การประกอบอุตสาหกรรมยาสูบ

Download Report

Transcript การประกอบอุตสาหกรรมยาสูบ

โครงการฝึ กอบรมเชิงปฏิบัติการหมอภาษี คลินิคภาษี
กระทรวงการคลัง รุ่นที่ 1
ระหว่ างวันที่ 14-17 พฤษภาคม 2556
กฎหมายภาษีสรรพสามิต
โดย
วรพจน์ ด้ วงพิบูลย์
นิติกรชานาญการพิเศษ
สานักกฎหมาย กรมสรรพสามิต
พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527
พระราชบัญญัติพกิ ดั อัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527
พระราชบัญญัตสิ ุ รา พ.ศ. 2493
พระราชบัญญัตยิ าสู บ พ.ศ. 2509
พระราชบัญญัตไิ พ่ พุทธศักราช 2486
พระราชบัญญัติจัดสรรเงินภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527
พระราชบัญญัตจิ ดั สรรเงินภาษีสุรา พ.ศ. 2527
พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต
1. นิยามศัพท์ ต่าง ๆ
2. ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษี
3. ฐานในการคานวณภาษี
4. ความรับผิดในอันจะต้ องเสี ยภาษี
5. สิ ทธิของผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษี
6. การควบคุมการจัดเก็บภาษี
7. ฐานความผิด
8. มาตรการบังคับในการจัดเก็บภาษี
คานิยามที่สาคัญตาม พ.ร.บ. ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527
สิ นค้ า หมายความว่ า สิ่ งซึ่งผลิตหรือนาเข้ าและระบุไว้ ในกฎหมายว่ าด้ วย
พิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
บริการ หมายความว่ า การให้ บริการในทางธุรกิจในสถานบริการตามทีร่ ะบุ
ไว้ ในกฎหมายว่ าด้ วยพิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
รายรับ หมายความว่ า เงิน ทรัพย์ สิน ค่ าตอบแทน หรือประโยชน์ ใด ๆ
ที่อาจคานวณได้ เป็ นเงินทีไ่ ด้ รับหรือพึงได้ รับ
เนื่องจากการให้ บริการ
คานิยามที่สาคัญตาม พ.ร.บ. ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527
ผลิต
หมายความว่ า ทา ประกอบ ปรับปรุง แปรรูป หรือแปร
สภาพสิ นค้ า หรือทาการอย่ างใดอย่ างหนึ่งให้
มีขนึ้ ซึ่งสิ นค้ าไม่ ว่าด้ วยวิธีใด ๆ แต่ มิให้
รวมถึงการประดิษฐ์ ค้นคว้าทีม่ ิได้ ทาขึน้ เพือ่
ขาย
โรงอุตสาหกรรมหมายความว่ า สถานที่ที่ใช้ ในการผลิตสิ นค้ ารวมตลอดทั้ง
บริเวณแห่ งสถานที่น้ัน และให้ หมายความ
รวมถึงเครื่องขายเครื่องดื่มด้ วย
คานิยามที่สาคัญตาม พ.ร.บ. ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527
สถานบริการ
แสตมป์ สรรพสามิต
เครื่องหมายแสดง
การเสี ยภาษี
หมายความว่ า สถานทีส่ าหรับประกอบกิจการใน
ด้ านบริการและให้ หมายความถึง
สานักงานใหญ่ ที่จัดตั้งขึน้ ในการ
ประกอบกิจการในกรณีที่ไม่ อาจ
กาหนดสถานทีใ่ ห้ บริการได้ แน่ นอน
หมายความว่ า แสตมป์ ทีร่ ัฐบาลทาหรือจัดให้ มขี นึ้
เพือ่ ใช้ ในการจัดเก็บภาษีตาม
พระราชบัญญัตินี้
หมายความว่ า เครื่องหมายที่ใช้ แสดงการเสี ยภาษี
แทนแสตมป์ สรรพสามิต
ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษี
1. ผู้ประกอบอุตสาหกรรม
2. ผู้ประกอบกิจการสถานบริการ
3. ผู้นาเข้ าสิ นค้ า
4. ผู้อนื่ ที่ พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต กาหนด
- ผู้ทไี่ ด้ รับสิ ทธิยกเว้ นหรือลดอัตราภาษี หรือผู้โอนและผู้รับโอน
กรณีที่สิทธิที่ได้ รับการยกเว้ นหรือลดอัตราภาษีสิ้นสุ ดลง
(มาตรา 11, มาตรา 12)
- เจ้ าของคลังสิ นค้ าทัณฑ์ บน กรณีสินค้ าขาดไปจากบัญชีคุม
(มาตรา 42)
ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษี
- ผู้ประกอบอุตสาหกรรมหรือผู้ประกอบกิจการสถานบริการทีไ่ ด้ ต้งั
ขึน้ ใหม่ โดยการควบเข้ ากันหรือรายเดิมทีโ่ อนและทีร่ ับโอนกรณีที่
มีการควบกิจการเข้ าด้ วยกันหรือโอนกิจการ (มาตรา 57)
- ผู้ชาระบัญชีและกรรมการผู้อานวยการหรือผู้จัดการกรณีนิติ
บุคคลเลิกกิจการ โดยมีการชาระบัญชี (มาตรา 58 วรรคแรก)
- บุคคลผู้มีอานาจจัดการ กรณีนิติบุคคลเลิกกิจการโดยไม่ มี
การชาระบัญชี (มาตรา 58 วรรค 2)
- ผู้ดัดแปลง รถยนต์ กระบะ หรือสิ่ งใด ๆ ตามทีก่ าหนดใน
กฎกระทรวงให้ เป็ นรถยนต์ นั่งหรือเป็ นรถยนต์ โดยสารทีม่ ี
ทีน่ ั่งไม่ เกินสิ บคน (มาตรา 144 เบญจ)
- ผู้กระทาความผิดตามมาตรา 161 หรือ 162
ฐานในการคานวณภาษี
ฐานในการคานวณภาษี
พ.ร.บ. ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 8
1. ตามมูลค่ า (ราคา) หรือ
2. ตามปริมาณ (สภาพ)
ตามอัตราทีร่ ะบุไว้ ในกฎหมายว่ าด้ วยพิกดั อัตราภาษีสรรพสามิตทีใ่ ช้ อยู่
ในเวลาที่ความรับผิดในอันจะต้ องเสี ยภาษีเกิดขึน้
ฐานในการคานวณภาษี
พ.ร.บ. พิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 4
สิ นค้ าใดทีร่ ะบุอตั ราภาษีท้งั ตามมูลค่ าและตามปริมาณ
ให้ เสี ยภาษีในอัตราทีค่ ดิ เป็ นเงินสู งกว่ า
ฐานภาษีตามมูลค่ าสาหรับสิ นค้ าทีผ่ ลิตในราชอาณาจักร
พ.ร.บ. ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 8(1)
1. ฐานภาษีสาหรับสิ นค้ าผลิตในราชอาณาจักร ให้ ถือตามราคาขาย ณ
โรงอุตสาหกรรม โดยให้ รวมภาษีสรรพสามิตทีพ่ งึ ต้ องชาระด้ วย
2. ในกรณีทไี่ ม่ มีราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม หรือราคาขาย ณ โรง
อุตสาหกรรมมีหลายราคา ให้ ถอื ตามราคาทีอ่ ธิบดีกาหนดตาม
หลักเกณฑ์ และวิธีการทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
3. เพือ่ ประโยชน์ ในการจัดเก็บภาษี อธิบดีโดยอนุมัตริ ัฐมนตรีมีอานาจ
ประกาศมูลค่ าของสิ นค้ าทีผ่ ลิตในราชอาณาจักรเพือ่ ถือเป็ นเกณฑ์ ในการ
คานวณภาษีโดยกาหนดจากราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรมในตลาดปกติ
ได้
ฐานภาษีตามมูลค่ า สาหรับสถานบริการ
พ.ร.บ. ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 8(2)
ในกรณีบริการ ให้ ถือตามรายรับของสถานบริการ
1. สนามแข่ งม้ า
- รายรับทีต่ ้ องเสี ยภาษีคือ ค่ าผ่ านประตู และรายรับทีห่ ักไว้ จากผู้เล่ น
การพนันแข่ งม้ า ให้ หักเงินรางวัลทีต่ ้ องจ่ ายคืนให้ แก่ ผ้ ูเล่ นการพนัน
แข่ งม้ าดังกล่าว
2. สนามกอล์ ฟ
- รายรับจากค่ าสมาชิก และค่ าใช้ การสนามกอล์ ฟ
ฐานภาษีตามมูลค่ า สาหรับสถานบริการ
พ.ร.บ. ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 8(2)
3. ไนท์ คลับ ดิสโกเธค
- รายรับของสถานที่สาหรับดืม่ กินและเต้ นราโดยจัดให้ มีการแสดงดนตรี
หรือใช้ เครื่องเสี ยง หรือการแสดงอืน่ ใดเพือ่ การบันเทิง
4. อาบนา้ อบตัว และนวด
- รายรับของการให้ บริการอาบนา้ หรืออบตัว และนวด โดยมีผ้ ใู ห้ บริการ
ฐานภาษีตามมูลค่ าสาหรับสิ นค้ าทีน่ าเข้ ามาในราชอาณาจักร
พ.ร.บ. ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 8(3)
1. สิ นค้ าทีน่ าเข้ า ให้ ถือ
-
ราคา ซี.ไอ.เอฟ. ของสิ นค้ า
บวกอากรขาเข้ า
บวกค่ าธรรมเนียมพิเศษตามกฎหมายว่ าด้ วยการส่ งเสริมการลงทุน
บวกภาษีและค่ าธรรมเนียมอืน่ ตามทีก่ าหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
แต่ ไม่ รวมถึงภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามที่กาหนดในประมวลรัษฎากร
ฐานภาษีตามมูลค่ าสาหรับสิ นค้ าทีน่ าเข้ ามาในราชอาณาจักร
พ.ร.บ. ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 8 (3)
2. กรณีทผี่ ู้นาเข้ า ได้ รับยกเว้ นหรือลดอากรขาเข้ า
- ตามกฎหมายว่ าด้ วยการส่ งเสริมการลงทุน
- ตามกฎหมายอืน่
ให้ นาอากรขาเข้ าซึ่งได้ รับยกเว้ นหรือลดอัตราดังกล่ าวมารวมในการคานวณ
มูลค่ าด้ วย (ยกเว้ นหรือลดอากรขาเข้ าตามกฎหมายว่ าด้ วยศุลกากรไม่ ต้องนามา
รวมในการคานวณภาษีตามมูลค่ า)
ฐานภาษีตามมูลค่ าสาหรับสิ นค้ าทีน่ าเข้ ามาในราชอาณาจักร
พ.ร.บ. ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 8(3)
3. ราคา ซี.ไอ.เอฟ ได้ แก่ ราคาสิ นค้ าบวกด้ วยค่ าประกันภัยและค่ า
ขนส่ งถึงด่ านศุลกากรในราชอาณาจักร เว้ นแต่
- กรณีทอี่ ธิบดีกรมศุลกากรประกาศให้ ราคาท้ องตลาดสาหรับของ
ประเภทใดประเภทหนึ่งทีต่ ้ องเสี ยอากรตามราคาเป็ นรายเฉลีย่ ตาม
กฎหมายว่ าด้ วยพิกดั อัตราศุ ลกากรให้ ถือราคานั้นเป็ นราคาสิ นค้ าใน
การคานวณราคา ซี.ไอ.เอฟ.
