กำไรสุทธิตามแบบ ภ.ง.ด.50

Download Report

Transcript กำไรสุทธิตามแบบ ภ.ง.ด.50

ผลกระทบของนักบัญชีในการ
เข้าสู่ ประชาคมอาเซียน
อัควิทย์ เจริญพานิช
18/08/2555
Revenue Department
อัตราภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีปี 2555 ถึง 2557
Revenue Department
การลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล พระราชกฤษฎีกา
(ฉบับที่ 530)
ในพระราชกฤษฎีกานี้
“ขาย” หมายความว่า จาหน่าย จ่าย หรื อโอนสิ นค้า โดยมีหรื อไม่
มีประโยชน์หรื อค่าตอบแทน และให้หมายความรวมถึงสัญญาให้เช่า
ซื้ อสิ นค้า สัญญาซื้ อขายผ่อนชาระที่กรรมสิ ทธิ์ ในสินค้ายังไม่โอนไป
ยังผูซ้ ้ือเมื่อมีการส่ งมอบสิ นค้าให้แก่ผซู้ ้ือแล้ว และการส่ งสิ นค้าออก
นอกราชอาณาจักร
“สิ นค้า” หมายความว่า ทรัพย์สินที่มีรูปร่ างและไม่มีรูปร่ างที่อาจ
มีราคาและถือเอาได้ ที่มีไว้เพื่อขายเท่านั้น
“บริ การ” หมายความว่า การกระทาใด ๆ อันอาจหาประโยชน์
อันมีมูลค่าซึ่ งมิใช่เป็ นการขายสิ นค้า
Revenue Department
การลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล พระราชกฤษฎีกา
(ฉบับที่ 530)
1. ให้ ลดอัตราภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล สาหรับบริษทั หรือห้ าง
หุ้นส่ วนนิตบิ ุคคล และคงจัดเก็บในอัตราดังต่ อไปนี้ เป็ นเวลา
สามรอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่องกัน
(1) ร้ อยละ 23 ของกาไรสุ ทธิ สาหรับหนึ่งรอบระยะเวลา
บัญชีทเี่ ริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2555
(2) ร้ อยละ 20 ของกาไรสุ ทธิ สาหรับสองรอบระยะเวลา
บัญชีถัดมาทีเ่ ริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556
4 Department
Revenue
การลดอัตราภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล พระราชกฤษฎีกา
(ฉบับที่ 530)
2.ให้ ยกเว้ นภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล และลดอัตราภาษีเงินได้ นิติ
บุคคลและคงจัดเก็บในอัตราดังต่ อไปนี้ ทั้งนี้ เฉพาะบริษัทหรือ
ห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลซึ่งมีทุนชาระแล้ วในวันสุ ดท้ ายของรอบ
ระยะเวลาบัญชีไม่ เกินห้ าล้ านบาทและมีรายได้ จากการขายสิ นค้ า
และการให้ บริการในรอบระยะเวลาบัญชีไม่ เกิน 30 ล้ านบาท
(1) ให้ ยกเว้ นภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล สาหรับกาไรสุ ทธิเฉพาะ
ส่ วนที่ไม่ เกินหนึ่งแสนห้ าหมืน่ บาทแรก สาหรับรอบระยะเวลา
บัญชีทเี่ ริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2555
5 Department
Revenue
การลดอัตราภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล พระราชกฤษฎีกา
(ฉบับที่ 530)
(2) กาไรสุ ทธิส่วนทีเ่ กิน 150,000 บาท แต่ ไม่ เกิน 1,000,000 บาท ให้
คงจัดเก็บในอัตราร้ อยละ 15
(3) กาไรสุ ทธิเฉพาะส่ วนทีเ่ กิน 1,000,000 บาทให้ คงจัดเก็บในอัตรา
ดังต่ อไปนี้
(ก) ร้ อยละ 23 สาหรับหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชีทเี่ ริ่มในหรือหลัง
วันที่ 1 มกราคม 2555
(ข) ร้ อยละ 20 สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีทถี่ ัดมาทีเ่ ริ่มในหรือ
หลังวันที่ 1 มกราคม 2556 เป็ นต้ นไป
6 Department
Revenue
การลดอัตราภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล พระราชกฤษฎีกา
(ฉบับที่ 530)
การได้ รับยกเว้ นภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลและได้ รับการลด
อัตราภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลของบริษทั ฯ ตาม 2 จะต้ องไม่ มี
ทุนทีช่ าระแล้ วในวันสุ ดท้ ายของรอบระยะเวลาบัญชีใด
เกินห้ าล้ านบาทและต้ องไม่ มรี ายได้ จากการขายสิ นค้าและ
การให้ บริการในรอบระยะเวลาบัญชีใดเกินสามสิ บล้ าน
บาท ทั้งนี้ ตั้งแต่ รอบระยะเวลาบัญชีทเี่ ริ่มในหรือหลัง
วันที่ 1 มกราคม 2555 เป็ นต้ นไป
7 Department
Revenue
การเสี ยภาษีจากกึง่ หนึ่งของประมาณการ
กาไรสุ ทธิในรอบระยะเวลาบัญชี
Revenue Department
กาไรสุ ทธิ
กาไรสุ ทธิ = รายได้จากกิจการหรื อเนื่องจากกิจการ
ที่กระทาในรอบ บ/ช หักด้วย รายจ่ายตามเงื่อนไข
