โดย แพทย์หญิงฉายศรี สุพรศิลป์ชัย

Download Report

Transcript โดย แพทย์หญิงฉายศรี สุพรศิลป์ชัย

การประเมินความสามารถในการจัดการ
การป้ องกันและควบคุม
โรคไม่ ติดต่ อเรื้อรัง
ทีมการประเมินผลกรมควบคุมโรคฯ
เสนอโดย
แพทย์ หญิงฉายศรี สุพรศิลป์ชัย
ในการประชุมเชิงปฏิบตั ิการเสนอผลการประเมินโครงสร้ างความสามารถในการจัดการ
ป้องกันและควบคุมปั ญหาโรคเรื อ้ รัง
วันพฤหัสบดีที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๕ เวลา ๙.๑๕-๑๐.๐๐ น.

Affordable solutions exist to
prevent 40 to 50% of premature deaths
from noncommunicable diseases
These solutions can prevent an estimated
14 million premature deaths each year
in developing countries
Noncommunicable Diseases
World Health Organization
ECOSOC High-level Segment
60,000
CVD
50,000
HT
40,000
CHD
Stroke
30,000
DM
20,000
Cancer
Injury
10,000
RTI
0
COPD
2002
2003
2004
2005
2006
Figure 3: No. of Deaths (2002-2006) and Projected global deaths (millions) for major chronic disease groups and other
causes of death in Thai population and 23 selected countries, 2005–15
(CHD = coronary heart disease; COPD
= Chronic lower respiratory diseases)
Population with
Specific Important Risk Factors 2005
Risk Factors **
MiIllions
~ 16.1
Overweight and Obesity
Low fruits and vegetable Diet
~ 38
Physical Inactivity
~ 19
Hypertensive Diseases
~ 7.4
Diabetes
~ 3.4
แหล่งข้ อมูล: สานักโรคไม่ตดิ ต่อ (ฉ.2549) คาดประมาณจาก ‘*’ TBRFSS2548 ‘**’ TNHEXAM2546
Burden of Major Thai Chronic NCDs in 2005
Diseases*
Millions
Stroke and ISHD
~ 0.9
Chronic Renal Failure
~ 1.8
Cancer
~ 0.2
COPD and Asthma
~ 1.6
Depression
~ 0.6
Source: BNCD (ฉ.2006) esttimated from ‘*’ TBRFSS2548 ‘*
ความชุกของโรคความดันโลหิตสู งและโรคเบาหวาน
พ.ศ.2534-2552
แหล่งข้ อมูล: การสารวจสภาวะสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครัง้ ที่ 1, 2, 3
not allowed to reference yet
Hypertension Prevalence * in NHEXAMIII
1991 = 5.4%;
(2004)
1996 = 11%, 2004 = 22%
Male
*
Female
Total
Age
No
Prevalence
(%)
No
Prevalence
(%)
No
Prevalence
(%)
15-24
31
2.20
19
1.53
50
1.94
25-34
104
5.09
72
4.19
176
4.63
35-44
302
9.97
293
9.32
595
9.62
45-59
916
22.17
1200
26.77
2116
24.62
60-69
2060
35.15
2202
36.53
4262
35.91
70-79
1330
37.07
1519
39.73
2849
38.58
80+
274
35.56
280
38.53
554
37.19
Total
5017
14.97
5585
17.58
10602
16.32
Notice that this figure included persons who told by health personnel have hypertension or have BP level
systolic >= 140 or diastolic >= 90 mmHg. Analysed by Bureau of Noncommunicable Diseases; Dept. Of CDC; MOPH.
not allowed to reference yet
Diabetes Prevalence * in NHEXAMIII
(2004)
1991 = 2.3%,
1996 = 4.6%, 2004 = 6.9%
Male
*
Female
Total
Age
No
Prevalence
(%)
No
Prevalence
(%)
No
Prevalence
(%)
15-24
0
0
3
0.3041
3
0.1284
25-34
6
0.4115
13
0.764
19
0.5901
35-44
54
2.0894
77
3.3022
131
2.7397
45-59
213
5.0226
360
8.7368
573
6.9999
60-69
486
7.777
747
12.9398
1233
10.6369
70-79
267
7.3727
409
10.3811
676
9.08
80+
31
3.0895
38
4.8835
69
4.076
Total
1057
3.045
1647
5.5473
2704
4.3433
Notice that this figure included only persons who told by health personnel have diabetes or have Blood sugar
level >= 126 mg%
Analysed by Bureau of Noncommunicable Diseases; Dept. Of CDC; MOPH.