- กรณีทเี่ จ้ าพนักงานศุลกากรประเมินราคาเพือ่ เสี ยอากรขาเข้ าใหม่
ตามกฎหมายว่ าด้ วยศุลกากร ให้ ถือราคานั้นเป็ นราคาสิ นค้ าในการ
คานวณราคา ซี.ไอ.เอฟ.
ฐานภาษีตามปริมาณ
การคานวณปริมาณสิ นค้ า
พ.ร.บ. ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 9
สิ นค้ าที่ต้องเสี ยภาษีตามปริมาณ ให้ ถือตามหน่ วยตามนา้ หนักสุ ทธิหรือ
ตามปริมาณของสิ นค้ านั้น เว้ นแต่
1. สิ นค้ าประเภทอาหารที่บรรจุภาชนะ โดยมีของเหลวหล่ อเลีย้ งด้ วยเพือ่ ประโยชน์ ใน
การถนอมอาหาร น้าหนักที่ใช้ เป็ นเกณฑ์ คานวณภาษี ให้ ถือเอาน้าหนักสิ นค้ ารวมทั้งของเหลวที่
บรรจุในภาชนะ
2. สิ นค้ าที่บรรจุในหีบห่ อหรือภาชนะใด ๆ เพือ่ จาหน่ ายทั้งหีบห่ อหรือภาชนะ และมี
เครื่องหมายหรือป้ ายแสดงปริมาณสิ นค้ าติดไว้ ที่หีบห่ อหรือภาชนะ เพือ่ ประโยชน์ ในการคานวณ
ภาษีอธิบดีจะถือว่ าหีบห่ อหรือภาชนะนั้น ๆ บรรจุสินค้ าตามปริมาณที่แสดงไว้ กไ็ ด้
ความรับผิดในอันจะต้ องเสี ยภาษี (มาตรา 10 (1))
(1) กรณีสินค้ าที่ผลิตขึน้ ในราชอาณาจักรให้ ถือว่ าความรับผิดในอันจะต้ องเสี ยภาษี
เกิดขึน้ เมือ่
(1.1) นาสิ นค้ าออกจากโรงอุตสาหกรรม
(1.2) นาสิ นค้ าไปใช้ ในโรงอุตสาหกรรม
(1.3) นาสิ นค้ าออกจากคลังสิ นค้ าทัณฑ์ บนฯ เขตปลอดอากร
หรือเขตอุตสาหกรรมส่ งออก
 ยืน่ แบบรายการภาษี และชาระภาษีก่อนความรับผิดในอันจะต้ องเสี ยภาษีเกิดขึ้น
(1.4) ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่าเพิม่ เกิดขึน้ ก่ อนนาสิ นค้ าออกจาก
โรงอุตสาหกรรมหรือคลังทัณฑ์ บน
ยืน่ แบบรายการภาษีและชาระภาษีก่อนความรับผิดในอันจะต้ องเสี ยภาษีเกิดขึ้น
หรือภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดจากเดือนที่มีความรับผิดในอันจะต้ องเสี ยภาษี
เกิดขึน้ หรือก่ อนการนาสิ นค้ าออกจากโรงอุตสาหกรรมหรือคลังสิ นค้ าทัณฑ์ บน
แล้ วแต่ กรณีใดจะเกิดขึน้ ก่ อน (มาตรา 48 (1))
ความรับผิดในอันจะต้ องเสี ยภาษี (มาตรา 10 (2))
(2) กรณีบริการ
ให้ ถือว่ าความรับผิดในอันจะต้ องเสี ยภาษีเกิดขึน้ เมื่อ ได้ รับชาระราคาค่ าบริการ
เว้ นแต่ ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ เกิดขึน้ ก่ อนได้ รับชาระราคา
ค่ าบริการ
 ยืน่ แบบรายการภาษีและชาระภาษีภายในวันที่ 15 ของเดือน ถัดจากเดือนที่
มีความรับผิดในอันจะต้ องเสี ยภาษีเกิดขึน้ (มาตรา 48 (2))
ความรับผิดในอันจะต้ องเสี ยภาษี (มาตรา 10 (3))
(3) กรณีสินค้ านาเข้ า
ให้ ถือว่ าความรับผิดในอันจะต้ องเสี ยภาษีเกิดขึน้ ในเวลาเดียวกับความรับผิดใน
อันจะต้ องเสี ยภาษีศุลกากร

ยืน่ แบบรายการภาษีและชาระภาษีในเวลาทีอ่ อกใบขนสิ นค้ าขาเข้ าตาม
กฎหมายศุลกากร (มาตรา 48 (3))
การนาสิ นค้ าที่มิได้ เสี ยภาษีออกจากโรงอุตสาหกรรมฯ (มาตรา 19)
ห้ ามมิได้ นาสิ นค้ าที่ยงั ไม่ เสี ยภาษีโดยถูกต้ องครบถ้ วนออกจากโรงอุตสาหกรรมคลังสิ นค้ า
ทัณฑ์ บน คลังสิ นค้ าทัณฑ์ บนศุลกากร เขตปลอดอากร หรือเขตอุตสาหกรรมส่ งออก เว้ นแต่
- นาไปเก็บไว้ ในคลังสิ นค้ าทัณฑ์ บนฯ เขตปลอดอากร หรือเขตอุตสาหกรรม
ส่ งออก
- นาจากคลังสิ นค้ าทัณฑ์ บนฯ เขตปลอดอากรหรือเขตอุตสาหกรรมส่ งออก
กลับคืนไปเก็บไว้ ในโรงอุตสาหกรรมคลังสิ นค้ าทัณฑ์ บนฯ อีกแห่ งหนึ่ง
- ได้ รับอนุมตั ิให้ ชาระภาษีภายในวันที่สิบห้ าของเดือนถัดจากเดือนที่นา
สิ นค้ าออกจากโรงอุตสาหกรรมหรือคลังสิ นค้ าทัณฑ์ บนฯ โดยมีหลักประกัน
- เป็ นสิ นค้ าที่ได้ รับการยกเว้ นภาษี
- นาสิ นค้ าออกโดยอาศัยอานาจตามกฎหมายหรือคาสั่ งโดยชอบกฎหมาย
- นาสิ นค้ าออกไปทดสอบประสิ ทธิภาพในขั้นตอนการผลิตหรือจาหน่ าย
(ต้ องระวางโทษจาคุกไม่ เกินเจ็ดปี หรือปรับตั้งแต่ ห้าเท่ าถึงยีส่ ิ บเท่ าของค่ าภาษีที่จะต้ องเสี ยหรือ
ทั้งจาทั้งปรับ (มาตรา 147))
สิ ทธิของผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษี
(การยกเว้ น การลดหย่ อน การลดอัตรา และการคืนภาษี)
สิ นค้ านาเข้ าทีไ่ ด้ รับยกเว้ นอากรขาเข้ า
พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 99
1. เป็ นสิ นค้ านาเข้ าทีจ่ าแนกประเภทไว้ในภาคทีว่ ่ าด้ วยของทีไ่ ด้ รับ
ยกเว้ นอากรตามกฎหมายว่ าด้ วยพิกดั อัตราศุลกากร (พิกดั อัตรา
ศุลกากร ภาค 4)
2. ได้ รับยกเว้ นภาษีสรรพสามิตด้ วย
3. การได้ รับยกเว้ นภาษีเป็ นไปตามเงือ่ นไขเดียวกับทีบ่ ัญญัติไว้ ใน
กฎหมายว่ าด้ วยพิกดั อัตราศุลกากร
สิ นค้ าทีส่ ่ งออกไปนอกราชอาณาจักร
พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 100
1. เป็ นสิ นค้ าทีส่ ่ งออกนอกราชอาณาจักรหรือนาเข้ าไปในเขตปลอดอากร
2. ได้ รับยกเว้ นหรือคืนภาษีหรือลดอัตราภาษีตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงือ่ นไขทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
3. สิ นค้ าทีน่ าออกจาก
- คลังสิ นค้ าทัณฑ์ บนตามกฎหมายว่ าด้ วยศุ ลกากร
- เขตปลอดอากร
สิ นค้ าทีส่ ่ งออกไปนอกราชอาณาจักร
พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 100
- เขตอุตสาหกรรมส่ งออก
หรือสิ นค้ าทีน่ าออกจาก
- คลังสิ นค้ าทัณฑ์ บน
- คลังสิ นค้ าทัณฑ์ บนตามกฎหมายว่ าด้ วยศุ ลกากร
- เขตปลอดอากร
- เขตอุตสาหกรรมส่ งออก
แห่ งหนึ่งเข้ าไปอีกแห่ งหนึ่ง ซึ่งได้ รับยกเว้ นอากรตามกฎหมายศุลกากรให้
ได้ รับยกเว้ นภาษีสรรพสามิตด้ วย
การลดหย่ อนภาษี
พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 101
1. ผู้มีสิทธิได้ รับการลดหย่ อนภาษีคอื ผู้ประกอบอุตสาหกรรม
2. ขอลดหย่ อนภาษีได้ เฉพาะสิ นค้ า (ตามพิกดั อัตราภาษี
สรรพสามิต) ทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
3. ลดหย่ อนโดยการนาจานวนเงินภาษีตามพระราชบัญญัติภาษี
สรรพสามิต พ.ศ. 2527 ทีไ่ ด้ เสี ยไว้ แล้ ว
การลดหย่ อนภาษี
- สิ นค้ าทีก่ าหนดไว้ คอื นา้ มัน รถยนต์ รถจักรยานยนต์
เครื่องปรับอากาศ แบตเตอรี่ เครื่องดืม่
(กฎกระทรวง ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2534) แก้ ไขเพิม่ เติมครั้งสุ ดท้ าย
โดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 37 (พ.ศ.2548))
การยกเว้ นภาษี
พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 101 ทวิ
1. สิ นค้ า (ตามพิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต) ทีน่ ามาใช้ เป็ นวัตถุดบิ
หรือส่ วนประกอบในการผลิตสิ นค้ าประเภทหรือชนิดเดิมหรืออีกประเภทหรือ
