การใช้ทรัพยากรธรณีบริเวณดอยโง้ม

Download Report

Transcript การใช้ทรัพยากรธรณีบริเวณดอยโง้ม

การใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรณีบริเวณดอยโง้ม
ตาบลบ้านปิ น อาเภอลอง จังหวัดแพร่
บทนา
ส่วนหน้าเหมือง
 ลักษณะภูมิประเทศ
 ลักษณะธรณีวทิ ยาทัว่ ไป
 ลักษณะธรณีวทิ ยาแหล่งแร่
 การใช้ประโยชน์สินแร่
 การทาเหมืองของบริษทั เอส.ซี. ไมนิ่ง จากัด
ลักษณะภูมิประเทศ
Mining Lease Area
Camping Area
หมายเหตุ แผนทีฉ่ บับนี้ถ่ายจากแผนทีภ่ ูมิประเทศ ของกรมแผนทีท่ หาร มาตราส่วน 1 : 50,000
ลาดับชุด L 7017 ระวาง 4945 II
ลักษณะภูมิประเทศ
เป็ นส่วนหนึ่งของเทือกเขาดอยโง้ม
ภูเขาสูง วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ – ตะวันตกเฉียงใต้
จุดสูงสุดอยูท่ รี่ ะดับ 420 เมตรเหนือระดับนา้ ทะเลปานกลาง
จุดตา่ สุดทีร่ ะดับความสูง 300 เมตรเหนือ ระดับนา้ ทะเลปาน
กลาง
ป่ าเบญจพรรณ ประกอบด้วย ไม้เต็งรัง ไม้ไผ่ พืชล้มลุก
จาพวก สาบเสือ หญ้าคา
ลักษณะธรณีวิทยาทัว่ ไป
หมายเหตุ แผนที่
ฉบับนี้ถ่ายจากแผน
ทีธ่ รณีวทิ ยา ของ
กรมทรัพยากรธรณี
ระวางจังหวัดลาปาง
(NE 47-7)
มาตราส่วน
1:250,000 นามา
ขยายเป็ นมาตรา
ส่วน 1:100,000
ลักษณะธรณีวิทยาทัว่ ไป
ลักษณะธรณีวิทยาทัว่ ไป
หินชัน้ และหินแปร อายุเพอร์เมียนตอนบน
- หมวดหิน P3
หินอัคนี อายุไทรแอสซิก – เพอร์เมียน
- หินภูเขาไฟ หมวดหิน PTRv
หินชัน้ และหินแปร อายุไทรแอสซิก
- หมวดหิน TR5
- หมวดหิน TR6
- หมวดหิน TR7
ลักษณะธรณีวิทยาทัว่ ไป
หินอัคนี อายุควอเทอร์นารี
- หินโอลิวนี บะซอลต์ หมวดหิน bs
ตะกอน อายุควอเทอร์นารี
- ตะกอนตะพัก Qt
- ตะกอนนา้ พา Qa
ลักษณะธรณีวิทยาแหล่งแร่
 ตอนกลาง
- หินกรวดเหลี่ยม หินดินดาน หินทรายแป้ ง หินโคลน หินทราย
หินควอต์ไซต์ หินโดโลไมต์
๐
๐
- วางตัวในแนว N25 -30 E
- เป็ นชุดหินทีใ่ ห้แร่ (Ore silicified brecciated
rocks)
 ด้านตะวันออก
- หิน Leuco granite เนื้อละเอียด – หยาบปานกลาง
- นานา้ แร่ข้ ึนมาแทรกในหินกรวดเหลี่ยมและแนวรอยเลื่อย
ลักษณะธรณีวิทยาแหล่งแร่
 ด้านตะวันตก
- หินตะกอนหมวดหินฮ่องหอย ได้แก่ หินดินดาน หินโคลน