แผนภาพ แสดงสามเหลี่ยมทางระบาดวิทยาประยุกต์สาหรับโรคเรื้ อรังและ
ความผิดปกติทางพฤติกรรม (Advanced epidemiology triangle
for chronic diseases and behavioral disorders)
ปั จจัยสาเหตุ
Causative Factors
เวลา
กลุม่ ต่างๆ หรื อ ประชากรและ
คุณลักษณะของกลุม่ หรื อประชากร
เช่น เพศ การศึกษา อาชีพ
บุคลิกภาพบุคคล ฯลฯ
สิ่งแวดล้ อมกายภาพ
พฤติกรรมสังคม
วัฒนธรรม
องค์ประกอบสภาวะแวดล้ อม
ตาราง ตัวอย่ างแสดงการแบ่ งหมวดหมู่ของ โรคไม่ ตดิ ต่ อเรื อ้ รั ง กับโซ่ สาเหตุของปั จจัยเสี่ยง และปั จจัย
กาหนด เพื่อการควบคุมป้องกันและจัดการ
ปั จจัยเสี่ยง และ ปั จจัยป้องกัน
ปั จจัยด้ านพฤติกรรม
- บริโภคอาหารเกินไม่ได้ สดั ส่วน
- การขาดกิจกรรมทางกายเพียงพอ
- การใช้ ยาสูบและแอลกอฮอล์ที่บนั่ ทอน
สุขภาพ
ปั จจัยทางจิตสังคม
- “ความรู้สกึ ว่าควบคุมได้ ”
“Sense of control”
- การสนับสนุนทางสังคม/การกีดกันทาง
สังคม
- อารมณ์ที่แข็งแรง
ปั จจัยในระยะต้ นของชีวิต
- สุขภาพแม่/ น ้าหนักแรกเกิดต่า
ปั จจัยเสี่ยงและเครื่องบ่ งชีท้ างชีวสรีระ
โรคและสภาวะเรือ้ รังที่
ป้องกั นได้
ผลต่ อเนื่องที่
ตามมา
ภาวะน ้าหนักเกินและอ้ วน
ภาวะความดันโลหิตสูง
ภาวะไขมันผิดปกติ
ภาวะไม่สมบูรณ์ของความ-ทนทานต่อน ้าตาล
ภาวะโปรตีนในปั สสาวะ
โรคหัวใจขาดเลือด/
อัมพาต
เบาหวานประเภทที่ 2
โรคไตวายเรื อ้ รัง
มะเร็ง
โรคระบบทางเดินหายใจ
อุดกลันเรื
้ อ้ รัง
- เจ็บป่ วยซ ้าซ้ อน
- คุณภาพชีวิตที่ลดลง
- พิการ
- ตาย
ปั จจัยที่ปรับเปลี่ยนไม่ ได้ : อายุ เพศ พันธุกรรม ประวัตคิ รอบครัว
ปั จจัยกาหนดทางสังคมสิ่งแวดล้ อม (อาจจะปรับเปลี่ยนได้ ): สถานะทางสังคมเศรษฐกิจ ลักษณะชุมชน(ได้ แก่ ต้ นทุนทางสังคม ฯลฯ) สภาพการ
ทางาน สิ่งแวดล้ อมทางสุขภาพ เป็ นต้ น
แปล280151
ตัวอย่ างการดาเนินการ: ประเทศมอริเชียส (MAURITIUS)
โครงการ ๕ ปี วิถีชีวติ สุขภาพ
 การสารวจตั
ดขวางเป็ นกลุ่ม ในช่วงอายุ ๒๕–๗๔ ปี พ.ศ.
CLUSTER SURVEYS)
RESULTS
MEN๒๕๓๐–๒๕๓๕ (CROSS-SECTIONAL
WOMEN
•ความชุกความดันโลหิตสูง
15%  12.1%
12.4%  10.9%
• สูบบุหรี่
58%  47.2%
6.9%  3.7%
•บริโภคแอลกอฮอล์
38.2%  14.4%
2.6%  0.6%
•MODERATE LTPA
16.9%  22.1%
1.3%  2.7%
•MEAN POPULATION SERUM CHOLESTEROL 5.5mmol/l 4.7mmol/l
OVERWEIGHT/OBESITY ; GLUCOSE INTOLERANCE -NS
Dowse et al; BMJ, 1995
กลุ่มมาตรการทีก่ าลังศึกษาทบทวน ประเมินความคุ้ม
และคาดประมาณค่ าใช้ จ่าย
การศึกษาทบทวนยังพบว่า นอกจากการมีนโยบายและมาตรการ
โครงการที่ชดั เจนมีประสิทธิผลคุ้มค่าแล้ ว ประเด็นที่มีความสาคัญและ
เป็ นปั จจัยนาสูค่ วามสาเร็จพอๆ กันกับการมีนโยบายที่ดไี ด้ แก่
“กระบวนการนานโยบายสู่การปฏิบตั ิ
อย่ างมีประสิทธิผลและคุ้มค่ า”
อะไร (๑)
ทีเ่ ป็ นปัจจัยฝื นความก้ าวหน้ าการลดปัญหาโรคไม่ ติดต่ อ?