อีกชนิดหนึ่ง (เฉพาะตามพิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต)
2. สิ นค้ า (ตามพิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต) ทีน่ ามาใช้ เป็ นวัตถุดบิ
หรือส่ วนประกอบในการผลิตสิ นค้ าเพือ่ ส่ งออก (เฉพาะตามพิกดั อัตราภาษี
สรรพสามิต)
การยกเว้ นภาษี
พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 101 ทวิ
3. อธิบดีกรมสรรพสามิต มีอานาจยกเว้ นภาษีให้ แก่ ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษี
4. ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีจะต้ องปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขที่
กาหนดในกฎกระทรวง
- กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการยกเว้ นภาษีสาหรับ
สิ นค้ าทีน่ ามาใช้ เป็ นวัตถุดบิ หรือส่ วนประกอบในการผลิตสิ นค้ า พ.ศ. 2545
สิ นค้ าที่บริจาคหรือจาหน่ ายให้ แก่ ผ้ ูได้ รับเอกสิ ทธิ์
และนา้ มันเติมเรือหรืออากาศยาน
สิ นค้ าทีบ่ ริจาค
พระราชบัญญัตภิ าษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 102
1. สิ นค้ าทีบ่ ริจาคแก่ ประชาชนเป็ นการสาธารณกุศล โดยผ่ านส่ วน
ราชการ หรือองค์ การสาธารณกุศล
2. สิ นค้ าที่บริจาคเป็ นการสาธารณประโยชน์ ให้ แก่ส่วนราชการ หรือ
โดยผ่ านองค์ การสาธารณกุศล
สิ นค้ าที่บริจาคหรือจาหน่ ายให้ แก่ ผ้ ูได้ รับเอกสิ ทธิ์
และนา้ มันเติมเรือหรืออากาศยาน
สิ นค้ าทีบ่ ริจาค
พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 102
3. ต้ องเป็ นสิ นค้ าเฉพาะทีก่ าหนดไว้ ในกฎกระทรวง
- กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2542) กาหนดให้ เครื่องดื่มเป็ นสิ นค้ าที่ได้ รับ
ยกเว้ นหรือคืนภาษีในกรณีนี้
4. ผู้ประกอบอุตสาหกรรมมีสิทธิได้ รับยกเว้ นภาษี
สิ นค้ าที่บริจาคหรือจาหน่ ายให้ แก่ ผ้ ูได้ รับเอกสิ ทธิ์
และนา้ มันเติมเรือหรืออากาศยาน
สิ นค้ าทีจ่ าหน่ ายให้ แก่ ผู้ได้ รับเอกสิ ทธิ์
มาตรา 102
1. เป็ นสิ นค้ าทีจ่ าหน่ ายให้ แก่ ผ้ ไู ด้ รับเอกสิ ทธิ์ ตามข้ อตกลงหรือ
ความสั มพันธ์ กนั ระหว่ างประเทศ
2. ผู้ประกอบอุตสาหกรรมมีสิทธิได้ รับคืนหรือยกเว้ นภาษี
สิ นค้ าที่บริจาคหรือจาหน่ ายให้ แก่ ผ้ ูได้ รับเอกสิ ทธิ์
และนา้ มันเติมเรือหรืออากาศยาน
นา้ มันเติมเรือหรืออากาศยาน
มาตรา 102
1. นา้ มันและผลิตภัณฑ์ นา้ มันทีเ่ ติม
- ในอากาศยาน
- ในเรือที่มขี นาดเกินกว่ าห้ าร้ อยตันกรอสส์
2. พนักงานศุลกากรได้ ปล่ อยให้ ไปต่ างประเทศแล้ ว
3. ผู้ประกอบอุตสาหกรรมมีสิทธิได้ รับคืนหรือยกเว้ นภาษี
บริการทีม่ กี ารบริจาครายรับ
พระราชบัญญัตภิ าษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527
มาตรา 102 ทวิ
1. บริการทีบ่ ริจาครายรับ
- ให้ แก่ ประชาชนเป็ นการสาธารณกุศล โดยผ่ านส่ วนราชการ หรือ
องค์ การสาธารณกุศล
- เป็ นการสาธารณประโยชน์ แก่ ส่วนราชการ หรือโดยผ่ านองค์ การ
สาธารณกุศล
2. เฉพาะบริการตามทีก่ าหนดไว้ ในกฎกระทรวง
- กฎกระทรวง ฉบับที่ 34 (พ.ศ. 2542) กาหนดให้ สนามแข่ งม้ า และ
สนามกอล์ ฟ เป็ นบริการที่ผู้ประกอบกิจการสถานบริการมีสิทธิ
ได้ รับยกเว้ นภาษี
เพือ่ ประโยชน์ ทางเศรษฐกิจและสั งคม
พระราชบัญญัตภิ าษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527
มาตรา 103
1. เพือ่ ประโยชน์ แก่การเศรษฐกิจของประเทศ
2. เพือ่ ความผาสุ กของประชาชน
3. รัฐมนตรี โดยอนุมตั คิ ณะรัฐมนตรีมอี านาจประกาศ
- ลดอัตราภาษี
- ยกเว้ นภาษี
สาหรับสิ นค้ าหรือบริการใด ๆ โดยจะกาหนดหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขไว้
ด้ วยก็ได้
สิ นค้ าทีเ่ สี ยหาย หรือเสื่ อมคุณภาพจนใช้ การไม่ ได้
พระราชบัญญัตภิ าษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527
มาตรา 104
1. สิ นค้ าทีพ่ สิ ู จน์ ได้ ว่าเสี ยหายหรือเสื่ อมคุณภาพจนใช้ การไม่ ได้
ให้ ยกเว้ นภาษีสาหรับ
2. เฉพาะสิ นค้ าทีก่ าหนดไว้ ในกฎกระทรวง ฉบับที่ 33
(พ.ศ. 2542) คือ
- เครื่องดืม่
- แบตเตอรี่
3. ผู้ประกอบอุตสาหกรรมมีสิทธิได้ รับคืนภาษี
สิ นค้ าที่นาเข้ าและต่ อมาได้ ส่งออกไปนอกราชอาณาจักร
ส่ งกลับออกไปในสภาพเดิม
พระราชบัญญัตภิ าษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 105
1. เป็ นสิ นค้ าที่นาเข้ ามาในราชอาณาจักรซึ่งได้ เสี ยภาษีแล้ ว
2. ส่ งกลับออกไปนอกราชอาณาจักร
3. คืนภาษีให้ แก่ ผ้ นู าเข้ าตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงือ่ นไขและใน
อัตราส่ วนเดียวกับการคืนเงินอากรขาเข้ าตามกฎหมายว่ าด้ วย
ศุลกากร
- การคืนภาษีสรรพสามิตในกรณีนี้ ใช้ หลักเกณฑ์ เดียวกับ กรณีตาม
พระราชบัญญัตศิ ุลกากรฯ (ฉบับที่ 9) มาตรา 19 (- นาเข้ าแล้วส่ งกลับไปสภาพเดิม,
- มิได้ ใช้ ประโยชน์ , - ส่ งกลับออกไปภายใน 1 ปี นับแต่ วนั นาเข้ า, - ขอคืนภาษี
ภายใน 6 เดือนนับแต่ วนั ส่ งกลับออกไป, -ได้ คนื ภาษี 9 ใน 10 ส่ วน หรือส่ วนทีเ่ กิน
หนึ่งบาทของจานวนทีไ่ ด้ เรียกเก็บภาษีไว้ แล้ วแต่ จานวนใดจะสู งกว่ า)
สิ นค้ าที่นาเข้ าและต่ อมาได้ ส่งออกไปนอกราชอาณาจักร
นาเข้ ามาผลิตเป็ นสิ นค้ าส่ งออก
พระราชบัญญัตภิ าษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 106
1. สิ นค้ าที่ส่งออกนอกราชอาณาจักร ซึ่งได้ ผลิตด้ วยสิ นค้ านาเข้ า
ซึ่งได้ เสี ยภาษี
2. ให้ คนื ภาษีสาหรับสิ นค้ าทีไ่ ด้ เสี ยภาษีแล้ วให้ แก่ ผ้ ูนาเข้ า ตาม
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เดียวกับการคืนเงินอากรขาเข้ า
ตามกฎหมายว่ าด้ วยศุลกากร
- การคืนภาษีสรรพสามิตในกรณีนี้ ใช้ หลักเกณฑ์ เดียวกับกรณีตามพระราชบัญญัติ
ศุลกากรฯ (ฉบับที่ 9) มาตรา 19 ทวิ (- ส่ งกลับออกไป 1ปี , ต้ องขอคืนเงินภายใน 6
เดือนนับแต่ วนั ที่ส่งของนั้นกลับออกไป แต่ อธิบดีจะขยายเวลาออกไปตามที่
เห็นสมควรก็ได้ , - ได้ คนื เต็มจานวนที่ได้ เรียกเก็บภาษีไว้ )
สิ นค้ าที่นาเข้ าและต่ อมาได้ ส่งออกไปนอกราชอาณาจักร
นาเข้ ามาผลิตเป็ นสิ นค้ าส่ งออก
พระราชบัญญัตภิ าษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 106
ข้ อสั งเกต
1. การคืนภาษีสรรพสามิตในกรณีนี้ ใช้ หลักเกณฑ์ เดียวกับกรณีตาม
พระราชบัญญัตศิ ุลกากรฯ (ฉบับที่ 9) มาตรา 19 ทวิ
2. การคืนภาษีในกรณีนี้ ต้ องเป็ นการนาเข้ าสิ นค้ าตามพิกดั อัตราภาษี
สรรพสามิต ไปใช้ ผลิตสิ นค้ าใหม่ ขนึ้ โดยสิ นค้ าชิ้นใหม่ ต้องเป็ นสิ นค้ าตามพิกดั
