Transcript ppt
ภาพรวมขั้นตอนการผลิตของอุตสาหกรรม
อัญมณี และเครื่ องประดับ
• แผนภาพกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมอัญมณี และ
เครื่ องประดับ.docx
โครงสร้ างและขั้นตอนการผลิต
อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ
ความสาคัญของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ
อุตสาหกรรมอัญมณี และเครื่ องประดับเป็ นอุตสาหกรรมที่มีความสาคัญต่อ
ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย กล่าวคือ เป็ นอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าการส่ งออกสู งอยู่
ใน 5 อันดับแรกของไทยในหมวดสิ นค้าอุตสาหกรรมและสามารถนาเงินตรา
ต่างประเทศเข้าสู่ ประเทศไทยโดยล่าสุ ดในปี 2556 มีมูลค่าการส่ งออกประมาณ 3.1
แสนล้านบาท เป็ นอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการจ้างงานสู งประมาณ 1.2 ล้านคน
ซึ่ งเป็ นแรงงานที่มีทกั ษะและความชานาญเฉพาะ เป็ นอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิด
มูลค่าเพิ่ม (Value Added) สู ง และเป็ นอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกันเชื่อมโยงกัน ตั้งแต่
การทาเหมือง การเจียระไน การออกแบบ การขึ้นตัวเรื อน และการทาวัสดุหีบห่อ
เป็ นต้น
จานวนการว่ างจ้ างทางานในอุตสาหกรรมอัญมณี
และเครื่องประดับ
ขั้นตอนการผลิต
จานวนว่าจ้ างทางาน (ประมาณคน)
การปรับปรุ งคุณภาพพลอย
6,000
การเจียระไน (การตั้งน้ า,การโกลนพลอย,
แต่งพลอย ฯลฯ)
720,000
การออกแบบ
5,000
การขึ้นรู ป (การล่อโลหะ, การขัดและชุบ)
150,000
การเข้าตัวเรื อน และฝังพลอย, การขัดผิว
งานขั้นสุดท้าย, การตรวจสอบคุณภาพ
และการบรรจุหีบห่อ
250,000
การตลาด
40,000
รวมการว่าจ้ างทั้งหมด
ในอุตสาหกรรม
1,171,000
ที่มา การประกาศให้ ประเทศไทยเป็ น “Free Port of Gems: Zero V.A.T” โดยสมาคมผู้ค้าอัญมณีไทยและเครื่องประดับ
โครงสร้ างของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย
ต้ นนา้
การทาเหมือง
อัญมณี
กลางนา้
อุตสาหกรรม
เจียระไนอัญมณี
(เพชร,พลอย)
ปลายนา้
อุตสาหกรรม
การผลิต
เครื่องประดับ
(เครื่องประดับแท้ ,เทียม)
ขั้นตอนการผลิตอัญมณีและเครื่องประดับ
ขั้นตอนที่ 1 การทาเหมืองอัญมณี (Mining)
สาหรั บกรรมวิธีการขดุ พลอยมีอย่ ู 2 วิธีการคือ
การขุดบ่ อพลอยและการทาเหมืองพลอย
1. การขุดบ่ อพลอย เป็ นวิธีการแบบดั้งเดิมที่ใช้แรงงานคนในการขุดเป็ นสาคัญ มีการ
ใช้เครื่ องมือเพียงเล็กน้อยและไม่ซบั ซ้อน เช่น จอบ ชะแลง บุง้ กี๋ และตะแกรงร่ อน
เป็ นต้น สาหรับวิธีการขุดจะใช้แรงงานชาย 2 คนในการขุด ซึ่ งจะใช้เวลาในการขุด
ประมาณ 15 – 20 วัน จึงจะถึงชั้นแร่
2. การทาเหมืองพลอย เป็ นการทาเหมืองพลอยที่มีการนาเครื่ องจักรมาใช้แทนแรงงาน