• ภาระของโรคเป็ นทวีคูณ การแข่ งขันให้ ได้ มาซึ่งทรัพยากร
• ความสั บสน
• พฤติกรรมบุคคล หรือ ปัญหาสุ ขภาพของสาธารณะ
• การรักษา หรือ การป้องกัน
• ประชากรทีอ่ ายุมากขึน้ ตามธรรมชาติ หรือ ประชากรอายุน้อย
• ความทันสมัย โลกาภิวฒ
ั น์ (ความร่ารวย) หรือ ปัญหาท้ องถิ่น
(ความยากจน)
• ปัญหาอนาคต หรือ ปัญหาปัจจุบัน
GLOBAL FORUM
on NCD prevention and control
9-12 Nov 03 Rio de Janeiro
อะไร (๒)
ทีเ่ ป็ นปัจจัยฝื นความก้ าวหน้ าการลดปัญหาโรคไม่ ติดต่ อ?
• การวัดผลของโรคไม่ ติดต่ อหรือโรคติดต่ อ
• เป็ นเพียงนิยายเกีย่ วกับผลกระทบ
• การคาดประมาณที่ต่ากว่ าเป็ นจริงของประสิ ทธิผลการ
ดาเนินการ
• ภาวะกดดันทางการค้ า
• ความเฉื่อยชาขององค์ กรหรือสถาบัน
• ผลกระทบ หลัง ๑๑ กันยายน
GLOBAL FORUM
on NCD prevention and control
9-12 Nov 03 Rio de Janeiro
ปั ญหาสถานการณ์ความสามารถของประเทศ
สาหรับการป้องกันและควบคุมโรคไม่ตดิ ต่อ






นโยบายและกลยุทธ์ที่ชดั เจนมีนอ้ ย
ทรัพยากรจากัด
การดูแลที่เป็ นชิ้นๆ แยกส่วน และไม่ประสานดาเนินการ
ข้อผูกมัดหรือพันธะต่อการป้องกันในระดับต ่า
ขาดระบบเฝ้ าระวังทางระบาดวิทยา
แนวทางการดูแลรักษาที่ไม่เพียงพอ
 ความสามารถในการดูแลสุ ขภาพพืน้ ฐานในการจัดการโรคไม่ ตดิ ต่ อไม่ เพียงพอ
 ขาดการลงทุนอย่ างมากในการทาวิจัย
GLOBAL FORUM
on NCD prevention and control
9-12 Nov 03 Rio de Janeiro
กระบวนการดูแลรักษาป้องกันโรค
กระบวนการควบคุมป้องกันโรค
ปกติ...ป่ วย
มุง่ ที่บคุ คล
ปกติ...เสี่ยง...ป่ วย
มุง่ ที่ประชากรโดยเฉลี่ย
เฉียบพลัน
เรื อ้ รัง กึ่งเฉียบพลัน
และเฉียบพลัน
กิจกรรมหรื อกลุ่มกิจกรรมบริการเป็ นครั ง้
เครื อข่ ายกลุ่ม
กิจกรรมบริการ
ต่ อเนื่องสัมพันธ์ กัน
โครงการแนวดิ่ง
โครงการผสมผสาน
หรื อบูรณาการ
ควบคุมกากับ
กากับช่วยเหลือ
ปัญหาในชุมชนนาร่องตัวอย่าง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
อสม.ไม่ร้ ูตวั ว่าเป็ นเบาหวาน
ยังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่จริงจังทุกกลุม่ .....รู้แต่ไม่ทา
ผู้ดแู ลใกล้ ชิดขาดความรู้
กลัวเป็ นโรค ......ปฏิเสธ
ชุมชนขาดข้ อมูลสถานการณ์ในชุมชน
สิง่ แวดล้ อมไม่เอื ้อในการปฏิบตั ิ
ขาดสื่อการสอนไม่เหมาะสม .....การเชื่อมโยงความรู้ที่เหมาะสมกับท้ องถิ่น
ประชาชนโดยรวมยังไม่เข้ าใจถึงปั ญหาหรื อพิษภัยของโรคเบาหวานที่ตามมา
กลุม่ ด้ อยโอกาสทางการเรี ยนรู้และควบคุม .....ไม่ร้ ูหนังสือ ขาดคนดูแล ภาระพึง่ พิงสูง
ปั ญหาวิถีชีวิตความเชื่อ
ขาดความรู้จริงและหลักฐานในกดารรักษา สื่อในวงกว้ าง .....ความปลอดภัย .....ข่าวสาร คุ้มครอง
ต้ องการความเข้ าใจที่เชื่อมโยงระหว่างแบบแผนชีวิตกับปั จจัยเสี่ยงและข้ อเสนอแนะการป้องกันและการดูแล
ควบคุมโรค
ปั ญหาการสื่อสาร ........ในระดับบุคคล ข้ อมูลข่าวสารผิดๆ
สัดส่วนของภาวะโรคแทรกซ้ อนเพิ่มขึ ้น