ตามกรมสรรพากรกาหนด (มาตรา 65 ทวิ , 65 ตรี )
Revenue Department
ผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกาไรสุ ทธิ
1. บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลที่ต้ งั ขึ้นตามกฎหมายไทย
2. บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลที่ต้ งั ขึ้นตามกฎหมายของ
ต่างประเทศ
2.1 ประกอบกิจการทัว่ ไปที่มิใช่กิจการเฉพาะขนส่ ง
ระหว่างประเทศ
2.2 มีลูกจ้างหรื อผูท้ าการแทน หรื อผูท้ าการติดต่อในประเทศ
ไทย ซึ่ งเป็ นเหตุให้ได้รับเงินได้หรื อผลกาไรในประเทศไทย
Revenue Department
ผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกาไรสุ ทธิ
3. กิจการที่ดาเนินการเป็ นทางค้าหรื อหากาไรโดยรัฐบาล
ต่างประเทศ องค์การของรัฐบาลต่างประเทศ หรื อนิติบุคคล
อื่นที่ต้ งั ขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ
4. กิจการร่ วมค้า
Revenue Department
รอบระยะเวลาบัญชีนอ้ ยกว่า 12 เดือน
รอบระยะเวลาบัญชีอาจน้อยกว่า 12 เดือน ได้ ดังนี้
1. เริ่ มประกอบกิจการ , รอบ บ/ช แรก
2. เลิกกิจการ ,ควบเข้ากันหรื อ รอบ บ/ช สุ ดท้าย
3. ได้รับอนุมตั ิให้เปลี่ยนวันสุ ดท้ายของรอบ บ/ช
Revenue Department
การเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามมาตรา 67 ทวิ
(1) เสี ยจากกึ่งหนึ่ งของประมาณการกาไรสุ ทธิ
(2) เสี ยจากกาไรสุ ทธิจริ งของรอบระยะเวลา 6 เดือน
Revenue Department
การเสี ยภาษีจากกึง่ หนึ่งของประมาณการกาไรสุ ทธิ
ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลจากกึง่ หนึ่งของประมาณ
การกาไรสุ ทธิ ได้ แก่ บริษทั หรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลที่
ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียนตามกฎหมายว่ าด้ วยตลาด
หลักทรัพย์ ธนาคารพาณิชย์ บริษทั เงินทุน บริษทั
หลักทรัพย์ หรือบริษทั เครดิตฟองซิเอร์ และบริษทั หรือ
ห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคล ตามหลักเกณฑ์ ฯ ทีอ่ ธิบดีกาหนด
(ประกาศอธิบดีฯ ฉบับที่ 128)
Revenue Department
1. จัดทาประมาณการกาไรสุ ทธิหรือขาดทุนสุ ทธิใน
รอบระยะเวลาบัญชีจากกิจการหรือเนื่องจากกิจการ
ที่กระทาหรือจะได้ กระทาในรอบ บ/ช
2. ให้ นากึง่ หนึ่งของกาไรสุ ทธิตาม 1 มาคานวณตาม
อัตราภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
Revenue Department
3. การจัดทาประมาณการกาไรสุ ทธิ หรือขาดทุนสุทธิ
เพือ่ เสี ยภาษีงวดหกเดือน ต้ องคานึงถึงเงื่อนไขตาม
มาตรา 65 ทวิ มาตรา 65 ตรี
4. สามารถนาผลขาดทุนสุ ทธิยกมาไม่ เกิน 5 ปี ก่ อน
รอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบันมาถือเป็ นรายจ่ ายได้
Revenue Department
ประมาณการของกิจการ BOI
บริษัทฯ BOI ยังคงมีหน้ าทีจ่ ัดทาประมาณการกาไรหรือ
ขาดทุนสุ ทธิยนื่ ตามปกติ แต่ ไม่ ต้องชาระภาษี ระหว่ างที่
ได้ รับการส่ งเสริม
กรณีมกี จิ การส่ วนทีไ่ ม่ ได้ รับการส่ งเสริม รวมอยู่ด้วย ให้
จัดทาประมาณการกาไรสุ ทธิหรือขาดทุนสุ ทธิรวมกันโดย
ให้ นาประมาณการกาไรสุ ทธิในส่ วนของกิจการทีไ่ ด้ รับ
การส่ งเสริมไปหักออก แล้ วจึงคานวณภาษีตามประมาณ
การกาไรสุ ทธิเฉพาะกิจการทีไ่ ม่ ได้ รับRevenue
การส่ งเสริDepartment
ม
กรณี ที่ไม่ตอ้ งยืน่ แบบ ภ.ง.ด.51
1. บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลที่ไม่เสี ยภาษี
เงินได้นิติบุคคลจากกาไรสุ ทธิ
2. บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลที่มีรอบระยะเวลา
บัญชีรอบแรก หรื อระยะเวลาบัญชีสุดท้ายน้อย
กว่าสิ บสองเดือน
Revenue Department
กรณี ที่ไม่ตอ้ งยืน่ แบบ ภ.ง.ด.51
3. บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลที่มรี อบระยะเวลา
บัญชีที่ขอเปลี่ยนและได้รับอนุมตั ิให้เปลี่ยนแปลง
รอบระยะเวลาบัญชี ทาให้รอบระยะเวลาบัญชี
น้อยกว่า หรื อเท่ากับหกเดือน
Revenue Department
การประมาณการกาไรสุ ทธิรอบ/บัญชี
X
อัตราภาษี
2
Revenue Department
ตัวอย่างการประมาณการกาไรสุ ทธิ
ผลประกอบการจริง
(1 ม.ค.-31 ก.ค.)
ประมาณการ
ประมาณการของ
รอบระยะเวลาบัญชี
(1 ส.ค.- 31 ธ.ค.)
(1 ม.ค.-31 ธ.ค.)