อัตราภาษีสรรพสามิตด้ วย
- เช่ น นาแบตเตอรี่เข้ ามาจากต่ างประเทศไปประกอบในรถจักรยานยนต์ และ
ส่ งออก จึงจะเข้ าเงือ่ นไขที่จะได้ รับการคืนภาษีสรรพสามิต
ยกเว้ นภาษีตามกฎหมายอืน่
ยกเว้ นภาษีสรรพสามิตตามพระราชบัญญัตศิ ุ ลกากร
พุทธศักราช 2469 มาตรา 97 ฉ คือ
1. การนาเข้ าและการผลิตของทีก่ ระทาในเขตปลอดอากรให้ ได้ รับ
การยกเว้ นภาษีสรรพสามิตามที่กาหนดในกฎหมายว่ าด้ วยภาษีสรรพสามิต
2. การนาเข้ าและการผลิตของทีก่ ระทาในเขตปลอดอากรให้ ได้ รับ
ยกเว้ นภาษีสุรา การปิ ดแสตมป์ และค่ าธรรมเนียม ตามกฎหมายว่ าด้ วยสุ รา
กฎหมายว่ าด้ วยยาสู บ และกฎหมายว่ าด้ วยไพ่ โดยให้ นาบทบัญญัตเิ กีย่ วกับ
การยกเว้ นและการจัดเก็บภาตามทีก่ าหนดในกฎหมายว่ าด้ วยภาษีสรรพสามิต
มาใช้ บงั คับกับการยกเว้ นภาษี การปิ ดแสตมป์ และค่ าธรรมเนียมดังกล่ าว
ยกเว้ นภาษีตามกฎหมายอืน่
ยกเว้ นภาษีสรรพสามิตตามพระราชบัญญัติ
การนิคมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย พ.ศ. 2522
1. ยกเว้ นภาษีตามมาตรา 48 และ 50 ซึ่งกาหนดให้ ผ้ ปู ระกอบ
อุตสาหกรรม และผู้ประกอบการค้ าเพือ่ ส่ งออกในเขตอุตสาหกรรมส่ งออก ได้ รับ
ยกเว้ นค่ าธรรมเนียมพิเศษตามกฎหมายว่ าด้ วยการส่ งเสริมการลงทุน อากรขาเข้ า
ภาษีมูลค่ าเพิม่ และภาษีสรรพสามิต
- สาหรับของทีเ่ ป็ นเครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือ และเครื่องใช้ รวมทั้ง
ส่ วนประกอบของสิ่ งดังกล่าว ทีจ่ าเป็ นต้ องใช้ ในการผลิตสิ นค้ าหรือ
การค้ าเพือ่ ส่ งออก
- ของทีใ่ ช้ ในการสร้ าง ประกอบหรือติดตั้ง เป็ นโรงงานหรืออาคารใน
เขตอุตสาหกรรมส่ งออก
ยกเว้ นภาษีตามกฎหมายอืน่
ยกเว้ นภาษีสรรพสามิตตามพระราชบัญญัติ
การนิคมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย พ.ศ. 2522
- เท่ าทีน่ าเข้ าไปในเขตอุตสาหกรรมส่ งออก ตามทีค่ ณะกรรมการ
อนุมตั ิ และต้ องปฏิบัตติ ามหลักเกณฑ์ และเงือ่ นไขคณะกรรมการกาหนด
และของเหล่านีท้ นี่ าเข้ ามาในราชอาณาจักร รวมทั้งผลิตภัณฑ์
สิ่ งพลอยได้ และสิ่ งอืน่ ทีไ่ ด้ จากการผลิตในเขตอุตสาหกรรมส่ งออก หากส่ งออก ไป
นอกราชอาณาจักร ก็ให้ ได้ รับยกเว้ นอากรขาออก ภาษีมูลค่ าเพิม่ และภาษี
สรรพสามิตด้ วย
ยกเว้ นภาษีตามกฎหมายอืน่
ยกเว้ นภาษีสรรพสามิตตามพระราชบัญญัติ
การนิคมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย พ.ศ. 2522
2. ยกเว้ นภาษีตามมาตรา 49 ซึ่งกาหนดให้ ยกเว้ นค่ าธรรมเนียมพิเศษ
ตามกฎหมายว่ าด้ วยการส่ งเสริมการลงทุน อากรขาเข้ า ภาษีมูลค่ าเพิม่ และภาษี
สรรพสามิต สาหรับของทีผ่ ้ ปู ระกอบอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการค้ าเพือ่ ส่ งออก
นาเข้ ามาในราชอาณาจักร และนาเข้ าไปในเขตอุตสาหกรรมส่ งออก
- เพือ่ ใช้ ในการผลิตสิ นค้ า
- เพือ่ การค้ าเพือ่ ส่ งออก
- รวมถึงของที่นาออกจากเขตอุตสาหกรรมส่ งออกแห่ งหนึ่งไปยังเขต
อุตสาหกรรมส่ งออกอีกแห่ งหนึ่งด้ วย
การควบคุม
การจัดเก็บภาษี
การควบคุมการจัดเก็บภาษี
ที่กาหนดไว้ ในกฎหมายสรรพสามิต
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
การจดทะเบียน
แสตมป์ สรรพสามิตและเครื่องหมายแสดงการเสี ยภาษี
เครื่องมืออุปกรณ์
บัญชีและหลักฐานการปฏิบตั ิ
พนักงานเจ้ าหน้ าทีป่ ระจา ณ สถานทีผ่ ลิต
คลังสิ นค้ าทัณฑ์ บน
การตรวจสอบ จับกุมและปราบปราม
ลักษณะความผิด
•ความผิดเกีย่ วกับทะเบียน
•ความผิดเกีย่ วกับสิ นค้ า
•ความผิดเกีย่ วกับการกระทา
ความผิดเกีย่ วกับทะเบียน
•ม.25 โทษตาม ม.148 (ไม่จดทะเบียนโรงอุตสาหกรรมหรือสถานบริการ)
•ม.28 โทษตาม ม.151 (ไม่แสดงใบทะเบียนสรรพสามิต)
•ม.29 โทษตาม ม.151 (ละเลยไม่ยนื่ คาขอรับใบแทนใบทะเบียนสรรพสามิตในกรณีชารุด/สูญหาย)
•ม.30 โทษตาม ม.148 (ไม่แจ้งย้ายโรงอุตสาหกรรม/สถานบริการ)
•ม.31 โทษตาม ม.148 (ไม่แจ้งการเลิก/โอนกิจการ)
•ม.32 โทษตาม ม.148 (กรณีผู้ประกอบอุตสาหกรรมตาย และทายาทประกอบกิจการต่อโดยไม่ยนื่ ขอ
จดทะเบียนสรรพสามิต)
ความผิดเกีย่ วกับสิ นค้ า
ม.161 (การครอบครอง)
ม.162 (การขาย/มีไว้ เพือ่ ขาย)
ความผิดเกีย่ วกับการกระทา
ม. 48 โทษตาม ม.164 (ไม่ยนื่ แบบรายการภาษีและการชาระภาษี)
ม.112 โทษตาม ม.159 (ไม่ทาบัญชีประจาวันและงบเดือน)
ม.116 โทษตาม ม.160 (ไม่แจ้งวันเวลาทาการ และวันเวลาหยุดทาการ)
ม.117 โทษตาม ม.160 (ไม่แจ้งราคาขาย ณ. โรงอุตสาหกรรม)
ม.145
(ขัดขวางเจ้ าพนักงาน)
ม.147
(การนาสิ นค้ าออกนอกโรงอุตสาหกรรม/นาเข้ าซึ่งสิ นค้ าที่มิได้ เสี ยภาษี)
มาตรการบังคับ
ในการจัดเก็บภาษี
มาตรการบังคับในการจัดเก็บภาษี
ที่กาหนดไว้ ในกฎหมายสรรพสามิต
1. การประเมินและการวางหลักประกันค่ าภาษี
2. การคัดค้ านการประเมิน และการอุทธรณ์ คาวินิจฉัยคาคัดค้าน
3. เบีย้ ปรับเงินเพิม่
4. การบังคับชาระภาษีค้าง
การประเมินและการวางหลักประกันค่ าภาษี
อานาจประเมิน
พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 79
1. พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอานาจประเมินภาษีเบีย้ ปรับและเงินเพิ่ม ในกรณีที่
- ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษีมไิ ด้ ยนื่ แบบรายการภาษีภายในกาหนดระยะเวลาที่
กฎหมายกาหนด
- ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษียนื่ แบบรายการภาษีไว้ ไม่ ถูกต้ องหรือมีข้อผิดพลาดทาให้
จานวนภาษีทตี่ ้ องเสี ยคลาดเคลือ่ นไป
- ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษีไม่ ปฏิบตั ิตามหนังสื อเรียกหรือคาสั่ งของพนักงาน
เจ้ าหน้ าที่ หรือไม่ ยอมตอบคาถามของพนักงานเจ้ าหน้ าทีอ่ นั เป็ นสาระสาคัญ
เกีย่ วกับการประเมินภาษีโดยไม่ มเี หตุผลอันสมควร หรือไม่ สามรถแสดง
หลักฐานเพือ่ การคานวณภาษี
- มีกรณีตามมาตรา 42 (สิ นค้ าขาดไปจากบัญชีสินค้ าในคลังสิ นค้ าทัณฑ์ บน)
การประเมินและการวางหลักประกันค่ าภาษี
การวางหลักประกันค่ าภาษี
พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 83
6. กรณีทมี่ ีปัญหาเกีย่ วกับจานวนเงินภาษีทตี่ ้ องชาระถ้ า
- ผู้ประกอบอุตสาหกรรมประสงค์ จะนาสิ นค้ าออกจากโรงอุตสาหกรรม
หรือคลังสิ นค้ าทัณฑ์ บน
- ผู้เข้ าประสงค์ จะนาสิ นค้าออกไปจากอารักขาของกรมศุลกากรก่ อนการ
ประเมินของพนักงานเจ้ าหน้ าที่
การประเมินและการวางหลักประกันค่ าภาษี
การวางหลักประกันค่ าภาษี
พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 84
ให้ ผ้ ปู ระกอบอุตสาหกรรมหรือผู้นาเข้ าชาระภาษีตามจานวนทีแ่ สดงไว้ ใน
แบบรายการภาษี พร้ อมกับวางเงินเพิม่ เติมเป็ นประกันจนครบจานวนภาษีทอี่ าจจะ
ต้ องเสี ยสาหรับสิ นค้ านั้น
- ขอให้ อธิบดีรับการคา้ ประกันของธนาคารแทนการวางเงินเพิม่ เติมเป็ นประกัน
- เพือ่ วินิจฉัยปัญหาเกีย่ วกับจานวนเงินภาษี พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอานาจที่จะเอา
สิ นค้ าไว้ เป็ นตัวอย่ างได้ พอสมควร
การประเมินและการวางหลักประกันค่ าภาษี
การวางหลักประกันค่ าภาษี
พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 85
7. ในกรณีทมี่ ีการวางเงินประกันค่ าภาษีเมือ่ พนักงานเจ้ าหน้ าที่ได้
ประเมินให้ เสี ยภาษีเพิม่ ขึน้ จากจานวนภาษีทไี่ ด้ ชาระไว้ และได้ แจ้ งให้ ผ้ ปู ระกอบ
อุตสาหกรรมหรือผู้นาเข้ าทราบแล้ ว ให้ เก็บภาษีส่วนทีเ่ พิม่ ขึน้ จากเงินประกัน
ดังกล่ าว ถ้ าเงินประกันไม่ คุ้มค่ าภาษีกเ็ รียกให้ ชาระเพิม่ จนครบ แต่ ถ้าเงินประกัน
เกินค่ าภาษีให้ คนื เงินส่ วนทีเ่ กินโดยมิชักช้ า
การคัดค้ านการประเมินและการอุทธรณ์
การคัดค้ านการประเมิน
พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 86 - 88
1. ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษีได้ แจ้ งการประเมินของพนักงานเจ้ าหน้ าที่ มี
สิ ทธิคดั ค้ านการประเมินต่ ออธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายภายในสี่ สิบห้ าวันนับ
แต่ วนั ที่ได้ รับแจ้ งการประเมิน
2. ในการพิจารณาคาคัดค้ าน อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายมี
อานาจออกหนังสื อเรียกผู้ยนื่ คาคัดค้ านมาให้ ถ้อยคาเพิม่ เติม หรือเรียกบุคคลอืน่ มา
ให้ ถ้อยคาเป็ นพยาน สั่ งบุคคลดังกล่ าวให้ ส่งบัญชีเอกสาร หรือหลักฐานอืน่ ที่
เกีย่ วข้ องมาตรวจสอบได้
การคัดค้ านการประเมินและการอุทธรณ์
การคัดค้ านการประเมิน
พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 86 - 88
3. อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายต้ องวินิจฉัยคาคัดค้ านภายในหก
สิ บวันนับแต่ วนั ที่ได้ รับคาคัดค้ านและแจ้ งคาวินิจฉัยพร้ อมด้ วยเหตุผลเป็ นหนังสื อ
ไปยังผู้ยนื่ คาคัดค้ านโดยมีอานาจสั่ ง
- ไม่ รับคาคัดค้ าน
- ยกคาคัดค้ าน
- เพิกถอนการประเมิน
- แก้ การประเมินให้ เสี ยภาษีเพิม่ ขึน้ หรือลดลง
การสั่ งไม่ รับคาคัดค้ าน ให้ ถือว่ าได้ วนิ ิจฉัยให้ ยกคาคัดค้ าน
การคัดค้ านการประเมินและการอุทธรณ์
การอุทธรณ์ วนิ ิจฉัยคาคัดค้ าน
พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 86 - 88
3. ผู้ยนื่ คาคัดค้ านมีสิทธิอุทธรณ์ คาวินิจฉัยคัดค้ านต่ อคณะกรรมการ
พิจารณาอุทธรณ์ ภายในสี่ สิบห้ าวันนับแต่ วนั ทีไ่ ด้ รับแจ้ งคาวินิจฉัย
- ผู้ยนื่ คาคัดค้ านไม่ ปฏิบัติตามหนังสื อเรียกหรือคาสั่ งของผู้พจิ ารณาคา
คัดค้ าน หรือไม่ ยอมตอบคาถามอันเป็ นสาระสาคัญเกีย่ วกับการพิจารณาคาคัดค้ านของผู้
พิจารณาคาคัดค้ านโดยไม่ มีเหตุผลอันสมควร ห้ ามมิให้ อุทธรณ์ ตามวรรคหนึ่ง ในกรณี
ดังกล่ าวให้ ผู้พจิ ารณาคาคัดค้ านทาบันทึกไว้ เป็ นหลักฐาน
การคัดค้ านการประเมินและการอุทธรณ์
การอุทธรณ์ วนิ ิจฉัยคาคัดค้ าน
พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 89 - 96
5. คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ประกอบด้ วยปลัด
กระทรวงการคลัง เป็ นประธานกรรมการ ผู้แทนกรมศุลกากร ผู้แทนกรม
สรรพสามิต ผู้แทนกรมสรรพากร ผู้แทนกรมอัยการ ผู้แทนสานักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกา และทีป่ รึกษากฎหมาย สานักงานปลัดกระทรวงการคลัง
เป็ นกรรมการ
การคัดค้ านการประเมินและการอุทธรณ์
การอุทธรณ์ วนิ ิจฉัยคาคัดค้ าน
พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 89 - 96
10. เมือ่ มีคาวินิจฉัยอุทธรณ์ ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
แล้ ว ผู้อุทธรณ์ มสี ิ ทธิอุทธรณ์ คาวินิจฉัยอุทธรณ์ โดยฟ้องคดีต่อศาลภายในสามสิ บ
วันนับแต่ วนั ทีไ่ ด้ รับแจ้ งคาวินิจฉัยอุทธรณ์
เบีย้ ปรับและเงินเพิม่
การเสี ยเบีย้ ปรับ เงินเพิม่ การงดและการลด
พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 136 - 139
1. ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษีต้องเสี ยเบีย้ ปรับ
- มิได้ ยนื่ แบบรายการภาษีภายในกาหนดเวลาให้ เสี ยเบีย้ ปรับอีกสองเท่ า
ของเงินภาษี
- ยืน่ แบบรายการภาษีไว้ ไม่ ถูกต้ องหรือมีข้อผิดพลาด ทาให้ จานวนภาษีที่
ต้ องเสี ยขาดไป ให้ เสี ยเบีย้ ปรับอีกหนึ่งเท่ าของเงินภาษีที่เสี ยขาดไป
เบีย้ ปรับและเงินเพิม่
การเสี ยเบีย้ ปรับ เงินเพิม่ การงดและการลด
พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 136 - 139
2. ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษี ไม่ ชาระภาษีภายในกาหนดเวลาหรือชาระขาด
จานวนที่ต้องเสี ย
- ให้ เสี ยเงินเพิม่ อีกร้ อยละ 1.5 ต่ อเดือน หรือ เศษของเดือนของเงินภาษีที่
ต้ องชาระโดยไม่ รวมเบีย้ ปรับ
- การคานวณเงินเพิม่ ดังกล่ าวมิให้ คดิ ทบต้ น
- เงินเพิม่ มิให้ เกินกว่ าจานวนภาษีที่ต้องชาระโดยไม่ รวมเบี้ยปรับ
เบีย้ ปรับและเงินเพิม่
การเสี ยเบีย้ ปรับ เงินเพิม่ การงดและการลด
พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 136 - 139
3. เบีย้ ปรับและเงินเพิม่ อาจงดหรือลดลงได้ ตามหลักเกณฑ์ ที่
กาหนดในกฎกระทรวง
4. เบีย้ ปรับและเงินเพิม่ ให้ ถือเป็ นเงินภาษี
การบังคับชาระภาษีค้าง
การขอทุเลาการชาระภาษี
พ.ร.บ. ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 มาตรา 97 - 98
1. การคัดค้ านการประเมิน การอุทธรณ์ ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
หรืออุทธรณ์ ต่อศาล ไม่ เป็ นเหตุให้ ทุเลาการชาระภาษี เว้ นแต่ ได้ มกี ารยืน่ ขอทุเลาการ
ชาระภาษี
2. อธิบดีหรือผู้ซึ่งได้ รับมอบหมาย มีอานาจสั่ งให้ ทุเลาการชาระภาษีไว้ ก่อน
ทั้งหมดหรือแต่ บางส่ วน และจะสั่ งให้ หาประกันตามที่เห็นสมควรก็ได้
3. ถ้ าต่ อมามีพฤติการณ์ ปรากฏว่ าได้ มีการกระทาเพือ่ ประวิงการชาระภาษี
หรือได้ มีการกระทาหรือตั้งใจกระทาการโอน ขาย จาหน่ าย หรือยักย้ายทรัพย์สิน
ทั้งหมดหรือบางส่ วนเพือ่ ให้ พ้นอานาจการยึดหรืออายัด ก็มีอานาจเพิกถอนคาสั่ ง
ทุเลาการชาระภาษีได้
พระราชบัญญัติพกิ ดั อัตราภาษีสรรพสามิต