การประชุมกรมควบคุมโรค 15.01.51
แผนปฏิบตั ิการปี
ค.ศ. ๒๐๐๘ – ๒๐๑๓
ตอบสนองยุทธศาสตร์ โลก
แผนยุทธศาสตร์
สุขภาพดีวิถีไทย
พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๙
แผนยุทธศาสตร์ จงั หวัดหรื อแผน/กิจกรรม
ปฎิบตั ิการของจังหวัด
กรอบการทางานเพื่อการพัฒนาการเข้ าถึงการควบคุมป้องกันโรค
แนวคิด ๔
ความร่ วมมือ
3
1
ลดความเสี่ยง,
สร้ างเสริม
วิถีชีวิตสุขภาพ
การพัฒนาสิ่งแวดล้ อม (สังคม
และ กายภาพ)
4
การดาเนินการ ทางคลินิก
ผลักดันสนับสนุAdvocacy
น สื่อสารในทุกระดับ
(เฝ้ าระวังResearch,
ทางระบาดฯ
ประเมินผล
และวิจยั ) 5
Surveillance,
Evaluation
การตอนสนองจากภาคส่วนสุขภาพ 7
6
การตอบสนอง“ภาครัฐทัง้ หมด”
 ความตัง้ ใจจากทางการเมือง
 ความเป็ นผูน
้ าจากการเมือง
นโยบายและกฎหมายสาธารณะสราง
้
สุขภาพ
ภาคส่วนรัฐดานสุ
ขภาพ
้
ภาคส่วนผู้นาสุขภาพ
 การบูรณาการของการป้องกันควบคุม
โรคไมติ
กลยุทธสุ
่ ดตอเข
่ าไปใน
้
์ ขภาพ
ประเทศ
เพิ่ มความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ
การตอบสนอง“ภาคสังคมทัง้ หมด”
 ความเป็ นผูน
้ าชุมชน
 การเป็ นหุ้นส่วนระหวางภาคส
่
่ วน
 การขับเคลือ
่ นชุมชน
mobilization)
(Community
(Health Systems Strengthening)
การพัฒนาแรงงานสุขภาพ
องคกรการบริ
การสุขภาพและการจัดบริการ
์
การเงิน (Financing)
ระบบของการดูแลยึดประชากรเป็ นศูนยกลาง
์
จุดเน้นบนการป้องกัน
สถานการณ์ โครงสร้ างสร้ างเสริมความเข้ มแข็ง
การเฝ้ าระวังสถานการณ์ และธรรมชาติของโรค และการเตือนภัย
องค์ การอนามัยโลก
‘1)To raise the priority accorded to
NCDs in development work at
global and national levels, and to
integrate prevention and control
of such diseases into policies
across all government
department
‘6.2)To monitor noncommunicable
diseases and their determinants
and evaluate progress at the
national, regional and global
levels
แผนสุขภาพดีวถิ ีไทย
• ยุทธศาสตร์ ท่ ี 4 การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง
และการจัดการโรค (Surveillance &
Care System)
(4.1) มีระบบเฝ้าระวังโรควิถีชีวิตที่มีคณ
ุ ภาพ
มาตรฐาน
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 5 การสร้ างความเข้ มแข็งของระบบ
สนับสนุนยุทธศาสตร์ (Capacity
Building)
(5.4) มีระบบคุณภาพและการประเมินผล
ภาพรวมอย่างบูรณาการ
การพัฒนาระบบการกากับและประเมินผล
การจัดการลดปัญหาโรคเรือ้ รัง (๑)
เป็ นเครื่ องมือหนึง่ ที่สาคัญอย่างยิ่งในการได้ มาซึง่ ข้ อมูลป้อนกลับให้ เกิด
การเชื่อมโยงการทางานข้ างต้ นให้ เกิดทิศทางการดาเนินงานร่ วมกันที่มี
ประสิทธิผลประสิทธิภาพยิ่งขึ ้นจากทุกภาคส่วน
 เพื่อสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

วัตถุประสงค์
โครงการการพัฒนาระบบการกากับและประเมินผลฯ
1.
2.
3.
4.
