ์ น้ามัน หมายความว่ า ผลิตภัณฑ์ ที่
ผลิตจากปิ โตรเลียม ได้ แก่ น้ามันเบนซิ น น้ามันก๊ าด น้ามันเชื้อเพลิง
สาหรั บเครื่ องบินไอพ่ น น้ามันดีเซล น้ามันเชื้อเพลิ งหนัก น้ามันเตา
และน้ามันอื่นๆ ที่คล้ ายกับน้ามันที่ได้ ออกชื่ อมาแล้ ว น้ามันหล่ อลื่น
ปิ โตรเลียมปิ ทูเมน (แอลฟั ลต์ ) ปิ โตรเลียมโค้ ก ก๊ าซปิ โตรเลี ยมชนิด
ต่ างๆ ก๊ าซธรรมชาติเหลว ก๊ าซธรรมชาติสารละลายหรื อโซลเว้ นท์
ชนิ ดต่ างๆ สารพลอยได้ และกากอื่นๆ ที่ได้ รับจากปิ โตรเลียมและให้
หมายความรวมถึงน้ามันอื่นหรือผลิตภัณฑ์ อื่น ที่ได้ รับการกลั่นหรื อ
แยกปิ โตรเลียมตามทีร่ ัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
คาจากัดความ-ต่ อ
ผลิต หมายความว่ า ทา ประกอบ ปรับปรุง แปรรู ป
หรือแปรสภาพสิ นค้ าหรือทาการอย่ างใดอย่ างหนึ่งให้ มี
ขึน้ ซึ่งสิ นค้ าไม่ ว่าด้ วยวิธีใดๆ แต่ มใิ ห้ รวมถึงการประดิษฐ์
ค้ นคว้ าทีม่ ไิ ด้ ทาขึน้ เพือ่ ขาย
ฐานภาษี
 ตามปริมาณ (Specific rate)
• หน่ วยทีใ่ ช้ เป็ นลิตร เศษของลิตรให้ นับเป็ นหนึ่งลิตร
เช่ น นา้ มันดีเซล นา้ มันเบนซิน นา้ มันแก๊สโซฮอล์ ก๊ าซธรรมชาติ
เหลว (เอ็น.จี.แอล.) เป็ นต้ น
• หน่ วยทีใ่ ช้ เป็ นกิโลกรัม เศษของกิโลกรัมให้ นับเป็ นหนึ่งกิโลกรัม
เช่ น ก๊าซปิ โตรเลียมเหลว (LPG ) เป็ นต้ น
 ตามมูลค่ า (Ad valorem)
• ร้ อยละของมูลค่ าของสิ นค้ า
เช่ น นา้ มันเตา สารละลายประเภทไฮโดรคาร์ บอน เป็ นต้ น
การลดอัตราและยกเว้ นภาษี
 พระราชกาหนดแก้ ไขเพิม่ เติมพระราชบัญญัติพกิ ดั อัตราภาษี
สรรพสามิต พ.ศ. 2527 (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2552
 ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราและยกเว้ นภาษี
สรรพสามิต (ฉบับที่ 29) ลงวันที่ 27 กรกฎาคม 2535
 ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราและยกเว้ นภาษี
สรรพสามิต (ฉบับที่ 85) ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2552
 ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราและยกเว้ นภาษี
สรรพสามิต (ฉบับที่ 97) ลงวันที่ 29 พฤษภาคม 2555
(ใช้ บังคับตั้งแต่ วนั ที่ 1 – 30 มิถุนายน 2555)
กาหนดเวลาการยืน่ แบบชาระภาษี
 ความรับผิดในการชาระภาษี (มาตรา 10) กรณีผลิตในราชอาณาจักร
– เกิดขึน้ เมือ่ นาสิ นค้ าออกจากโรงอุตสาหกรรม คลังสิ นค้ าทัณฑ์ บน ฯ
– เกิดขึน้ พร้ อมกับความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
 การขยายหรือเลือ่ นกาหนดเวลาการชาระภาษี (มาตรา 14) ตามประกาศกระทรวงการคลัง
ขยายกาหนดเวลาชาระภาษีสรรพสามิต ลงวันที่ 30 ธันวาคม 2534 ข้ อ 1 และ ข้ อ 2)
– เกิดขึน้ เมือ่ นาสิ นค้ าออกจากโรงอุตสาหกรรม คลังสิ นค้ าทัณฑ์ บน ฯ
ยืน่ แบบฯ พร้ อมกับชาระภาษี ภายใน 10 วันนับแต่ วนั ที่นาสิ นค้ าออกจาก
โรงอุตสาหกรรม คลังสิ นค้ าทัณฑ์ บน ฯ
– เกิดขึน้ พร้ อมกับความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
ยืน่ แบบฯ พร้ อมกับชาระภาษี ภายใน 10 วันนับแต่ วนั ทีน่ าสิ นค้ าออกจาก
โรงอุตสาหกรรม คลังสิ นค้ าทัณฑ์ บน ฯ
การหักลดหย่ อนภาษี
การลดหย่ อนภาษี คือ การลดหย่ อนภาษีให้ แก่ ผู้มีหน้ าที่เสี ยภาษี
เพือ่ ให้ ภาระภาษีของบุคคลนั้นลดน้ อยลง (**อ้างอิงจากหนังสือ “คาอธิบายกฎหมายภาษี
สรรพสามิต” โดย อ.ประภาศ คงเอียด หน้ า 199-200**)
มาตรา 101 ผู้ประกอบอุตสาหกรรมใดจะขอลดหย่ อนภาษีสาหรั บ
สิ นค้ าที่กาหนดในกฎกระทรวง โดยการนาภาษีสรรพสามิตที่ได้ เสี ยไว้ แล้ ว
สาหรั บสิ นค้ าที่นามาใช้ เป็ นวัตถุดิบในการผลิต ไปหักออกจากจานวนเงิน
ภาษีที่ต้องเสี ยสาหรั บสิ นค้ านั้ น ให้ ยื่นคาร้ องและปฏิ บัติตามหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขทีอ่ ธิบดีกาหนด
การหักลดหย่ อนภาษี (ต่ อ)