ประมาณการรายได้
รายได้โดยตรง
ดอกเบี้ยรับ
รายได้อื่น
รวมรายได้
37,000,000
15,400,000
52,400,000
80,000
920,000
38,000,000
80,000
520,000
16,000,000
160,000
1,440,000
54,000,000
ตัวอย่ างการประมาณการกาไรสุ ทธิ
ผลประกอบการจริง ประมาณการ ประมาณการของ
รอบระยะเวลาบัญชี
(1 ม.ค.-31 ก.ค.) (1 ส.ค.- 31 ธ.ค.) (1 ม.ค.-31 ธ.ค.)
ประมาณการรายจ่าย
ต้นทุนขาย
26,600,000
11,200,000
37,800,000
ค่าใช้จ่ายขายและบริ หาร
รวมรายจ่าย
หัก รายการปรับปรุ ง
ประมาณการรายจ่าย
5,320,000
31,920,000
220,000
31,700,000
2,240,000
13,440,000
140,000
13,300,000
7,560,000
45,360,000
360,000
45,000,000
ผลประกอบการจริง
1 ม.ค.55-31 ก.ค.55
ประมาณการ
1 ส.ค.55- 31 ธ.ค.55
ประมาณการของ
รอบระยะเวลาบัญชี
1 ม.ค.55-31 ธ.ค.55
ประมาณการรายได้
38,000,000
16,000,000
54,000,000
ประมาณการรายจ่าย
31,700,000
13,330,000
45,000,000
คงเหลือประมาณการ
6,300,000
2,700,000
9,000,000
ขาดทุนสุ ทธิยกมา
ประมาณการกาไรสุ ทธิ ที่นาไปกรอกในแบบ ภ.ง.ด. 51
4,000,000
5,000,000
54,000,000 45,000,000 9,000,000 4,000,000 5,000,000 2,500,000 -
Revenue Department
(51) 3010000000
บริ ษทั สรรพากรพัฒนา จากัด
อาคารกรมสรรพากร ห้องเลขที่ ชั้น เลขที่ 90 ถนน
พหลโยธิ น
แขวงสามเสนใน เขตพญาไท
กรุ งเทพฯ 10400 โทร. 0-2272-8287-8
01
31
01
12
2555
2555
ทะเบียนนิติบุคคลเลขที่
0 – 3 4 – 5 - 6 7 8 – 11111- 1
2,500,000 Revenue Department
575,000-
500,000 -
500,000 75,000 75,000 -
-
กรรมการ
กรรมการ
28
21
สิงหาคม
สิงหาคม
2555
2555
Revenue Department
ความรับผิดตามมาตรา 67 ตรี
กรณี เสี ยภาษีจากประมาณการกาไรสุ ทธิ
1. ไม่ยนื่ รายการและชาระภาษีภายใน 2 เดือน ต้องรับผิดเสี ยเงิน
เพิม่ ร้อยละ 20 ของกึ่งหนึ่งของภาษีที่ตอ้ งเสี ยเมือ่ สิ้ นรอบบัญชี
2. ยืน่ รายการ และชาระภาษีเมื่อพ้นกาหนดเวลา 2 เดือน ต้องรับ
ผิดเสี ยเงินเพิ่มร้อยละ 20 ของภาษีที่ตอ้ งเสี ยตามแบบ 51
3. ยืน่ รายการ และชาระภาษี แต่แสดงประมาณการกาไรสุ ทธิ ขาด
ไปเกินร้อยละ 25 ของกาไรสุ ทธิ โดยไม่มีเหตุอนั สมควร ต้อง
รับผิดเสี ยเงินเพิ่มร้อยละ 20 ของภาษีที่ชาระขาด
Revenue Department
การคานวณเงินเพิ่ม
= กาไรสุ ทธิตามแบบ ภ.ง.ด.50 - ประมาณการกาไรสุ ทธิ
2
X อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล X 20%
Revenue Department
ประมาณการขาดกรณี กิจการ BOI
การพิจารณาว่ า บริษัท BOI ประมาณการกาไรสุ ทธิ
ขาดไปเกินกว่ าร้ อยละ 25 หรือไม่ ให้ เปรียบเทียบ
ประมาณการกาไรสุ ทธิรวมของทั้งสองกิจการตาม
แบบ ภงด.51 กับกาไรสุ ทธิรวมของทั้งสองกิจการ
ตามแบบ ภงด.50 หากขาดไปเกินกว่ าร้ อยละ 25 จาก
กาไรสุ ทธิจริงโดยไม่ ทมีเหตุอนั สมควร บริษทั ฯ ต้ อง
เสี ยเงินเพิม่ ร้ อยละ 20 ของจานวนภาษีที่ชาระขาด
ตาม ม.67 ตรี
Revenue Department
ประมาณการขาดกรณี กิจการ BOI
โดยแยกพิจารณาดังนี้
1.กรณีประมาณการกาไรสุ ทธิของกิจการ BOI ขาดไปเกินกว่ าร้ อย
ละ 25 จากกาไรสุ ทธิจริงของกิจการทีไ่ ด้ รับยกเว้ นภาษี ไม่ ต้อง
เสี ยเงินเพิม่ กรณีนี้ เนื่องจากฐานภาษีทจี่ ะคิดเงินเพิม่ เป็ นฐาน
จากกรณียกเว้ น
2. กรณีประมาณการกาไรสุ ทธิของกิจการ NON BOI ขาดไปไม่ ว่า
จะขาดจากไปเกินกว่ าร้ อยละ 25 จากกาไรสุ ทธิจริงของกิจการที่
ต้ องเสี ยภาษีเงินได้ หรือไม่ กต็ าม บริษทั ฯ ต้ องรับผิดเสี ยเงินเพิม่
ร้ อยละ 20 ของจานวนภาษีที่ชาระขาด
Revenue Department
แนวทางการคานวณเงินเพิ่ม
การแสดงประมาณการกาไรสุ ทธิ ขาดไปเกินร้อยละ 25 ของ
กาไรสุ ทธิ ของรอบ/บัญชี ให้เปรี ยบเทียบกาไรสุ ทธิตาม
ภงด.50 ก่อนการตรวจสอบ หากปรากฏว่า ประมาณการ
กาไรสุ ทธิ ขาดไปเกินร้อยละ 25 ให้คานวณเงินเพิ่มตาม