เพื่อสร้ างกรอบความคิดและเครื่ องมือเบื ้องต้ นในการกากับประเมินผล
เพื่อศึกษาและเสนอโครงสร้ างการกากับและประเมินผลการการเพิ่ม
คุณภาพการดาเนินการควบคุม
ป้องกันเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในระดับประเทศ เขต จังหวัด
กลุม่ เครื อข่ายบริการพื ้นที่
เพื่อศึกษาโครงสร้ างระบบข้ อมูลที่จาเป็ นสาหรับใช้ ในการกากับและ
ประเมินผล
กรอบแนวคิดและกระบวนการประเมินผลในภาพรวม
ผล
ปั จจัยสาเหตุ
จจัยกตาหนด
ปัแนวมิ
ิด นการปชี้ องกั
่ ยงใกล้ ชาเนิ
ปั จจัยนเสีผลการด
ชนไทย
ม
ในชุ
อ
ต่
ด
ิ
ต
โรคไม่
ม
ควบคุ
น
ิการกากับและประเมิ
ผลลัพธ์
ต่ อเนื่อง
วสรี ระหรื อ
รรม
ก
พฤติ
สังคมเศรษ กิจและ
พยาธิสรี ระ
ที่ตามมา
สิ่งแวดล้ อม
-ระบบดูแลสุขภาพที่ไม่
เหมาะสม
-สิ่งแวดล้ อมที่ไม่ เอือ้
-สังคม เศรษ กิจที่เอือ้ ต่ อ
การเกิดและการคงอยู่
ของการระบาดและเพิ่ม
ภาระการดูแล
ก่ อนป มภูมิ
โลก
ท้ องถิ่น
การเลือก
ก หมาย ของบุคคล
ข้ อบังคับ
- การบริโภคยาสูบ
- กิจกรรมทางกายที่ไม่
เพียงพอ
-อาหารและโภชนาการ
ที่ไม่ เหมาะสม
- การบริโภคแอลกอฮอล์
มากเกินไป เป็ นต้ น
ป มภูมิ ประชากร
-การสร้ างความตระหนักและ
เรี ยนรู้ เพื่อควบคุมปั จจัยเสี่ยง
-การเ ้ าระวังความเสี่ยงและ
โรค
- การสร้ างความเข้ มแข็งแก่
ชุมชนและหุ้นส่ วน
- ภาวะความดัน
โลหิตสูง
- ภาวะเบาหวาน
- ภาวะอ้ วน
- ความผิดปกติ
ของไขมัน
- พันธุกรรม
- บาดเจ็บ
กลุ่มเสี่ยงสูง
-อัมพาต
- โรคหลอดเลือด
หัวใจโคโรนารี่
- โรคหลอดเลือด
ส่วนปลาย
- ไตเรื อ้ รั ง
- ตาบอด
- เท้ า
- ภาวะแทรกซ้ อน
อื่น ฯลฯ
เจ็บป่ วย
ซ ้าซ้ อน
พิการ
ตาย
คุณภาพชีวิต
ลดลง
ทุติยภูมแิ ละตติยภูมิ
-การพบโรคตัง้ แต่ ระยะต้ น
- คัดกรอง ประเมิน
- ประเมินและป้องกันปั จจัย
ควบคุมปั จจัยเสี่ยง
เสี่ยงในผู้เป็ นโรค
- ปรั บบริ การพืน้ าน
-การ ื ้ น สู ภาพ
มาตร านการบริ การคลินิก ระบบปรึ กษา-ส่ งต่ อ
พัฒนาระบบบริ การมุ่งผลลัพธ์ บริ การที่มเี ป้าหมายสู่การ
ลดโรคผ่ านทางพัฒนาคุ ภาพต่ อเนื่อง
ระบบเ ้ าระวังสาธาร สุขและข้ อมูลเพื่อสนับสนุนการบริหารโครงการ
C
C.Suorn
กรอบแนวคิดการดาเนินงานโครงการประเมินผลภาพรวม
ประยุกต์ มาจาก
A Tool for Strengthening Chronic Disease Prevention and
Management Through Dialogue, Planning and Assessment
The Public Health Agency of Canada
“กุญแจสู่ระบบดูแลสุขภาพที่ย่ งั ยืน”
( A Sustainable Health Care System)
ประกอบด้ วยปั จจัย 8 ประการได้ แก่
1. เป้าประสงค์ และคุ ค่ าร่ วมกัน
2. เน้ นที่ปัจจัยกาหนดสุขภาพ
3. ภาวะผู้นา, หุ้นส่ วน และการลงทุน
4. โครงสร้ างภายในและความสามารถด้ านสาธาร สุข
5. โครงสร้ างภายในและความสามารถในการดูแลป มภูมิ
6. โครงสร้ างภายในและความสามารถของชุมชน
7. การบูร าการการป้องกันโรคเรื อ้ รั งและการจัดการ
8. การกากับติดตาม การประเมินผล และการเรี ยนรู้
แผนภูมิ กงล้ อความร่ วมมือขับเคลือ่ นการบูรณาการนโยบายและสมรรถนะสู่ ความสาเร็จ