พ.ศ. 2527
1. กาหนดประเภทสิ นค้ าและอัตราภาษี
2. ให้ อานาจในการขยายฐานภาษี
3. ให้ อานาจอธิบดีกรมสรรพสามิตตีความในกิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
พิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
ตอนที่ 1 นา้ มันและผลิตภัณฑ์ นา้ มัน
ลักษณะสิ นค้ า
“นา้ มันและผลิตภัณฑ์ นา้ มัน” หมายความว่า ผลิตภัณฑ์ ทผี่ ลิตจากปิ โตรเลียม
ได้ แก่ นา้ มันเบนซิน นา้ มันก๊าด นา้ มันเชื้อเพลิงสาหรับเครื่องบินไอพ่ น นา้ มัน
ดีเซล นา้ มันเชื้อเพลิงหนัก นา้ มันเตา และนา้ มันอืน่ ๆ ที่คล้ายกับนา้ มันทีไ่ ด้
ออกชื่อมาแล้ว นา้ มันหล่อลืน่ ปิ โตรเลียมปิ ทูเมน (แอสฟัลต์ ) ปิ โตรเลียมโค้ ก
ก๊าซปิ โตรเลียมชนิดต่ าง ๆ ก๊าซธรรมชาติเหลว ก๊าซธรรมชาติสารละลายหรือ
โซลเว้ นท์ ชนิดต่ าง ๆ สารพลอยได้ และกากอืน่ ๆ ทีไ่ ด้ จากปิ โตรเลียมและให้
ความหมายรวมถึงนา้ มันอืน่ หรือผลิตภัณฑ์ อนื่ ทีไ่ ด้ จากการกลัน่ หรือแยก
ปิ โตรเลียมตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
พิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
ตอนที่ 2 เครื่องดืม่
ลักษณะสิ นค้ า
“เครื่องดืม่ ” หมายความว่ าสิ่ งซึ่งตามปกติใช้ เป็ นเครื่องดืม่ ได้ โดยไม่ ต้องเจือปนและไม่ มีแอลกอฮอล์
โดยจะมีก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ อยู่ด้วยหรือไม่ กต็ ามอันบรรจุในภาชนะและผนึกไว้ เช่ น นา้ แร่ นา้ หวาน
นา้ ผลไม้ นา้ พืชผัก และนา้ โซดา เป็ นต้ น และให้ หมายความรวมถึงเครื่องดืม่ ที่ทาหรื อบรรจุหรือได้ จาก
เครื่องขายเครื่องดืม่ ไม่ ว่าจะขายด้ วยวิธีใด แม้ จะไม่ ได้ บรรจุภาชนะและผนึกไว้ แต่ ไม่ รวมถึง
1) นา้ หรือนา้ แร่ ตามธรรมชาติ
2) นา้ กลัน่ หรือนา้ กรองสาหรับดืม่ โดยไม่ ปรุงแต่ ง
3) เครื่องดืม่ ซึ่งผู้ผลิตได้ ผลิตขึน้ เพือ่ ขายปลีกเองโดยเฉพาะ อันมิได้ มีก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ อยู่
ด้ วยทั้งมิได้ สงวนคุณภาพด้ วยเครื่องเคมี
4) นา้ นมจืด นา้ นมอืน่ ๆ ไม่ ว่าจะปรุงแต่ งหรือไม่ ทั้งนี้ ตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ ในกฎหมายว่ าด้ วย
อาหาร
5) เครื่องดืม่ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา
พิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
ตอนที่ 3 เครื่องไฟฟ้ า
ลักษณะสิ นค้ า
“เครื่องไฟฟ้า” หมายความว่ า ผลิตภัณฑ์ ซึ่งใช้ พลังงานไฟฟ้า และให้ รวมถึงสิ่ ง
ทีใ่ ช้ ประกอบกับไฟฟ้าหรือเกีย่ วกับไฟฟ้าด้ วย
พิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
ตอนที่ 4 แก้วและเครื่องแก้ว
ลักษณะสิ นค้ า
“แก้ วและเครื่องแก้ ว” หมายความว่ า สิ่ งของและเครื่องใช้ ทที่ าด้ วยแก้ ว
พิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
ตอนที่ 5 รถยนต์
ลักษณะสิ นค้ า
“รถยนต์ ” หมายความว่ า รถที่มีล้อตั้งแต่ สามล้ อและเดินด้ วยกาลังเครื่องยนต์ กาลังไฟฟ้ า หรือ
พลังงานอื่นแต่ ไม่ รวมถึงรถที่เดินบนราง รถจักรยานยนต์ มีพ่วงข้ างไม่ เกินหนึ่งล้ อ และรถยนต์ ตามที่
รัฐมนตรีประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา
“รถยนต์ นั่ง” หมายความว่ า รถเก๋ งหรือรถยนต์ ที่ออกแบบสาหรับเพือ่ ใช้ สาหรับนั่งเป็ นปกติวสิ ั ย
และให้ หมายความรวมถึงรถยนต์ ในลักษณะทานองเดียวกันในลักษณะถาวร ด้ านข้ างและหรือด้ านหลัง
คนขับมีประตูหรือหน้ าต่ างและมีที่นั่ง ทั้งนีไ้ ม่ ว่าจะมีที่นั่งเท่ าใด
“รถยนต์ โดยสาร” หมายความว่ า รถตู้หรือรถยนต์ ที่ออกแบบเพือ่ ใช้ ขนส่ งคนโดยสารจานวนมาก
รวมทั้งรถยนต์ ในลักษณะทานองเดียวกัน
“รถยนต์ กระบะ” หมายความว่ า รถยนต์ ที่มีที่นั่งด้ านหน้ าตอนเดียวสาหรับคนขับและตอนหลังเป็ น
กระบะบรรทุกซึ่งเปิ ดโล่ งจนถึงท้ ายรถไม่ มีหลังคา
พิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
ตอนที่ 6 เรือ
ลักษณะสิ นค้ า
“เรือ” หมายความว่ า ยานพาหนะทางนา้ ทุกชนิด
พิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
ตอนที่ 7 ผลิตภัณฑ์ เครื่องหอมและเครื่องสาอาง
ลักษณะสิ นค้ า
“ผลิตภัณฑ์ เครื่องหอม” หมายความว่ า น้าหอม หัวน้าหอม และสิ่ งที่ทาให้ มีกลิน่ หอมต่ าง ๆ แต่
ไม่ รวมถึง
(1) หัวน้าหอมที่ใช้ ได้ เฉพาะในการผลิตสิ นค้ า และ
(2) สิ นค้ าตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา
“เครื่องสาอาง” หมายความว่ า ผลิตภัณฑ์ สิ่งปรุงแต่ ง เพือ่ ใช้ บนผิวหนังหรือส่ วนใดส่ วนหนึ่ง
ของร่ างกายมนุษย์ สาหรับทาความสะอาด ป้ องกัน แต่ งเสริมให้ เกิดความงามหรือเปลีย่ นแปลง
รู ปลักษณะโดยถู ทา พ่ นหรือโรย เป็ นต้ น แต่ ไม่ รวมถึง
(1) เภสั ชผลิตภัณฑ์ และ
(2) สิ นค้ าตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา
พิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
ตอนที่ 8 สิ นค้ าอืน่ ๆ
สิ นค้ าอืน่ ๆ นอกจากตอนที่ ๑ ถึงตอนที่ ๗ ตามทีก่ าหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
(1)4 พรมและสิ่ งทอปูพนื้ อืน่ ๆ
(2)5 รถจักรยานยนต์
(3)6 หินอ่ อน และหินแกรนิต
(4)7 แบตเตอรี่
(5)8 สารทาลายชั้นบรรยากาศโอโซนประเภทอนุพนั ธ์ ฮาโลเจเนเต็ดของ
ไฮโดรคาร์ บอน
พิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
ตอนที่ 9 กิจการบันเทิงหรือหย่ อนใจ
ลักษณะบริการ
“กิจการบันเทิงหรือหย่ อนใจ” หมายความว่ า การประกอบกิจการในด้ านบันเทิง
หรือหย่ อนใจต่ าง ๆ ในสถานบริการเพือ่ หารายได้ เป็ นธุรกิจ เช่ น สถานมหรสพ
สถานที่ฉายภาพยนตร์ ไนต์ คลับ คาบาเรต์ ดิสโกเธค เป็ นต้ น
พิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
ตอนที่ 10 กิจการเสี่ ยงโชค
ลักษณะบริการ
“กิจการเสี่ ยงโชค” หมายความว่ า การประกอบกิจการในด้ านการจัดให้ มีการ
เสี่ ยงโชคโดยวิธีการใด ๆ เพือ่ ให้ ได้ รับเงินรางวัล หรือประโยชน์ อย่ างอืน่ เช่ น
สนามแข่ งม้ า การออกสลากกินแบ่ ง เป็ นต้ น
พิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
ตอนที่ 11 กิจการที่มีผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้อม
ลักษณะบริการ
“กิจการทีม่ ีผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้ อม” หมายความว่ า การประกอบกิจการทีม่ ี
ผลกระทบต่ อดุลยภาพของสิ่ งแวดล้ อมเพือ่ หารายได้ เป็ นธุรกิจ เช่ น สนาม
กอล์ ฟ เป็ นต้ น
พิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