จึงเป็ นกรรมวิธีที่ใช้เงินลงทุนสู ง โดยเงินลงทุนขั้นต้นไม่ต่ากว่า 30 ล้านบาท
การทาเหมืองพลอยในปัจจุบันแบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท คือ การทาเหมืองสู บ และการ
ทาเหมืองหาบ
ปั๊ม
เปิ ดหน้ าดิน
สายแร่
ตะแกรงหมุน
พลอย
คัดเก็บด้ วย
มือ
จิ๊กเก็บแร่
หางแร่ ทงิ้
รูปที่ 1 แผนผังการทาเหมืองสู บ
รูปที่ 2 การทาเหมือง ณ จังหวัดจันทบุรี (การทาเหมืองหาบ)
เปิ ดหน้ าเหมือง
รถขุด Back Hoe
สายแร่
รถบรรทุก
ตะแกรงซี่คดั ขนาด
ตะแกรงหมุน
สายพานลาเลียง
จิ๊กเก็บแร่ ข้นั ต้ น
จิ๊กเก็บแร่ ข้นั ทีส่ อง
คัดเก็บด้ วยมือ
พลอยและเพือ่ นพลอย
รูปที่ 3 แผนผังการทาเหมืองหาบโดยใช้ เครื่องจักรกลขนาดหนัก
หางแร่ ทงิ้
วัตถุดบิ ทีส่ าคัญในการผลิตเครื่องประดับ แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ
- วัตถุดิบในการผลิตตัวเรื อนหรื อโลหะมีค่า
- อัญมณี ที่ประดับบนตัวเรื อน
โดยแหล่งที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตมีท้ งั การผลิตภายในประเทศและการนาเข้า
จากต่างประเทศ ซึ่ งส่ วนใหญ่แล้ววัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเครื่ องประดับไม่วา่ จะเป็ น
โลหะมีค่าหรื ออัญมณี ตอ้ งนาเข้าจากต่างประเทศ (ประมาณร้อยละ 95)
โดยแหล่งนาเข้าวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเครื่ องประดับที่สาคัญของไทย อาทิ อินเดีย
เบลเยียม สหรัฐอเมริ กา อิสราเอล สหราชอาณาจักร ฮ่องกง และกลุ่มประเทศอัฟริ กาใต้
1. วัตถุดิบในการผลิตตัวเรือนหรือโลหะมีค่า
วัตถุดิบที่นามาใช้ในการผลิตตัวเรื อน โดยทัว่ ไปแบ่งออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ คือ
ก. ทองคา (Gold)
ข. ทองขาว (Platinum)
ค. เงิน (Silver)
โลหะมีค่าทั้ง 3 ประเภท มีการขุดพบภายในประเทศไทยน้อยมากส่ วนใหญ่นาเข้าจาก
ต่างประเทศเป็ นหลัก
2. อัญมณีทปี่ ระดับบนตัวเรือน
อัญมณี หรื อรัตนชาติ หมายถึง วัสดุที่ส่วนใหญ่ (มากกว่าร้อยละ 90) เป็ นแร่ โดยทัว่ ไป
เมื่อได้รับการตัด/ขัด/ฝน/เจียระไน (ที่ไม่ตอ้ งเจียระไนก็มีเช่น ไข่มุก) แล้วมีความ
สวยงาม (Beauty) และเป็ นสิ่ งที่หายาก (rare) คงทน (durable) สามารถใช้เป็ นสิ่ งมีค่า
(valuable) และพกพา (portable) นาไปแลกเปลี่ยนซื้ อขายได้ นอกจากนี้โดยทัว่ ไปยัง
ต้องเป็ นที่นิยมอีกด้วย (พรสวาท, 2542) อัญมณี และรัตนชาติสามารถจัดจาแนกได้เป็ น
2 ประเภทใหญ่ ตามแหล่งกาเนิดของอัญมณี ได้ดงั นี้
ก. อัญมณีที่ถือกาเนิดจากสิ่ งมีชีวติ (Precious Stone Organism) เป็ นอัญมณี ที่เกิดจากสิ่ งมีชีวิต อาทิ
1.1 ไข่มุก (Pearl) เกิดจากการที่หอยมุกคายธาตุแคลเซียมคาร์บอเนตออกมาห่อหุม้ เม็ดทราย หรื อวัสดุแปลกปลอม
ที่หลุดเข้าไปในตัวมัน จนทาให้เกิดเม็ดไข่มุกขึ้นมา