การพัฒนาระบบการป้ องกันและจัดการโรคเรื้อรังไทย
ทิศ
การ
ป้อง
กัน
มุ่งเน้นจัดการปั จจัยสาเหตุการเกิดและการดาเนิ นโรคต่อเนื่ อง
การป้ องกันปฐมภูมิเป็ นพื้นฐานสาคัญ
การนาการป้ องกันสู่ทุกระดับการบริ การและการเข้าถึงการดูแล
การจัดการความเสี่ ยงในระดับการดูแลปฐมภูมิ
การปฏิบตั ิตามแนวปฏิบตั ิท้ งั โดยไม่ใช้ยาและใช้ยา
การสนับสนุนปรับวิถีชีวิต/การจัดการตนเอง
บริการ
ความต่อเนื่อง ความครอบคลุมภาพรวม และ
ประสานการดูแลสุขภาพ
สุขภาพ
• การขับเคลื่อนหน่วยบริ การสาธารณสุ ขให้ตอบพืน้ าน
สนองโรคเรื้ อรังอย่างมีคุณภาพ
•
•
•
•
•
•
•
ชุมชน
การ
ท้ องถิ่น
ครอบครั ว
บุคคล
ปั จจัย
• เป้าประสงค์และคุณค่าร่วมกัน
ความ
• ภาวะผู้นา, หุ้นส่วน และ การลงทุน
• โครงสร้ างภายในและความสามารถด้ านสาธารณสุข /
การดูแลพื ้นฐาน / ชุมชน
สาเร็จ
ฉ.๐๕๐๑๕๓
• เน้ นที่ปัจจัยกาหนดสุขภาพ
• การบูรณาการการป้องกันโรคเรือ้ รังและการจัดการ
• การกากับติดตาม การประเมินผล และการเรียนรู้
ตระหนัก จัดการ เอือ้ สิ่งแวดล้ อม/
ทรัพยากรท้ องถิ่น ชุมชนเข้ มแข็งลดเสี่ยง
เครือข่ าย
บริการ
สุขภาพ
สนับสนุน
ตระหนัก
ลดโรค
จัดการตนเอง ลดเสี่ยง
เพิ่มคุ ภาพชีวิต
ปกครอง
สาธาร สุข
ตระหนัก ตอบสนอง สนับสนุน
จัดการตนเอง สู่ระบบบริการ
สุขภาพที่ย่ งั ยืน
ทิศ การป้องกัน
 มุ่งเน้ นจัดการปัจจัยสาเหตุการเกิดและการดาเนินโรคต่ อเนื่อง
 การป้ องกันปฐมภูมิเป็ นพืน้ ฐานสาคัญ
 การนาการป้องกันสู่ ทุกระดับการบริ การและการเข้ าถึงการดูแล
 การจัดการความเสี่ ยงในระดับการดูแลปฐมภูมิ
 การปฏิบัติตามแนวปฏิบัติท้ังโดยไม่ ใช้ ยาและใช้ ยา
 การสนับสนุนปรั บวิถีชีวิต/การจัดการตนเอง
 ความต่ อเนื่อง ความครอบคลุมภาพรวม และการประสานการดูแลสุ ขภาพ
 การขับเคลื่อนหน่ วยบริ การสาธารณสุ ขให้ ตอบสนองโรคเรื้อรั งอย่ างมี คุณภาพ
การประเมินความสามารถในการจัดการ ป้ องกันและควบคุมปัญหาโรคไม่ ตดิ ต่ อเรื้อรัง
ของประเทศกรณีศึกษาโรคหัวใจและหลอดเลือดรวมความดันโลหิตสู ง และเบาหวาน
วัตถุประสงค์ทวั่ ไป
• เพื่อประเมินความสามารถในการจัดการ ป้องกันและควบคุมปั ญหาโรค
ไม่ติดต่อเรื อ้ รังของประเทศไทย ปี งบประมาณ พ.ศ.2553
วัตถุประสงค์เฉพาะ
1.
เพื่อสะท้อนภาพการจัดการลดโรคและปั ญหาที่เกี่ยวข้องในสถานการณ์การ
ป่ วยที่แตกต่างกันของประเทศ
2. เพื่อเป็ นข้อมูลพื้ นฐานในการพัฒนายุทธศาสตร์ของประเทศ
3. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรูท
้ ีมงานโรคไม่ติดต่อเรื้ อรังของส่วนกลางและพื้ นที่
(กระบวนการทางาน การลงพื้ นที่ แนวทางการพัฒนาทีมงาน)
การประเมินความสามารถในการจัดการ ป้องกันและควบคุมปั ญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ของประเทศกรณีศึกษาโรคหัวใจและหลอดเลือดรวมความดันโลหิตสูง และเบาหวาน
ศึกษาจากจังหวัดตัวแทนที่สุ่มมาจากกลุ่มจังหวัดที่แบ่งกลุ่มตามอัตราผูป้ ่ วยในที่มี
1.