ม.67 ตรี วรรค 1 จากภาษีที่ชาระขาด โดยไม่คานึงถึงภาษี
ที่ถูกหักไว้ ณ ที่จ่าย
(กค 0810/13103 ลงวันที่ 29 สิ งหาคม 2532)
Revenue Department
การลดเงินเพิ่มตามมาตรา 67 ตรี
เงินเพิ่มตาม ม. 67 ตรี อาจลดลงได้ตามคาสัง่ กรมสรรพากร ที่
ท.ป.81/2542 ข้อ 16
1.ชาระภายใน 2 วันนับแต่วนั พ้นกาหนดเวลายืน่ รายการ เสี ย
เงินเพิม่ ร้อยละ 0.10 ของภาษีที่ตอ้ งชาระ
2.ชาระภายหลัง 2 วันแต่ไม่เกิน 7 วันนับแต่วนั พ้นกาหนดเวลา
ยืน่ รายการ เสี ยเงินเพิม่ ร้อยละ 0.50 ของภาษีที่ตอ้ งชาระ
3. นอกจาก 1. และ 2. เสี ยเงินเพิม่ ร้อยละ 1.5 ต่อเดือนหรื อเศษ
ของเดือน แต่ไม่เกินเงินเพิม่ ตาม กม.ก
าหนด
Revenue Department
การพิจารณาเหตุอนั สมควร 1
คาสั่ งกรมสรรพากรที่ ป.50/2537 กาหนดว่ า “กรณีบริษัท
หรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคล ได้ จัดทาประมาณการกาไร
สุ ทธิและยืน่ แบบแสดงรายการเสี ยภาษีครึ่งปี ไว้ไม่ น้อย
กว่ ากึง่ หนึ่งของภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลทีไ่ ด้ยนื่ แบบแสดง
รายการเสี ยภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลในรอบระยะเวลาบัญชีที่
แล้ ว ให้ ถือว่ าเป็ นกรณีมเี หตุอนั สมควร”
Revenue Department
1. เหตุอนั สมควรตามคาสัง่ กรมสรรพากรที่ ป.50/2537
กรณี บริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิติบุคคลได้จดั ทาประมาณการและ
ยืน่ แบบแสดงรายการเสี ยภาษีครึ่ งปี ไว้ ไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่งของ
ภาษีที่ได้ยนื่ แบบแสดงรายการในรอบปี ที่แล้ว ถือว่ามีเหตุอนั
สมควรไม่ตอ้ งเสี ยเงินเพิม่ ตามมาตรา 67 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร
Revenue Department
การพิจารณาเหตุอนั สมควร 2
แนวทางปฏิบตั ิกรมสรรพากรที่ มก.9/2550 ดังนี้
1. กรณี บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคล ได้จดั ทาประมาณ
การกาไรสุ ทธิและยืน่ แบบฯ เสี ยภาษีครึ่ งปี ไว้ไม่นอ้ ย
กว่ากึ่งหนึ่งของภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ได้ยนื่ แบบ
ภงด.50 ในรอบระยะเวลาบัญชีที่แล้ว ถือว่ามีเหตุอนั
สมควร ตามมาตรา 67 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร
Revenue Department
2. กรณี บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลประมาณการกาไรสุ ทธิขาด
ไปเกินกว่าร้อยละ 25 ของกาไรสุ ทธิซ่ ึงได้จากการประกอบกิจการ
โดยมีเหตุการณ์ดงั ต่อไปนี้ ถือว่ามีเหตุอนั สมควร ตามมาตรา 67 ตรี
แห่งประมวลรัษฎากร
(1) กรณี บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลที่เริ่ มมีรายได้จากการ
ประกอบกิจการในรอบระยะเวลา 6 เดือนหลังของรอบระยะเวลา
บัญชีที่เริ่ มมีรายได้จากการประกอบกิจการ (รายได้จากการประกอบ
กิจการ ไม่รวมถึง การนาเงินไปหาประโยชน์โดยฝากธนาคาร
บริ ษทั เงินทุนหลักทรัพย์ หรื อซื้อพันธบัตรหรื อหลักทรัพย์ที่ได้รับ
มาก่อนไม่วา่ ในรอบระยะเวลาบัญชีน้ ีหรื อรอบระยะเวลาบั
ญชีก่อน)
Revenue Department
(2) กรณี บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคลยืน่ แบบฯ ภาษีเงินได้นิติ
บุคคลเพิ่มเติมตามคาแนะนาของเจ้าหน้าที่เพื่อปรับปรุ งรายได้
เพิ่มขึ้น ตามข้อเท็จจริ งของผลการตรวจสภาพกิจการ
(3) กรณี มีการขายทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบกิจการในรอบ
ระยะเวลาบัญชี 6 เดือนหลัง ของรอบระยะเวลาบัญชี และมีกาไร
จากการขายทรัพย์สินดังกล่าว
(4) อัตราดอกเบี้ยเงินกูต้ ่าลง ทาให้ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยลดต่าลงด้วย
Revenue Department
(5) การส่ งสิ นค้าออกมีความไม่แน่นอน ทั้งปริ มาณและราคา
สิ นค้า หรื อมีการยกเลิกการควบคุมราคาหรื อปริ มาณ