ตอนที่ 12 กิจการที่ได้ รับอนุญาตหรือสั มปทานจากรัฐ
ลักษณะบริการ
“กิจการทีไ่ ด้ รับอนุญาตหรือสั มปทานจากรัฐ” หมายความว่ า การ
ประกอบกิจการใด ๆ ในลักษณะทีเ่ ป็ นการให้ บริการแก่ ประชาชนทั่วไป
โดยได้ รับอนุญาตหรือสั มปทานจากรัฐให้ ดาเนินกิจการได้
พิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
ตอนที่ 13 บริการอืน่ ๆ
บริการอืน่ ๆ นอกจากตอนที่ 9 ถึงตอนที่ 12 ตามทีก่ าหนดโดย
พระราชกฤษฎีกา
พระราชบัญญัตสิ ุ รา พ.ศ.2493
1. นิยามศัพท์ ต่าง ๆ
2. การควบคุม
2.1 การทา 2.2 การนาเข้ า
2.4 การขน 2.5 การขาย
3. ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีสุรา
4. การเสี ยภาษีสุรา
5. ฐานภาษีสุรา
6. อัตราภาษีสุรา
7. สิ ทธิของผู้เสี ยภาษีสุรา
2.3 การใช้ สุราทาสิ นค้ า
1. นิยามศัพท์ ต่าง ๆ
- นิยาม กาหนดไว้ ในมาตรา 4
“สุ รา”
หมายความรวมถึง วัตถุท้งั หลายหรือของผสมทีม่ ี
แอลกอฮอล์ ซึ่งสามารถดืม่ กินได้ เช่ นเดียวกับนา้ สุ รา
หรือซึ่งดืม่ กินไม่ ได้ แต่ เมื่อได้ ผสมกับนา้ หรือของเหลว
อย่ างอืน่ แล้ วสามารถดืม่ กินได้ เช่ นเดียวกับสุ รา
1. นิยามศัพท์ ต่าง ๆ
“สุ ราแช่ ”
หมายความว่ า สุ ราทีไ่ ม่ ได้ กลัน่ และให้
หมายความรวมถึงสุ ราแช่ ทไี่ ด้ ผสมกับสุ รากลัน่
แล้ ว แต่ มีแรงแอลกอฮอล์ ไม่ เกิน 15 ดีกรีด้วย
“สุ รากลัน่ ”
หมายความว่ า สุ ราทีไ่ ด้ กลัน่ แล้ วและให้
หมายความรวมถึงสุ รากลัน่ ทีไ่ ด้ ผสมกับสุ รา
แช่ แล้ ว แต่ มีแรงแอลกอฮอล์ เกินกว่ า 15 ดีกรีด้วย
ชนิดสุ รากลัน่ มี 5 ชนิด
1. สุ ราสามทับ
2. สุ ราขาว
คือ สุ รากลัน่ ทีม่ ีแรงแอลกอฮอล์ ต้งั แต่ 80 ดีกรีขนึ้ ไป
คือ สุ รากลัน่ ทีป่ ราศจากเครื่องย้ อมหรือสิ่ งผสมปรุ งแต่ งมีแรง
แอลกอฮอล์ ต่ากว่ า 80 ดีกรี
3. สุ ราผสม
คือ สุ รากลัน่ ทีใ่ ช้ สุราขาวหรือสุ ราสามทับมาปรุงแต่ งมีแรง
แอลกอฮอล์ ต่ากว่ า 80 ดีกรี
4. สุ ราปรุงพิเศษ คือ สุ รากลัน่ ทีใ่ ช้ สุราสามทับมาปรุงแต่ งมีแรงแอลกอฮอล์ ต่าว่ า
80 ดีกรี
5. สุ ราพิเศษ
คือ สุ รากลัน่ ทีท่ าขึน้ โดยใช้ กรรมวิธีพเิ ศษมีแรงแอลกอฮอล์ต่า
กว่ า 80 ดีกรี แบ่ งเป็ น 2 ประเภท
(ก) ประเภทวิสกี้ บรั่นดี รัม ยิน หรือสุ ราแบบต่ างประเทศอย่ างอืน่
(ข) ประเภทเกาเหลียง เซี่ยงชุ น บุ้นกุ่ยโล่ ว หรือสุ ราแบบจีนอย่ างอืน่
2. การควบคุม
2.1
2.2
2.3
2.4
2.5
การทา
การนาเข้ า
การใช้ สุราทาสิ นค้ า
การขน
การขาย
2.1 การทาสุ รา
หลัก : อธิบดีกรมสรรพสามิตมีอานาจออกใบอนุญาตให้ ทาสุ รา หรือ
มีภาชนะหรือเครื่องกลัน่ สาหรับทาสุ ราไว้ ในครอบครอง
(มาตรา 5)
นอกจากนีอ้ ธิบดียงั มีอานาจกาหนดวิธีการและเงื่อนไขว่ าด้ วยกรรมวิธี
เกีย่ วกับการทาสุ รา การใช้ วตั ถุดิบ ระยะเวลาและวิธีการเก็บสุ รา ชนิดของ
สุ รา แรงแอลกอฮอล์ จานวนสุ ราทีท่ าและขายในท้ องทีก่ าหนด (มาตรา 5
ทวิ)
2.2 การนาเข้ า
หลัก :
เว้ นแต่ :
การนาสุ ราเข้ ามาในราชอาณาจักร
จะต้ องได้ รับอนุญาต (มาตรา 6)
อธิบดีกรมสรรพสามิตผ่ อนผัน ให้ มีการ
นาสุ ราเข้ ามาในราชอาณาจักรเพือ่ เป็ น
ตัวอย่ างหรือมิใช่ การค้ าได้ ตามจานวน
และ ทางด่ านศุลกากรที่ประกาศกาหนด
โดยไม่ ต้องขอใบอนุญาต (มาตรา 6 วรรค 2)
2.3 การใช้ สุราทาสิ นค้ า
หลัก :
การใช้ สุราทาสิ นค้ าจะต้ องได้ รับอนุญาต สิ นค้ าที่
จะทานั้นต้ องเป็ นสิ นค้ าทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
และจะต้ องเป็ นการทาเพือ่ การค้ าเท่ านั้น
2.4 การขนสุ รา
หลัก : การขนสุ ราจะต้ องได้ รับอนุญาต แยกเป็ น
1. ขนสุ ราทีย่ งั ไม่ เสี ยภาษีออกจากโรงงานสุ รา (มาตรา 13)
อานาจอธิบดี
2. ขนสุ ราตั้งแต่ สิบลิตรขึน้ ไป (มาตรา 14)
อานาจเจ้ าพนักงาน
3. ขนสุ ราทีท่ าในราชอาณาจักรเกินกว่ าหนึ่งลิตรแต่ ไม่ ถึงสิ บลิตร
เข้ าในหรือออกนอกเขตท้ องทีท่ ี่กาหนดในกฎกระทรวง
(มาตรา 15) อานาจเจ้ าพนักงาน
2.5 การขายสุ รา
หลัก :
การขายสุ ราจะต้ องได้ รับใบอนุญาตจากเจ้ าพนักงาน
สรรพสามิต (มาตรา 17)
ข้ อยกเว้น :
(1) การขายสุ ราทั้งหมดในคราวเดียวภายใต้ ความควบคุมของ
เจ้ าพนักงานสรรพสามิต ในกรณีทผี่ ู้ได้ รับใบอนุญาตตาย
หรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต
(2) การขายในการบังคับคดี
(3) การขายโดยคาสั่ งของอธิบดีกรมศุลกากร ตามกฎหมายว่ า
ด้ วยศุลกากร (มาตรา 18)
2.5 การขายสุ รา
ใบอนุญาตขายสุ รามี 7 ประเภท คือ (มาตรา 19)
ประเภทที่ 1
ประเภทที่ 2
ประเภทที่ 3
ประเภทที่ 4
สาหรับการขายสุ ราทุกชนิด ครั้งหนึ่งเป็ นจานวนตั้งแต่ สิบลิตร
ขึน้ ไป
สาหรับการขายสุ ราที่ทาในราชอาณาจักร ครั้งหนึ่งเป็ นจานวน
ตั้งแต่ สิบลิตรขึน้ ไป
สาหรับการขายสุ ราทุกชนิด ครั้งหนึ่งเป็ นจานวนต่ากว่ าสิ บลิตร
สาหรับการขายสุ ราที่ทาในราชอาณาจักร ครั้งหนึ่งเป็ นจานวน
ต่ากว่ าสิ บลิตร
2.5 การขายสุ รา
ประเภทที่ 5
ประเภทที่ 6
ประเภทที่ 7
สาหรับการขายสุ ราทุกชนิด ครั้งหนึ่งเป็ นจานวนต่ากว่ าสิ บลิตร
เพือ่ ดืม่ ณ สถานที่ขายเป็ นการชั่วคราวไม่ เกินสิ บวัน
สาหรับการขายสุ ราที่ทาในราชอาณาจักร ครั้งหนึ่งเป็ นจานวนต่า
กว่ าสิ บลิตร เพือ่ ดื่ม ณ สถานที่ขายเป็ นการชั่วคราวไม่ เกินสิ บวัน
สาหรับการขายสุ ราครั้งหนึ่งเป็ นจานวนต่ากว่ าสิ บลิตร เพือ่ ดืม่
ภายในสมาคมหรือสโมสร
3. ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษีสุรา
ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษีสุราทีส่ าคัญมี 2 บุคคล คือ
1. ผู้ได้ รับอนุญาตทาสุ รา (มาตรา 7)
2. ผู้นาสุ ราเข้ ามาในราชอาณาจักร (มาตรา 8)
4. การเสี ยภาษีสุรา
4.1 สุ ราผลิตในราชอาณาจักร (มาตรา 7)
หลัก : ต้ องเสี ยภาษีโดยปิ ดแสตมป์ สุ ราหรือวิธีอนื่ ก่อนขนออก
จากโรงงานสุ รา
เว้ นแต่ : มีกฎกระทรวงกาหนดวิธีการเสี ยภาษีโดยวิธีอนื่
4. การเสี ยภาษีสุรา
4.2 สุ รานาเข้ า
หลัก :
ข้ อยกเว้ น :
เสี ยภาษีโดยปิ ดแสตมป์ สุ ราก่อนขนผ่ านด่ านศุลกากร
(มาตรา 8)
ผู้นาสุ ราปริมาณไม่ เกินหนึ่งลิตรเข้ ามาใน
ราชอาณาจักรและได้ เปิ ดภาชนะบรรจุแล้ว
ไม่ ต้องเสี ยภาษีสุรา (มาตรา 8)
5. ฐานภาษีสุรา (มาตรา 8 จัตวา)
1. กรณีสุราทีท่ าในราชอาณาจักร ให้ ถือตามราคาขาย ณ โรงงานสุ รา บวกภาษี
สุ ราและภาษีเพือ่ มหาดไทย
2. กรณีสุราทีน่ าเข้ ามาในราชอาณาจักร ให้ ถือราคา C.I.F. ของสุ รา + อากรขา
เข้ า + ค่ าธรรมเนียมส่ งเสริมการลงทุน + ภาษีอนื่ บวกภาษีสุราและภาษีเพือ่
มหาดไทย