อัตราผูป้ ่ วยในสูงร่วมกับแนวโน้มการเพิ่มสูงขึ้ นเร็ว
2. อัตราผูป
้ ่ วยในที่สงู ปานกลาง
3. อัตราผูป
้ ่ วยในที่ตา่ ร่วมกับการเพิ่มสูงขึ้ นลดลง
กลุ่มละ 2 จังหวัด รวม 6 จังหวัด ในแต่ละจังหวัดเลือกศึกษา 2 อาเภอ โดย
เน้นอาเภอที่มีลกั ษณะเมืองและชนบท
การสุม่ ตัวอย่างเพื่อเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ
1.
ฐานข้อมูลทุติยภูมิ
มาจากการรวบรวมข้อมูลด้านระบาดวิทยาที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรพื้ นฐานของสถานการณ์
โรคไม่ติดต่อทั้งในระดับประเทศและในจังหวัดรวมทั้งข้อมูลแผนงานโครงการและผลการ
ดาเนิ นงานจากรายงานที่เกี่ยวข้อง
2.
ฐานข้อมูลปฐมภูมิ
เป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากแหล่งผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ที่เป็ นกุญแจ
หลักของจังหวัด
องค์ประกอบหลักของปั จจัยความสาเร็จในการจัดการ ป้องกันและควบคุมปั ญหาโรคไม่
ติดต่อเรื้ อรัง 8 ประเด็น 40 ข้อคาถาม ที่สอดคล้องกับทิศการป้องกันโรคไม่ติดต่อ
เรื้ อรัง กรณีศึกษาโรคหัวใจและหลอดเลือดรวมความดันโลหิตสูง และเบาหวาน
แหล่งข้อมูล ๒ แหล่ง

กลุ่ม1 ระดับจังหวัด ได้แก่ ผูบ้ ริหาร หัวหน้าและผูป้ ฏิบตั ิงานรับผิดชอบงานโรคไม่
ติดต่อเรื้ อรังของจังหวัด จากสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทัว่ ไป
และหัวหน้าผูบ้ ริหารหรือผูแ้ ทนจากภาคปกครองของจังหวัด

กลุ่ม 2 ระดับอาเภอลักษณะเมือง ได้แก่ ผูบ้ ริหาร หัวหน้าและผูป้ ฏิบตั ิงานรับผิดชอบ
งานโรคไม่ติดต่อเรื้ อรังของอาเภอลักษณะเมือง จากโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล
ทัว่ ไป สถานี อนามัย สาธารณสุข-อาเภอ และหัวหน้าผูบ้ ริหารหรือผูแ้ ทนจากภาค
ปกครองและท้องถิ่นของอาเภอ (เทศบาล หรือ ตาบล )

กลุ่ม3 ระดับอาเภอลักษณะชนบท ได้แก่ ผูบ้ ริหาร หัวหน้าและผูป้ ฏิบตั ิงาน
รับผิดชอบงานโรคไม่ติดต่อเรื้ อรังของอาเภอลักษณะชนบทจากโรงพยาบาลชุมชน
สถานี อนามัย สาธารณสุขอาเภอ และหัวหน้าผูบ้ ริหารหรือผูแ้ ทนจากภาคปกครอง
และท้องถิ่นของอาเภอ (เทศบาล หรือ ตาบล )
ผูใ้ ห้ขอ้ มูล
หนึ่ งทีมจะประกอบด้วย
 ผูส้ ม
ั ภาษณ์หลัก
 ผูช้ ่วยผูส้ ม
ั ภาษณ์
 ผูจ้ ดบันทึก
ทีมผูส้ มั ภาษณ์
ข้อมูลดิบที่ได้จากแต่ละฐานนามาตรวจสอบความครบถ้วนและ
ถูกต้องในแต่ละวัน
กระบวนการวิเคราะห์
ฐานข้อมูลปฐมภูมิ
การวิเคราะห์ขอ้ มูล (๑)
ฐานข้อมูลทุติยภูมิ
กระบวนการวิเคราะห์
ฐานข้อมูลทุติยภูมิ
นามาวิเคราะห์เพื่อประเมินสถานการณ์ผลการดาเนิ นการที่ผ่านมาโดย
การเชื่อมโยงข้อมูลจากหลายฐานลงตารางวิเคราะห์
การวิเคราะห์ขอ้ มูล (๒)
กระบวนการวิเคราะห์
ฐานข้อมูลปฐมภูมิ
จากการสังภาษณ์นามาจัดกลุ่มข้อมูล ตีความ
วิเคราะห์น้ าหนักของคุณภาพการแสดงออกของการป้องกัน
และจัดการปั ญหาของจังวัดในพื้ นที่ตวั แทน
โดยทีมผูส้ มั ภาษณ์ร่วมกันวิเคราะห์
การวิเคราะห์ขอ้ มูล (๓)
นาสู่การสังเคราะห์ สรุปเบื้ องต้นของสถานการณ์ภาพรวม
ประเด็นปั จจัยความสาเร็จและทิศการป้องกัน
นาเสนอกับตัวแทนจังหวัดเพื่อตรวจทานเป็ นครั้งสุดท้าย