สิ นค้าส่ งออก
(6) การรับจ้างที่มีค่าจ้างไม่แน่นอน ขึ้นอยูก่ บั ผูว้ า่ จ้างและ
ความยากง่ายของงานที่ทา
(7) อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเปลี่ยนแปลงอย่าง
ผิดปกติ
Revenue Department
8. กรณี ปรับปรุ งเหตุอนั สมควร สาหรับบริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติ
บุคคลที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน ซึ่งประกอบกิจการทั้งที่
ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลและไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้
นิติบุคคลแล้ว ปรากฏว่าประมาณการกาไรสุ ทธิรวมของทั้งสอง
ประเภทกิจการขาดไปไม่เกินร้อยละ 25 ของกาไรสุ ทธิรวมซึ่ งได้
จากการประกอบกิจการ และประมาณการกาไรสุ ทธิ ของกิจการ
ที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลขาดไปไม่เกินร้อยละ 25
ของกาไรสุ ทธิ ของกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล
เช่นเดียวกัน ถือว่ามีเหตุอนั สมควร ตามมาตรา 67 ตรี แห่ง
ประมวลรัษฎากร
Revenue Department
ข้อสังเกต
1.กรณียนื่ แบบ ภงด.51 ภายในกาหนดเวลาแล้ ว ต่ อมาได้ ยนื่ แบบ ภงด.51
เพิม่ เติมภายในกาหนดเวลาอีก เพือ่ ปรับปรุงประมาณการกาไรสุ ทธิ
กรณีนีย้ งั ไม่ ต้องเสี ยเงินเพิม่ แต่ อย่ างใด และในการคานวณเงินเพิม่
ตามมาตรา 67 ตรี ให้ พจิ ารณาทั้งแบบ ภงด.51 และแบบ ภงด.51
เพิม่ เติม เปรียบเทียบกับแบบ ภงด.50
2. กรณียนื่ แบบ ภงด.51 ภายในกาหนดเวลาแล้ ว ต่ อมาได้ ยนื่ แบบ ภงด.51
เพิม่ เติมเกินกาหนดเวลาอีก เพือ่ ปรับปรุงประมาณการกาไรสุ ทธิ
การยืน่ แบบ ภงด.51 เพิม่ เติมดังกล่ าว ต้ องรับผิดเสี ยเงินเพิม่ ร้ อยละ
20 ของภาษีที่ต้องชาระ และในการคานวณเงินเพิม่ ตามมาตรา 67
ตรี ให้ พจิ ารณาทั้งแบบ ภงด.51 และแบบ ภงด.51 เพิม่ เติม
Revenue Department
3.กรณีบริษัทฯ ไม่ ยนื่ แบบ ภงด.51 เพือ่ ประมาณการกาไรสุ ทธิไว้
เลย เมือ่ บริษัทฯ ยืน่ แบบ ภงด.50 ถือว่ า บริษัทฯ ไม่ ยนื่ แบบ
ภงด.51 ต้ องรับผิดเสี ยเงินเพิม่ ร้ อยละ 20 ของกึง่ หนึ่งของ
จานวนเงินที่ต้องเสี ยในรอบ/บัญชี (เงินเพิม่ ลดลงได้ ตามคาสั่ งฯ
ท.ป.81/2542)
4.การคานวณเงินเพิม่ ตาม ม.67 ตรี เป็ นกรณี กม.บัญญัตไิ ว้
โดยเฉพาะ ดังนั้น ความรับผิดในการยืน่ แบบ ภงด.51 ต้ องนา
ม.67 ตรี มาใช้ บังคับเสมอ ไม่ อาจนา ม.27 มาใช้ บังคับ
Revenue Department
ตัวอย่าง 1
บริษทั ก จากัด ยืน่ แบบ ภ.ง.ด. 51 แสดงประมาณการกาไรสุ ทธิสาหรับ
รอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2554 มีกาไรสุ ทธิ
500,000.00 บาท และยืน่ แบบ ภ.ง.ด. 50 สาหรับรอบระยะเวลาบัญชี
ดังกล่ าวมีกาไรสุ ทธิ 69,000,000.00 บาท
วิธีการคานวณประมาณการกาไรสุ ทธิ
กาไรสุ ทธิตามแบบ ภ.ง.ด.50
ประมาณการกาไรสุ ทธิตามแบบ ภ.ง.ด.51
ประมาณการกาไรสุ ทธิขาดไป
คิดเป็ นร้อยละ
69,000,000.00
500,000.00
68,500,000.00
99.28
Revenue Department
บริ ษทั ฯ ยืน่ แบบ ภ.ง.ด. 51 แสดงประมาณการกาไรสุ ทธิขาดไปเกินกว่าร้อย
ละ 25 ของกาไรสุ ทธิของกิจการ ซึ่งบริ ษทั ฯได้มีหนังสื อชี้แจงเหตุผลที่
ประมาณการกาไรสุ ทธิขาดไปเกินกว่าร้อยละ 25 ว่า เกิดจากการที่บริ ษทั ฯ
ได้มีการขายทรัพย์สิน เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2554 โดยมีกาไรจากการ
ขาย 16,000,000.00 บาท และมีรายได้ที่ได้รับจากบริ ษทั แม่ในต่างประเทศ
จานวน 39,000,000.00 บาท โดยได้รับเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2554 รายได้
ดังกล่าวบริ ษทั ฯไม่คาดคิดมาก่อนว่าจะได้รับ เนื่องจากบริ ษทั แม่ไม่เคยมี
การส่ งเงินมาให้ และมิได้มีการแจ้งมาก่อนว่าจะมีการส่ งเงินมาให้ ดังนั้น