6. อัตราภาษีสุรา
อัตราภาษีสุรา และอัตราค่ าธรรมเนียมต่ าง ๆ
มีเพดานอยู่ทบี่ ญ
ั ชีท้ายพระราชบัญญัตสิ ุ รา เช่ น
- สุ ราแช่
ร้ อยละ 60 ตามมูลค่ า หรือ 100 บาท ต่ อหนึ่งลิตร
แห่ งแอลกอฮอล์ บริสุทธิ์
- สุ รากลัน่
ร้ อยละ 50 ตามมูลค่ า หรือ 400 บาท ต่ อหนึ่งลิตร
แห่ งแอลกอฮอล์ บริสุทธิ์
- ค่ าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ ทาสุ รา ปี ละ 5,000 บาท
- ค่ าธรรมเนียมใบอนุญาตขายสุ รา (ป.1) ปี ละ 10,000 บาท
(ภาษีสุรา และค่ าธรรมเนียมต่ างๆ สามารถกาหนดได้ ตามกฎกระทรวง)
7. สิ ทธิของผู้เสี ยภาษีสุรา
7.1 ยกเว้ นภาษีหรือคืนภาษีสุราส่ งออก (มาตรา 7 , 10)
7.2 คืนภาษีสุราแปรสภาพ (มาตรา 11)
7.3 ยกเว้ นภาษีสุราของผู้ได้ รับเอกสิ ทธิ์ต่าง ๆ (มาตรา 47 (3) (ก))
7.4 ยกเว้ นภาษีและลดหย่ อนภาษีสุราที่นาไปใช้ เป็ นวัตถุดบิ
ในการผลิตสุ รา
พระราชบัญญัตยิ าสู บ 2509
1. ยาสู บ คืออะไร
2. การควบคุม
2.1 การเพาะปลูก
2.2 การบ่ มใบยา 2.3 การอบใบยา
2.4 การหั่นใบยา
2.5 การประกอบอุตสาหกรรมยาสู บ
2.6 การนาเข้ าหรือส่ งออก 2.7 การขายยาสู บ
3. ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยค่ าแสตมป์ ยาสู บ
4. การเสี ยค่ าแสตมป์ ยาสู บ
5. ฐานภาษีทใี่ ช้ ในการคานวณค่ าแสตมป์ ยาสู บ
6. อัตราค่ าแสตมป์ ยาสู บ
1. ยาสู บ คืออะไร
- นิยาม กาหนดไว้ ในมาตรา 4
“ยาเส้ น”
“ยาสู บ”
หมายความว่ า ใบยาหรือยาอัด (ต้ นยา) ซึ่งได้ หั่นเป็ นเส้ น
และแห้ งแล้ ว
หมายความว่ า บุหรี่ซิกาแรต (มวนด้ วยกระดาษ เช่ น สายฝน,
กรองทิพย์ , มาร์ ลโบโร่ ) บุหรี่ซิการ์ (มวนด้ วยใบยาแห้ งหรือ
ใบยาอัด) บุหรี่อนื่ (ยาเส้ นมวนด้ วยใบตอง กลีบบัว ใบจาก
ฯลฯ) ยาเส้ นปรุง และยาเคีย้ ว
2. การควบคุม
- การเพาะปลูกยาสู บ
- การบ่ มใบยาสู บ
- การอบใบยาสู บ
- การหั่นใบยาสู บ
- การประกอบอุตสาหกรรมยาสู บ
(ยกเว้ นใบยาพันธุ์ยาสู บพืน้ เมือง)
- การนาเข้ าหรือส่ งออก
- การขายยาสู บ
ต้ องขออนุญาตกรมสรรพสามิต
ยกเว้ น : ผลิตบุหรี่ซิกาแรต เป็ นการผูกขาดของรัฐ (มาตรา 16)
- ประเภทใบอนุญาตการขายยาสู บ
- ใบอนุญาตขายยาเส้ น
ประเภท 1
ประเภท 2
ประเภท 3
ขายโดยไม่ จากัดจานวน
ขายครั้งละไม่ เกินนา้ หนัก 2 กิโลกรัม
ผู้เพาะปลูกต้ นยาสู บขายยาเส้ นทีท่ าจากใบยาทีป่ ลูกเอง
- ประเภทใบอนุญาตการขายยาสู บ
- ใบอนุญาตขายยาสู บ
ประเภท 1
ประเภท 2
ประเภท 3
ขายโดยไม่ จากัดจานวน
ขายครั้งละไม่ เกิน 20,000 มวน ถ้ าเป็ นยาเส้ นปรุงหรือยา
เคีย้ วครั้งละไม่ เกินสิ บกิโลกรัม
ขายครั้งละไม่ เกิน 1,000 มวน ถ้ าเป็ นยาเส้ นหรือยาเคีย้ วครั้ง
ละไม่ เกิน 200 กรัม
3. ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยค่ าแสตมป์ ยาสู บ
1. ผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสู บ
2. ผู้นายาสู บเข้ ามาในราชอาณาจักร
4. การเสี ยค่ าแสตมป์ ยาสู บ
ปิ ดแสตมป์ ยาสู บก่ อนนาออกจาก
โรงอุตสาหกรรมยาสู บ หรือทีด่ ่ านศุลกากร
4. การเสี ยค่ าแสตมป์ ยาสู บ
ในกรณียาเส้ นหรือยาสู บที่นาเข้ ามาในราชอาณาจักร
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังประกาศให้ กรมศุลกากร
เรียกเก็บค่ าแสตมป์ ยาสู บเพือ่ กรมสรรพสามิต (มาตรา 5
เบญจ)
ข้ อยกเว้ นทีไ่ ม่ ต้องเสี ยค่ าแสตมป์ ยาสู บ
1. ผ่ อนผันให้ ผู้เดินทางนายาสู บติดตัวเข้ ามาในราชอาณาจักรได้ โดยไม่ ต้อง
ขออนุญาตจากเจ้ าพนักงาน และไม่ ต้องปิ ดแสตมป์ ยาสู บ ดังนี้
1) บุหรี่ซิกาแรต ไม่ เกิน 200 มวน
2) ยาสู บอืน่ ไม่ เกิน 500 กรัม
3) ยาสู บทีม่ ีบุหรี่ซิกาแรตด้ วย (บุหรี่ซิกาแรตไม่ เกิน 200 มวน และ
นา้ หนักรวมไม่ เกิน 500 กรัม)
(มาตรา 28 + ประกาศกรมฯ)
ข้ อยกเว้ นทีไ่ ม่ ต้องเสี ยค่ าแสตมป์ ยาสู บ
1. ผ่ อนผันให้ ผู้เดินทางนายาสู บติดตัวเข้ ามาในราชอาณาจักร
ได้ โดยไม่ ต้องขออนุญาตจากเจ้ าพนักงานแต่ ต้องปิ ดแสตมป์ ยาสู บ ดังนี้
1. บุหรี่ซิกาแรต ไม่ เกิน 1000 มวน
2. นาเข้ าทางด่ านศุลกากรท่ าอากาศยานสุ วรรณภูมิ
(มาตรา 28 + ประกาศกรมฯ)
ข้ อยกเว้ นทีไ่ ม่ ต้องเสี ยค่ าแสตมป์ ยาสู บ
2. ยาเส้ นหรือยาสู บทีไ่ ด้ รับอนุญาตให้ ส่งออกไปขายนอกราชอาณาจักร ไม่ต้องปิ ด
แสตมป์ ยาสู บ แต่ ต้องปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวง (ฉบับที่ 2)
(มาตรา 18 วรรค 2)
5. ฐานภาษีทใี่ ช้ ในการคานวณค่ าแสตมป์ ยาสู บ
1. ยาเส้ นทาในประเทศ
- ราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม + ค่ าแสตมป์ ยาสู บ
2. ยาสู บทาในประเทศ
- ราคายาสู บทีอ่ ธิบดีประกาศกาหนด + ค่ าแสตมป์ ยาสู บ
3. ยาเส้ นหรือยาสู บนาเข้ า
- ราคา CIF + อากรขาเข้ า + ค่ าแสตมป์ ยาสู บ
6. อัตราค่ าแสตมป์ ยาสู บ
อัตราค่ าแสตมป์ ยาสู บ (ภาษียาสู บ) และอัตราค่ าธรรมเนียมต่ าง ๆ ตามเพดานใน
บัญชีท้ายพระราชบัญญัตยิ าสู บฯ
- ค่ าแสตมป์ ยาเส้ นและยาสู บ
ร้ อยละ 90 ตามมูลค่ า หรือ
3 บาท ต่ อปริมาณหนึ่งกรัม
หรือเศษของหนึ่งกรัม
- ค่ าธรรมเนียมใบอนุญาต
ประกอบอุตสาหกรรมบุหรี่ซิกาแรต ฉบับละ 10,000 บาท
- ค่ าธรรมเนียมขายยาเส้ น
(ไม่ จากัดจานวน)
ฉบับละ 100 บาท
- ค่ าธรรมเนียมขายยาสู บ
(ไม่ จากัดจานวน)
ฉบับละ 1,000 บาท ฯลฯ
พระราชบัญญัตไิ พ่ พุทธศักราช 2486
1. ไพ่ คืออะไร
2. การควบคุม
2.1 การทาและนาเข้ าไพ่ (มาตรา 5 - 6 )
2.2 การขายและการครอบครองไพ่
(มาตรา 7 - 9 )
2.3 การครอบคอรงแม่ พมิ พ์ไพ่ (มาตรา 11)
3. ค่ าธรรมเนียมประทับตราไพ่
1. ไพ่ คืออะไร
“ไพ่ ” หมายความว่ า ไพ่ซึ่งทาด้ วยกระดาษหรือหนัง หรือพลาสติก
วัตถุจาพวกพลาสติก หรือวัตถุเทียมหนัง
ตามพจนานุกรม หมายถึง เครื่องเล่ นการพนัน ซึ่งมีลกั ษณะ
เป็ นแผ่ นบาง ๆ
ไพ่ที่กรมสรรพสามิตทาขึน้ มี 4 ชนิด คือ
1. ไพ่ผ่องไทย
(120 ใบ)
2. ไพ่ผ่องจีน
3. ไพ่จีนสี่ สี
4. ไพ่ป๊อก
(116 ใบ)
(112 ใบ)
(54 ใบ รวมโจ๊ ก)
2. การควบคุม
- การทาไพ่
- การนาไพ่เข้ ามาในราชอาณาจักร
- การขายไพ่เป็ นการค้ า
- การครอบครองแม่ พมิ พ์ไพ่
ต้ องขออนุญาตกรมสรรพสามิต
2. การควบคุม
ห้ ามครอบครองไพ่เกินกว่ าหนึ่งร้ อยยีส่ ิ บใบหรื อห้ าม
ขายไพ่ (แม้ แต่ ใบเดียว) เว้ นแต่ เป็ นไพ่ทกี่ รมสรรพสามิตทาขึน้
หรือมีตรากรมสรรพสามิตประทับอยู่
3. การเสี ยค่ าธรรมเนียมประทับตราไพ่
การประทับตราไพ่ ตามอัตราที่กาหนดในกฎกระทรวง (มาตรา 10)
กฎกระทรวง ฉบับที่ 7
- ไพ่ป๊อก
- ไพ่อนื่
100 ใบ ต่ อ 30 บาท
100 ใบ ต่ อ 2 บาท
จบคาบรรยาย