นามาวิเคราะห์รายละเอียดรวมทั้งวิเคราะห์เปรียบเทียบ
สังคราะห์สรุปเป็ นภาพประเทศ
การวิเคราะห์สรุป
 เพิ่มคุ ภาพระบบการเ ้ าระวังทางระบาดวิทยา การประเมินสถานการ ์ และข้ อมูลเพื่อการ
บริหารนโยบายและยุทธศาสตร์ ด้านโรคไม่ ตดิ ต่ อเรื อ้ รั ง
 เสนอให้ มีการเตือนภัยและแผนการสื่อสารผลักดันความเข้ าใจที่ถูกต้ องและมีประสิทธิผลใน
การลดเสี่ยงลดโรค และขยายชุมชนลดเสี่ยงลดโรค โดยเฉพาะชุมชนที่ใกล้ ป่วยหรือป่ วยแล้ ว
 การพัฒนาสิ่งแวดล้ อมทางสังคมและกายภาพ ควรมีประเมินและพัฒนาให้ สอดคล้ องกับวิถี
ชีวติ นอกเหนือจากการทาตามนโยบาย
 มีการประเมินคุ ภาพและประสิทธิผลความครอบคลุมเพื่อเพิ่มความเข้ มแข็งเชื่อมโยงระบบ
ที่ชัดเจนระหว่ างกลุ่มเสี่ยงสูงและการดูแลต่ อเนื่องเมื่อเป็ นโรคเฉียบพลันได้ อย่ างทันท่ วงที
 ทบทวนการให้ ความสนใจต่ อปั ญหาการเข้ าถึงของผู้เป็ นความดันโลหิตสูงให้ พอ กับ
เบาหวานและการบริการป้องกัน และลดปั จจัยเสี่ยงในคนเป็ นโรค เพิ่มการให้ บริการการ
สนับสนุนการจัดการตนเองของผู้เป็ นโรค รวมทัง้ ประเมินคุ ภาพการรักษาเชิงระบบเป็ นระยะ
 เพิ่มความเข้ มแข็งของการสร้ างภาคีนอกภาคสาธาร สุข และการทาเป้าประสงค์ และแผน
ยุทธศาสตร์ สุขภาพร่ วมกันในการลดปั ญหาโรคไม่ ตดิ ต่ อเรื อ้ รั ง
% 0f DALYS and Major Risk Factors Attributed in 2004
0.0%
2.0%
4.0%
6.0%
8.0%
10.0%
12.0%
14.0%
Unsafe Sex
Alcohol
Blood pressure
Tobacco
Non-Helmet
BMI
Cholesterol
Fruit&Vegetable
Illicit Drugs
Physical Inactivity
Air Pollution
WSH
Malnutrition-Inter
Malnutrition-Thai
Non-Seatbelt
Male
Female
Ref.: Report of Burden of Diseases 2004; printed in process. Bureau of Policy and Plan, Ministry of Public Health Thailand.
แผนภูมิที่ Continuous Risks of Blood Pressure, Cholesterol, and Body
Mass Index and Coronary Heart Disease Risk
a. Blood pressure
Relative risk of CHD
Systolic blood pressure (mmHg)
b. Cholesterol
Relative risk of CHD
Total cholesterol (mmol/l)
c. Body mass index
Relative risk of CHD
Body mass index (kg/m2)
Source: Disease Control Priorities in Developing Countries
Anthony Rodgers, Carlene M. M. Lawes, Thomas Gaziano, and others
แผนภาพ ตัวอย่ างแสดงการกระจายของความเสี่ยงสาหรั บกลุ่มโรคหัวใจและหลอด
เลือดและกลยุทธ์ การจัดการลดโรคบนพืน้ านประชากรและกลุ่มบุคคล
เสี่ยงสูง (Population & High-risk Based Management Strategies)
ร้ อยละ 5 ของบุคคลที่เป็ นโรค
มีค่าปั จจัยเสี่ยงระดับต่า
~ ร้ อยละ 70 ของบุคคลที่เป็ นโรค
มีค่าปั จจัยเสี่ยงระดับปานกลาง
~ ร้ อยละ 25 ของบุคคลที่เป็ นโรค
มีค่าปั จจัยเสี่ยงระดับสูง
การเข้ าถึงทางประชากรโดยขับเคลื่อน
การกระจายของประชากรทั้งหมด
ความเสี่ยงระดับบุคคล
ของโรคหัวใจขาดเลือด
การเข้ าถึงทางกลุ่มบุคคลเสี่ยงสูง
โดยระบุบุคคลเสี่ยงสูงและลดเสี่ยง
ในบุคคลหรื อกลุ่มบุคคล
การกระจายของจานวนผู้มีปัจจัยเสี่ยงระดับต่ าง