รายได้ที่ได้รับดังกล่าวเกิดขึ้นหลังจากที่บริ ษทั ฯได้มีการจัดทาประมาณการ
และยืน่ แบบ ภ.ง.ด.51 แล้ว เหตุผลดังกล่าวหน่วยตรวจสอบได้พิจารณา
แล้วเห็นว่ามีเหตุอนั สมควร
Revenue Department
เมื่อปรับปรุ งเหตุอนั สมควรแล้ว บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ ประมาณการกาไรสุ ทธิขาดไป ดังนี้
ประมาณการกาไรสุ ทธิตามแบบภ.ง.ด.51
500,000.00
บวก เหตุอนั สมควร :กาไรจากการขายทรัพย์สิน
16,000,000.00
รายได้ที่ได้รับจากบริ ษทั แม่
39,000,000.00 55,000,000.00
ประมาณการกาไรสุ ทธิหลังปรับปรุ ง
55,500,000.00
กาไรสุ ทธิตามแบบ ภ.ง.ด.50
69,000,000.00
ประมาณการกาไรสุ ทธิขาดไป
13,500,000.00
คิดเป็ นร้อยละ
19.56
Revenue Department
จากการคานวณข้ างต้ น เมื่อปรับปรุงเหตุอนั สมควรให้
แล้ ว บริษทั ฯประมาณการกาไรสุ ทธิขาดไปคิดเป็ น
ร้ อยละ 19.56 ถือว่ าบริษทั ฯประมาณการกาไรสุ ทธิ
ขาดไปเกินกว่ าร้ อยละ 25 ของกาไรสุ ทธิของกิจการ
สาหรับรอบระยะเวลาบัญชี ปี 2554 โดยมีเหตุอนั
สมควร บริษัทฯจึงไม่ ต้องรับผิดเสี ยเงินเพิ่มตาม
มาตรา 67 ตรี แห่ งประมวลรัษฎากร
Revenue Department
ตัวอย่าง 2
กรณีบริษทั ได้ ยนื่ รายการตามแบบ ภ.ง.ด.51 โดยการประมาณการกาไร
สุ ทธิตามมาตรา 67 ทวิ (1) จานวนสองฉบับ ฉบับแรกยืน่ ภายใน
กาหนดเวลาและฉบับทีส่ องยืน่ เกินกาหนดเวลา การคานวณเงินเพิม่
ตามมาตรา 67 ตรี วรรคหนึ่ง ได้ กาหนดไว้ ว่า กรณีแสดงประมาณการ
กาไรสุ ทธิขาดไปเกินร้ อยละ 25 ของกาไรสุ ทธิ ซึ่งได้ จากกิจการหรือ
เนื่องจากกิจการทีก่ ระทาในรอบระยะเวลาบัญชี โดยไม่ มีเหตุอนั
สมควร บริษทั หรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลนั้นต้ องเสี ยเงินเพิม่ อีกร้ อย
ละ 20 ของจานวนเงินภาษีที่ต้องชาระตามมาตรา 67 ทวิ (1) หรือของ
กึง่ หนึ่งของจานวนเงินภาษีที่ต้องเสี ยในรอบระยะเวลาบัญชีน้ัน หรือ
ของภาษีที่ชาระขาด แล้ วแต่ กรณี
Revenue Department
กรณีที่จะต้ องเสี ยเงินเพิม่ อีกร้ อยละ 20 ดังกล่าวนั้น จะต้ องพิจารณาเปรียบเทียบ
การยืน่ รายการประมาณการกาไรสุ ทธิตามแบบ ภ.ง.ด.51 กับกาไรสุ ทธิจาก
กิจการหรือเนื่องจากกิจการทีก่ ระทาในรอบระยะเวลาบัญชี ที่ต้องยืน่ รายการ
ตามแบบ ภ.ง.ด.50 แต่ เมื่อมีการยื่นแบบ ภ.ง.ด.51 สองฉบับ โดยฉบับแรกยืน่
ภายในกาหนดเวลา และฉบับทีส่ องยืน่ เกินกาหนดเวลา การเปรียบเทียบ
ดังกล่าวต้ องนาแบบ ภ.ง.ด.51 ทั้งสองฉบับมาพิจารณาด้ วย ทั้งนี้ การยื่นแบบ
ภ.ง.ด.51 เพิม่ เติมเป็ นครั้งทีส่ องเป็ นสิ ทธิทผี่ ู้เสี ยภาษีจะกระทาได้ ซึ่งไม่ มี
ข้ อกาหนดต้ องห้ ามไว้ ในประมวลรัษฎากร โดยการยืน่ แบบ ภ.ง.ด.51 เพิม่ เติม
เกินกาหนดเวลาถือว่ าผู้เสี ยภาษีไม่ ยนื่ รายการและชาระภาษีตามมาตรา 67 ทวิ
(1) จึงต้ องรับผิดเสี ยเงินเพิม่ อีกร้ อยละ 20 ของภาษีทตี่ ้ องชาระเพิม่ เติมนั้น
ตามมาตรา 67 ตรี ดังนั้น
Revenue Department
1. กรณีผู้เสี ยภาษียนื่ แบบ ภ.ง.ด.51 ฉบับทีส่ องเกินกาหนดเวลา และ
เมื่อนามารวมพิจารณาเปรียบเทียบกับแบบ ภ.ง.ด.50 แล้ ว ปรากฏ
ว่ าประมาณการกาไรสุ ทธิขาดไปไม่ เกินร้ อยละ 25 นั้น ถือว่ าผู้เสี ย
ภาษีไม่ ยนื่ รายการและชาระภาษีตามมาตรา 67 ทวิ (1) แห่ ง
ประมวลรัษฎากร จึงต้ องรับผิดเสี ยเงินเพิม่ อีกร้ อยละ 20 ของภาษีที่
ต้ องชาระเพิม่ เติมตามทีย่ นื่ แบบ ภ.ง.ด.51 ฉบับที่สอง ตามมาตรา
67 ตรี แห่ งประมวลรัษฎากร
Revenue Department
2. กรณีผู้เสี ยภาษียนื่ แบบ ภ.ง.ด.51 ฉบับที่สองเกินกาหนดเวลาและเมื่อ
นามารวมพิจารณาเปรียบเทียบกับแบบ ภ.ง.ด.50 แล้ ว ปรากฏว่ า
ประมาณการกาไรสุ ทธิยงั ขาดไปเกินร้ อยละ 25 นั้น ผู้เสี ยภาษีต้องรับ
ผิดเสี ยเงินเพิม่ อีกร้ อยละ 20 ของภาษีที่ต้องชาระเพิม่ เติมตามที่ยนื่
แบบ ภ.ง.ด.51 ฉบับที่สอง และต้ องเสี ยเงินเพิม่ อีกร้ อยละ 20 ของภาษี