หินทรายแป้ ง หินทราย หินปูน
- วางตัวในแนวเดียวกับหินกรวดเหลี่ยม เอียงเทไปทางทิศ
ตะวันตก-ตะวันตกเฉียงเหนือ
แร่เฟอร์เบอไรต์ (Ferberite)
สูตรเคมี : FeWO4
ลักษณะเด่น
- รูปผลึกระบบโมโนคลินิก รูปผลึกมักจะแตกเป็ นแผ่นซ้อนกัน
เป็ นแท่งเรียงกัน และแบบมวลเมล็ดเนื้อสมานแน่น
- สีของแร่และสีผงละเอียดของแร่เป็ นสีดา
- ความแข็ง 4-4.5
- ความถ่วงจาเพาะ 7.0-7.5
- วาวกึ่งโลหะไปจนถึงวาวเหมือนยางสน
- เศษเล็กๆ ของแร่จะติดแม่เหล็ก
แร่เฟอร์เบอไรต์ (Ferberite)
การเกิด
- กระบวนการแปรสภาพของนา้ แร่รอ้ น(Hydrothermal
Alteration)
- แบบแปรสัมผัส(Contact Zone) ในลักษณะเป็ นเนื้อ
ประสาน
ระหว่างเศษหินในหินกรวดเหลี่ยมหรือแทนทีใ่ นหินเดิม
หรือ Stockwork กระจายในโซนหินกรวดเหลี่ยม
ลักษณะหรือรูปร่างมวลสินแร่ในแหล่งดอยโง้ม
- แบบสายแร่ขนาดเล็ก Veinlets/Stockwork
แร่เฟอร์เบอไรต์ (Ferberite)
ลักษณะเป็ นเนื้อประสาน
(Cementing)ระหว่างเศษหินในหินกรวด
เหลี่ยม(Breccia)
แร่เฟอร์เบอไรต์ (Ferberite)
- แบบแท่ง Rod-like Orebody
- แบบแร่กอ้ นฝังในดินเหนียว (Pebble Ores)
- ในแหล่งแร่ดอยโง้มเกิดร่วมกับ แร่พลวง และแร่ฟลูออไรต์
ประโยชน์
เป็ นสินแร่ทงั สเตน โลหะทังสเตนใช้ทาไส้หลอดไฟฟ้ า ผสมเหล็กทา
อุปกรณ์เครือ่ งจักรกล เช่น ทาเกราะ มีด มีดโกน หัวเจาะ ตะไบ และใบ
เลื่อย ถ้าผสมกับคาร์บอน นิกเกิล และโคบอลต์ ทาวัตถุสาหรับตัด
เหล็กกล้าทีใ่ ช้ความเร็วสูง และบรอนซ์ซงึ่ เป็ นสารประกอบของทังสเตนใช้
ทาสีเขียว สีเหลืองย้อมผ้าไหม ใช้ตกแต่งผสมแก้วและเครือ่ งปั้ นดินเผา
แร่พลวง (Stibnite)
สูตรเคมี : Sb2S3
ลักษณะเด่น
- ระบบผลึกแบบออร์โธรอมบิก มักพบเป็ นแท่งเรียวคล้ายเข็ม
เกาะรวมกันเป็ นกระจุกคล้ายรัศมีดาว หรือเป็ นแผ่นแบบใบมีด
เรียงซ้อนกัน
- สีเทาตะกัว่ ถึงสีดา ทึบแสง
- ความวาวแบบโลหะ
- ความแข็ง 2.0
- ความถ่วงจาเพาะ 4.5
แร่พลวง (Stibnite)
ลักษณะรูปผลึกแร่พลวง แท่งเรียวคล้ายเข็ม
เป็ นกระจุกคล้ายรัศมีดาว หรือเป็ นแผ่นแบบ
ใบมีดซ้อนกัน
แร่พลวง (Stibnite)
การเกิด
- แบบกระจายในหิน silicified mudstone
- แบบ stockwork
- ในแหล่งแร่ดอยโง้มเกิดร่วมกับแร่ฟลูออไรต์ แร่เฟอร์เบอไรต์