1.2 ปะการัง (Coral) เกิดจากสัตว์ในทะเลตายและกลายเป็ นหิ น
1.3 อาพัน (Amber) เกิดจากยางของต้นไม้ที่สะสมอยูน่ บั ล้านๆ ปี
1.4 กาเกต (Gagate) เกิดจากไม้สนที่ผสุ ลายยาก นานๆ เข้าก็กลายเป็ นถ่านหิ น ที่มีสีดาเป็ นเงาสวยงาม และทนทาน
ข. อัญมณีที่เกิดจากสิ่ งไม่ มีชีวติ (Precious and Semi-Precious Gemstone) เป็ นอัญมณี ที่มีแร่ รัตนชาติ
หลายๆ ชนิดอยูด่ ว้ ยกัน ซึ่ งสามารถแบ่งย่อยออกตามคุณค่าและราคาได้ดงั นี้
2.1 อัญมณี ที่มีค่าสูงยิง่ (Precious Stone) ได้แก่ เพชร ทับทิม ไพลิน และมรกต อัญมณี ท้งั 4 ชนิ ดนี้ มีค่าและราคาสูง
มาก เมื่อเปรี ยบเทียบกับอัญมณี ประเภทอื่นๆ จึงจัดได้วา่ อัญมณี ประเภทนี้เป็ นอัญมณี ที่เลอค่า มีการนามาใช้ใน
การทาเครื่ องประดับอย่างกว้างขวาง เป็ นที่ตอ้ งการของบุคคลโดยทัว่ ไป นอกจากนี้ยงั แสดงถึงความมัง่ คัง่ ของผู้
ที่ได้ครอบครองไว้อีกด้วย
2.2 อัญมณี ที่มีค่าและราคารองลงมา (Semi-Precious Stone) เป็ นอัญมณี ที่เป็ นแร่ รัตนชาติ ที่มีค่ารองลงมาจาก
อัญมณี ใน 4 ประเภทแรก อัญมณี ในกลุ่มนี้ได้แก่ เพทาย อเมทีส เพอริ ดอท ทัวมารี น อความารี น เป็ นต้น
ขั้นตอนที่ 2 การเพิม่ มูลค่ า (Enhancement)
1. การปรับปรุงคุณภาพพลอย (Gem Enhancement) เป็ นการทา
ให้พลอยมีคุณภาพดีข้ ึนสวยงามขึ้นด้วยกรรมวิธีต่างๆ
ซึ่งวิธีการปรับปรุ งคุณภาพพลอยที่สาคัญๆ มีดงั นี้
- การเผาพลอยหรื อการหุงพลอย (Heat Treatment) วิธีการนี้นิยมนามาใช้กบั พลอย
ตระกูลคอรันดัม เช่น ทับทิม ไพลิน เป็ นต้น การเผาพลอยมีวตั ถุประสงค์เพื่อไล่
ตาหนิเส้นไหม (ซึ่ งจะช่วยให้พลอยใสสะอาดขึ้น) เพื่อเพิ่มหรื อลดสี ให้สวยงามขึ้น
กว่าเดิม การเผาเพื่อไล่เส้นไหมนั้นโดยปกติจะนาพลอยไปเผาที่อุณหภูมิประมาณ
1,600 – 1,900 องศาเซลเซี ยส วิธีน้ ีเป็ นที่ยอมรับของทัว่ โลก เนื่องจากเป็ นการ
ปรับปรุ งคุณภาพอย่างถาวร ทั้งนี้ ไทยได้ชื่อว่าเป็ นศูนย์กลางการเผาพลอย
เนื่องจากพลอยดิบทัว่ โลกจะผ่านมาที่ไทยเพื่อผ่านขั้นตอนการเผา
รูปที่ 4 พลอยก้ อน หรือเรียกว่ าพลอยดิบ
รูปที่ 5 การเผาพลอย
- การเคลือบสีพลอย (Diffusion) วิธีการนี้นิยมนามาใช้กบั พลอยตระกูลคอรันดัม
เช่น ทับทิม และแซปไฟร์ การเคลือบสี ทาได้โดยนาผงสารเคมีให้สีมาเผาพร้อมกับ
พลอยด้วยความร้อนสูง
- การอดุ (Surface repair) การอุดพลอยทาได้โดยนาซิ ลิกาเจล (Silica gel) ป้ ายบริ เวณ
ที่ตอ้ งการอุด แล้วนาพลอยไปเผา ซิ ลากาเจลจะกลายเป็ นแก้วติดเข้าไปในหลุม
2. การเจียระไน ประเทศไทยมีชื่อเสี ยงในด้านการเป็ นศูนย์กลางการ
เจียระไนอัญมณี และพลอยสี แห่งหนึ่งของโลก ความสวยงามของอัญมณี ที่
ผ่านการเจียระไนตกแต่งโดยช่างฝี มือเจียระไนชาวไทยเป็ นที่ยอมรับว่าได้
มาตรฐานโลก นอกจากนี้ยงั มีการเจียระไนเพชรเรี ยกว่า บางกอกคัท ซึ่ง