ที่ชาระขาดไปจากที่ได้ นาแบบ ภ.ง.ด.51 ทั้งสองฉบับมาพิจารณา
เปรียบเทียบกับแบบ ภ.ง.ด.50 แล้ วปรากฏว่ าประมาณการกาไรสุ ทธิ
ยังขาดไปเกินร้ อยละ 25 ของกาไรสุ ทธิซึ่งได้ จากกิจการหรือเนื่องจาก
กิจการ
Revenue Department
ตัวอย่าง 3 กรณี ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน
รายการ
ยกเว้นฯ ไม่ยกเว้นฯ
รวม
กาไรสุ ทธิตามแบบ ภ.ง.ด.50
8,000,000 11,000,000 19,000,000
ประมาณฯการตามแบบ ภ.ง.ด.51 7,000,000 8,000,000 15,000,000
ประมาณการขาดไป
1,000,000 3,000,000 4,000,000
คิดเป็ นร้อยละ
12.50
27.3
21.05
Revenue Department
เมื่อเปรี ยบเทียบแล้วพบว่า
ประมาณการกาไรสุ ทธิ รวมตามแบบ ภ.ง.ด.51 ขาดไป
เกิน ร้อยละ 25 ของกาไรสุ ทธิ รวมตามแบบ ภ.ง.ด. 50
โดย ไม่มีเหตุอนั สมควร ต้องเสี ย เงินเพิม่ ตามมาตรา 67 ตรี
แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่ งแยกการพิจารณาเป็ น 2 กรณี ดงั นี้
Revenue Department
กรณี ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน
กรณี ที่ 1
ประมาณการกาไรสุ ทธิ รวมขาดไปเกินกว่าร้อยละ 25
เกิดขึ้น เฉพาะกิจการที่ ได้รับการส่ งเสริ มฯ
ไม่ตอ้ งเสี ย เงินเพิ่มร้อยละ 20
เนื่องจากฐานภาษีที่นามาคานวณเงินเพิ่มเป็ นของกิจการ
ที่ได้รับการส่ งเสริ มฯ ซึ่ งได้รับการยกเว้นภาษีฯ
Revenue Department
กรณี ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน
รายการ
ยกเว้นภาษี ไม่ยกเว้นภาษี รวม
กาไรสุ ทธิตามแบบ ภ.ง.ด.50 13,000,000 8,000,000 21,000,000
ประมาณการตามแบบ ภ.ง.ด.51 7,000,000 8,000,000 15,000,000
ประมาณการรวมขาดไป
6,000,000
6,000,000
คิดเป็ นร้อยละ
6,000,000 x 100
21,000,000
=
28.57
จะเห็นได้วา่ ประมาณการกาไรสุ ทธิรวมที่ขาดไปเกินกว่าร้อยละ 25
เกิดขึ้นเฉพาะกิจการที่ได้รับการยกเว้นภาษี จึงไม่ตอ้ งเสี ยเงินเพิม่
Revenue Department
กรณี ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน
กรณี ที่ 2
ประมาณการกาไรสุ ทธิ รวมขาดไปเกินกว่าร้อยละ 25
เกิดขึ้นทั้ง 2 กิจการ หรื อเกิดขึ้นเฉพาะ กิจการที่ไม่ได้รับ
การส่ งเสริ มฯ และไม่ได้รับยกเว้นภาษี โดยไม่มีเหตุอนั สมควร
ต้องเสี ย เงินเพิ่มร้อยละ 20 ของภาษีที่ชาระขาด
โดยคานวณจากฐานภาษีของกิจการที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ มฯ
และไม่ได้รับยกเว้นภาษี
Revenue Department
กรณี ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน
รายการ
กาไรสุ ทธิจริ งตามแบบ ภ.ง.ด.50
ประมาณฯการตามแบบ ภ.ง.ด.51
ประมาณฯ ขาดไป
คิดเป็ นร้อยละ
ยกเว้นภาษี ไม่ยกเว้นภาษี รวม
10,500,000
7,000,000
3,500,000
33.30
10,000,000 20,500,000
8,000,000 15,000,000
2,000,000 5,500,000
20
27.50
ประมาณการรวมขาดไปเกินร้อยละ 25 ซึ่งเกิดขึ้นทั้ง 2 กิจการ ต้องเสี ยเงินเพิม่
โดยคานวณจากภาษีที่ชาระขาดของกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้น
Revenue Department
กรณี ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน
การคานวณเงินเพิ่ม
ประมาณการฯ ของกิจการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีขาดไป 2,000,000
กึ่งหนึ่งของประมาณการ
1,000,000
ภาษีที่ตอ้ งชาระ
230,000
เงินเพิ่ม
230,000 x 20 %
=
46,000
Revenue Department
เลขประจาตัวผู้เสี ยภาษีอากร
Revenue Department
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เรื่ อง กาหนดเลขประจาตัวในการปฏิบัตกิ าร
ตามประมวลรั ษฎากร (ฉบับที่ ๓)
ข้ อ ๒ “กรณีผ้ ูมห
ี น้ าทีเ่ สี ยภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาทีม่ ี
และใช้ เลขประจาตัวประชาชนตามกฎหมายว่ าด้ วยการ
ทะเบียนราษฎร ให้ ใช้ เลขประจาตัวประชาชนนั้นในการ