ประโยชน์
ถลุงได้โลหะพลวง ผสมกับโลหะตะกัว่ ทาแผ่นกริด แบตเตอรี่ ผสมตะกัว่
และดีบุกทาตะกัว่ ตัวพิมพ์และโลหะบัดกรีบางชนิด เป็ นส่วนประกอบของ
กระสุนปื น ใช้ในอุตสาหกรรมไม้ขีดไฟ ยาง ผ้าทนไฟ และในอุตสาหกรรม
เครือ่ งเคลือบ อุปกรณ์ทรานซิสเตอร์ หลอดยาสีฟัน สี และ ยารักษาโรค
แร่ฟลูออไรต์ (Fluorite)
สูตรเคมี : CaF2
ลักษณะ
- รูปผลึกระบบไอโซเมทริก รูปผลึกมีลกั ษณะรูปลูกบาศก์ หรือ
มีเนื้อเหมือนนา้ ตาลทราย
- สีเขียวอ่อน เขียว มรกต ขาว เหลืองอมนา้ ตาล นา้ เงินอมเขียว
คราม และม่วง
- ความแข็ง 4
- ความถ่วงจาเพาะ 3.01-3.26
- โปร่งแสงหรือโปร่งใส มีความวาวคล้ายแก้ว
แร่ฟลูออไรต์ (Fluorite)
การเกิด
- เกิดเป็ นสายแร่(Vein) หรือกระเปาะแร่(Pocket)
- เกิดเป็ น Cementing matric ใน Breccia
- เกิดเป็ น Lens ใกล้กบั รอยสัมผัสหินแกรนิต
- เกิดแบบ Breccia filling มีแร่ควอตซ์เป็ นเพื่อนแร่ที่
สาคัญ
- เกิดร่วมกับแร่พลวง แร่ชไี ลต์และแร่เฟอร์เบอไรต์
แร่ฟลูออไรต์ (Fluorite)
แร่ฟลูออไรต์มีแร่ชไี ลต์เกิดร่วมด้วย
ชีไลต์
แร่ฟลูออไรต์ (Fluorite)
ประโยชน์
ใช้เป็ นเชื้อถลุงหรือ flux ในการถลุงเหล็ก ใช้ในอุตสาหกรรม
อะลูมิเนียม ทาอุปกรณ์กล้องจุลทรรศน์ ใช้ผสมทาวัสดุเคลือบเหล็กและ
เหล็กกล้า ผลิตใยแก้ว (fiber glass) และแก้วชนิดต่างๆ ผลิตแก๊ส
ฟรีออน (freon) ซึง่ ใช้ในเครือ่ งทาความเย็นต่างๆ ซึง่ ไม่เป็ นพิษเมื่อ
เกิดการรัว่ ใช้ในอุตสาหกรรมเคมีเตรียมกรดไฮโดรฟลูออริก ใช้ในการ
เคลือบเครือ่ งปั้ นดินเผา ถ้วยชาม หลอดไฟฟ้ า และทาเครือ่ งประดับได้
อีกด้วย
การทาเหมืองของบริษทั เอส.ซี. ไมนิ่ง จากัด
- เนื้อทีโ่ ครงการทัง้ หมด 433 ไร่ 2 งาน 90 ตารางวา
- ทาเหมืองโดยวิธีเหมืองหาบ การเดินหน้าเหมืองจะดาเนินการ
ผลิตแบบขัน้ บันได
- กาหนดความสูงแต่ละขัน้ บันไดไม่เกิน 4 เมตร ความกว้างไม่
๐
๐
น้อยกว่า 4 เมตร ความชันหน้าขัน้ บันไดประมาณ 80 - 90
โดยควบคุมความลาดชันสุดท้ายไม่เกินกว่า 45 องศา
- แร่ทผี่ ลิตได้ ทยอยตักขนใส่รถบรรทุกสิบล้อ เทกระจายบริเวณ
ลานคัดแร่ ให้คนงานคัดแร่ดว้ ยมือ
- หัวแร่จากการคัดแร่จะรวบรวมใส่รถบรรทุกเข้าโรงแต่งแร่ตอ่ ไป