เป็ นเหลี่ยมเจียระไนเฉพาะของไทย ซึ่งเป็ นที่รู้จกั ของโลก
โดยจะขอยกขั้นตอนการเจียระไนพลอยซึ่งมีรายละเอียดพอสังเขป ดังนี้
• การขึ้นรูป (การโกลนพลอย) ภายหลังจากการคัดเลือกพลอยหรื อ
ปรับปรุ งคุณภาพพลอยแล้ว ช่างเจียระไนจะนาพลอยมาตกแต่งขึ้น
รู ปร่ างตามลักษณะสภาพของก้อนพลอย เช่น รู ปมาคี รู ปเหลี่ยมต่างๆ
ฯลฯ โดยใช้หินเพชรหมุนด้วยพลังไฟฟ้ าช่วยในการตกแต่ง
• การแต่ งพลอย เป็ นการนาพลอยที่ข้ ึนรู ป (โกลน) เรี ยบร้อยแล้ว มาติดไม้
(ทวน) โดยที่ปลายทวนจะมีแชลแลค เป็ นตัวเชื่อมให้พลอยติดกับทวน
(นาพลอยมาลนไฟให้ร้อนแล้วนามาแตะที่แชลแลค เมื่อแชลแลคเย็นตัว
ก็จะจับตัวพลอยไว้อย่างแน่นหนา)
• การเจียระไนตัดเหลี่ยม นาพลอยที่ผา่ นการแต่งแล้วไปเจียระไน ด้วยจักร
เจียระไน ซึ่งทาด้วยเหล็กกล้า พื้นหน้าของจักรเจียระไนจะเซาะเป็ นร่ อง
การคัดเลือกพลอย
การขึน้ รูป
(การโกลนพลอย)
การแต่ งพลอย
พลอยที่เจียระไน
แล้ว
การขัดเงา
การเจียระไน
ตัดเหลีย่ ม
รูปที่ 6 ขั้นตอนการเจียระไนพลอย
รูปที่ 7 การเจียระไนพลอย
รูปที่ 8 พลอยร่ วง (พลอยทีเ่ ผาและเจียระไนเสร็จเรียบร้ อย)
ขั้นตอนที่ 3 การผลิตเครื่องประดับอัญมณี
(Jewelry Manufacturing)
1. การผลิตตัวเรือนด้ วยมือ
เป็ นวิธีการที่เหมาะสาหรับการผลิตเครื่ องประดับที่มีราคาสู ง
เน้นความละเอียดของงานที่มีการออกแบบตัวเรื อนเป็ นพิเศษ และมีการผลิต
ในปริ มาณน้อย ซึ่งสามารถสรุ ปขั้นตอนการผลิตได้ดงั นี้
การขึน้ รูป
การแต่ งตัวเรือน
รูปที่ 9 ขั้นตอนการผลิตเครื่องประดับด้ วยมือ
การฝัง
การชุบ
การตรวจสอบ
2. การผลิตด้ วยเครื่องมือหรือเครื่องจักร
เหมาะสาหรับการผลิตในปริ มาณมาก โดยมีรูปแบบของสิ นค้าที่ไม่ซบั ซ้อน
มากนัก ส่ วนใหญ่เป็ นการผลิตในลักษณะของอุตสาหกรรม การผลิตใน
ลักษณะนี้มีตน้ ทุนการผลิตที่ต่า สิ นค้าที่ผลิตไม่เน้นรู ปแบบที่พิเศษ
ซึ่ งสามารถสรุ ปขั้นตอนการผลิตได้ดงั นี้
จากนั้นก็จะเป็ นช่องทางการจาหน่าย ซึ่งส่ วนใหญ่แล้วไทยเป็ น OEM
รับจ้างการผลิต อย่างไรก็ตามโรงงานส่ วนที่เป็ น OBM เช่น บริ ษทั แพรนด้า
จากัด ส่ งออกโดยใช้ตราสิ นค้า Prima Gold, Prima Diamond, Prima Art
บริ ษทั โกลด์มาสเตอร์ ใช้ตราสิ นค้า Gold Master เป็ นต้น
ทั้งนี้ ไทยส่ งออกเครื่ องประดับแท้ทาด้วยเงิน เป็ นอันดับ 1 ของโลกเลยทีเดียว ด้วยมูลค่า
ประมาณ 1,600 ล้านเหรี ยญสหรัฐฯ ในปี 2556
การเตรียมงาน
ตัวอย่ าง
การทาแม่ พมิ พ์ยาง
การฉีดเทียน
การทาต้ นเทียน
ชิ้นงาน
การตัดชิ้นงาน
การหล่อตัวเรือน
โลหะ
การอบแม่ พมิ พ์ปูน
การทาแม่ พมิ พ์ปูน
การตกแต่ งตัวเรือน
การขัดตัวเรือน
การฝังอัญมณี
รูปที่ 10 ขั้นตอนการผลิตเครื่องประดับด้ วยเครื่องมือเครื่องจักร
การชุบและขัดตัว
เรือน
การตรวจสอบ
รูปที่ 11 เครื่องประดับสาเร็จรูป