ปฏิบัตกิ ารตามประมวลรัษฎากร โดยไม่ ต้องยืน่ คาร้ องขอมี
เลขประจาตัวและบัตรประจาตัวผู้เสี ยภาษีอากรตามแบบที่
อธิบดีกาหนด”
58 Department
Revenue
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เรื่ อง กาหนดเลขประจาตัวในการปฏิบัตกิ าร
ตามประมวลรั ษฎากร (ฉบับที่ ๓)
ข้ อ ๓ “กรณีบริษทั หรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลทีม่ แี ละใช้ เลข
ทะเบียนนิตบิ ุคคลทีอ่ อกโดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้ า ให้ ใช้ เลข
ทะเบียนนิตบิ ุคคลนั้นในการปฏิบตั กิ ารตามประมวลรัษฎากรโดย
ไม่ ต้องยืน่ คาร้ องขอมีเลขประจาตัวและบัตรประจาตัวผู้เสี ยภาษี
อากรตามแบบทีอ่ ธิบดีกาหนด”
59 Department
Revenue
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เรื่ อง กาหนดเลขประจาตัวในการปฏิบัตกิ าร
ตามประมวลรั ษฎากร (ฉบับที่ ๓)
ข้ อ ๔ “กรณีผ้ ูจ่ายเงินได้ เป็ นสมาคมการค้ าหรือหอการค้ าที่มี
และใช้ เลขทะเบียนนิตบิ ุคคลทีอ่ อกโดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้ า ให้
ใช้ เลขทะเบียนนิตบิ ุคคลนั้นในกรณีเป็ นผู้หักภาษี ณ ที่จ่าย โดยไม่
ต้ องยืน่ คาร้ องขอมีเลขประจาตัวและบัตรประจาตัวผู้เสี ยภาษี
อากรตามแบบที่อธิบดีกาหนด”
60 Department
Revenue
ชื่อบัญชีของงบการเงินใหม่ ทตี่ ้ องจัดทาตาม
กฎหมาย ว่ าด้ วยการบัญชี
Revenue Department
ประกาศกรมสรรพากร เรื่ อง การจัด ท าบัญ ชี ง บดุ ล
บัญชีทาการ และบัญชีกาไรขาดทุนตามมาตรา 68 ทวิ
กรมพัฒนาธุรกิจการค้าได้ออกประกาศกรมพัฒนาธุรกิจ
การค้า เรื่ อง กาหนดรายการย่อที่ตอ้ งมีในงบการเงิน พ.ศ. 2554
ลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ยกเลิกประกาศกรมพัฒนาธุรกิจ
การค้า เรื่ อง กาหนดรายการย่อที่ตอ้ งมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552
ลงวันที่ 30 มกราคม 2552 และกาหนดให้ผมู้ ีหน้าที่จดั ทาบัญชี
ดังต่อไปนี้ ต้องจัดทางบการเงินตามรู ปแบบของแต่ละประเภท
โดยให้ถือปฏิบตั ิสาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลัง
วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 เป็ นต้นไป ดังนี้
62 Department
Revenue
• 1.ห้างหุน้ ส่ วนจดทะเบียน บริ ษทั จากัด บริ ษทั มหาชนจากัด นิติบุคคลที่
ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ และกิจการร่ วมค้า ต้องจัดทา “งบแสดง
ฐานะทางการเงิน” แทน “งบดุล”
• 2. บริ ษทั มหาชนจากัด ต้องจัดทา “งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ” แทน “งบ
กาไรขาดทุน”
• 3. ห้างหุน้ ส่ วนจดทะเบียน บริ ษทั จากัด นิติบุคคลที่ต้ งั ขึ้นตามกฎหมาย
ต่างประเทศ และกิจการร่ วมค้า ยังคงจัดทา “งบกาไรขาดทุน” ตามข้อ
กฎหมายเดิม
63 Department
Revenue
กรมสรรพากรจึงกาหนดให้ “งบแสดงฐานะการเงิน”
“งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ” และ “งบกาไรขาดทุน”ในงบ
การเงินที่ตอ้ งจัดทาตามกฎหมาย ว่าด้วยการบัญชี เป็ น
“บัญชีงบดุล”และ “บัญชีกาไรขาดทุน”ที่ตอ้ งจัดทาตาม
มาตรา 68 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร
64 Department
Revenue
1.ให้ “งบแสดงฐานะทางการเงิน” ในงบการเงินที่ตอ้ งจัดทาตาม
กฎหมาย ว่าด้วยการบัญชี เป็ น “บัญชีงบดุล”ตามมาตรา 68 ทวิ แห่ง
ประมวลรัษฎากร
2.ให้ “งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ”ในงบการเงินที่ตอ้ งจัดทาตามกฎหมาย
ว่าด้วยการบัญชี เป็ น “บัญชีกาไรขาดทุน”ตามมาตรา 68 ทวิ แห่ ง
ประมวลรัษฎากร
3.ให้ “งบกาไรขาดทุน”ในงบการเงินที่ตอ้ งจัดทาตามกฎหมาย ว่าด้วย
การบัญชี เป็ น “บัญชีกาไรขาดทุน”ตามมาตรา 68 ทวิ แห่งประมวล
รัษฎากร
65 Department
Revenue
ถาม - ตอบ