(เอกสารบรรยาย5) การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำกรมชลประทาน

Download Report

Transcript (เอกสารบรรยาย5) การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำกรมชลประทาน

การจัดระบบตาแหน่งลูกจ้างประจา
กรมชลประทาน
ตามหนังสือสานักงาน ก.พ.
ที่ นร 1008/ว 4 ลงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2553
และ ที่ นร 1008/ว 14 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2553
สภาพปั ญหาเกีย่ วกับระบบตาแหน่งลูกจ้างประจา
ก่อนจัดตาแหน่งลูกจ้างประจาเข้าสู่ระบบใหม่

มีจานวนสายงาน/ชื่อตาแหน่งมาก
 ลักษณะงานเหมือนกันแต่ชื่อต่างกัน
 ตาแหน่ง/สายงานคล้ายกันแต่จด
ั อยู่ในหมวด/ชั้นงานที่ต่างกัน
 มีการกาหนดหมวดลักษณะงานที่เหมือนกับงานของข้าราชการ
ทาให้เกิดความซ้ าซ้อน
 เมือ
่ เลือ่ นระดับชั้นต้องย้ายหมวด
จานวนสายงานของลูกจ้างประจาตามระบบเดิม
แบ่งเป็ น 7 หมวด 1 กลุ่มงาน โดยมี 1,268 สายงาน
1. หมวดแรงงาน จานวน 68 สายงาน
2. หมวดกึง่ ฝี มือ จานวน 162 สายงาน
3. หมวดฝี มือ จานวน 224 สายงาน
4. หมวดฝี มือพิเศษระดับต้น จานวน 94 สายงาน
5. หมวดฝี มือพิเศษระดับกลาง จานวน 61 สายงาน
6. หมวดฝี มือพิเศษระดับสูง จานวน 12 สายงาน
7. หมวดฝี มือพิเศษเฉพาะ จานวน 11 สายงาน
8. กลุ่มชื่อ/ลักษณะงานเหมือนข้าราชการ จานวน 636 สายงาน
หลักการในการจัดระบบตาแหน่งลูกจ้างประจาใหม่

หลักความเป็ นธรรมที่เทียบเคียงกันได้ภายใต้มาตรฐานเดียวกัน
 หลักการใช้คนให้เหมาะกับตาแหน่งงาน
 หลักการสร้างแรงจู งใจในการปฏิบต
ั ิงาน
วัตถุประสงค์ในการจัดระบบตาแหน่งลูกจ้างประจาใหม่



เพือ่ ให้ระบบตาแหน่งลูกจ้างประจามีความทันสมัยสอดคล้องกับ
แนวโน้มการปรับบทบาทของภาครัฐ สภาพการณ์ทีเ่ ปลีย่ นไป
และภาระความรับผิดชอบในปั จจุบนั
เพือ่ ให้ส่วนราชการมีแนวทางในการบริหารอัตรากาลังลูกจ้างประจา
เกิดความคุม้ ค่า
เพือ่ เสริมสร้างขวัญ กาลังใจและแรงจู งใจในการทางานของ
ลูกจ้างประจา
ตารางเปรียบเทียบการจัดระบบตาแหน่งลูกจ้างประจา
ระบบเดิม
(7 หมวด 1 กลุ่ม 1268 สายงาน)
1. หมวดแรงงาน
2. หมวดกึง่ ฝี มือ
3. หมวดฝี มือ
4. หมวดฝี มือพิเศษระดับต้น
5. หมวดฝี มือพิเศษระดับกลาง
6. หมวดฝี มือพิเศษระดับสูง
7. หมวดฝี มือพิเศษเฉพาะ
8. กลุ่มชื่อ/ลักษณะงานเหมือน
ข้าราชการ
1.
2.
3.
4.
ระบบใหม่
(4 กลุ่มตาแหน่ง 345 สายงาน)
กลุ่มงานบริการพื้ นฐาน (56 สาย
งาน)
กลุ่มงานสนับสนุ น (143 สายงาน)
กลุ่มงานช่าง (138 สายงาน)
กลุ่มงานเทคนิคพิเศษ (8 สายงาน)
กลุ่มงานเทคนิคพิเศษ (ท.1-3) / หน.
ระบบตาแหน่งลูกจ้างประจาตามลักษณะงาน
แบ่งเป็ น 4 กลุ่มงานดังนี้




1. กลุ่มงานบริการพื้ นฐาน (บ 1 และ บ 2/2 หน.)
ลักษณะงานคือ ให้บริการเป็ นหลักหรืองานพื้ นฐานทัว่ ไป
2. กลุ่มงานสนับสนุน (ส 1 ,ส 2/2 หน. ส 3/3 หน. และ ส 4/4 หน.)
ลักษณะงานคือ ช่วยปฏิบตั ิหรือสนับสนุนผูป้ ฏิบตั ิภารกิจหลัก
3. กลุ่มงานช่าง (ช 1 ,ช 2/2 หน. ,ช 3/3 หน. และ ช 4/4 หน.)
ลักษณะงานคือ ปฏิบตั ิงานช่างในการสร้าง ใช้ ซ่ อม ประกอบ
เครือ่ งมือ เครือ่ งจักร อุปกรณ์
4. กลุ่มงานเทคนิคพิเศษ (ท 1 , ท 2/ 2 หน. และ ท 3/3 หน.)
ลักษณะงานคือ ปฏิบตั ิงานทีต่ อ้ งใช้เทคนิคพิเศษ
การกาหนดระดับชั้นงานของตาแหน่งในแต่ละงาน

1. กลุ่มงานบริการพื้ นฐาน มีระดับชั้นงานไม่เกิน 2 ระดับ ได้แก่
1.1 ระดับ บ 1 เป็ นตาแหน่งผูป้ ฏิบตั ิงานชั้นต้น เช่น ตาแหน่ง
พนักงานทัว่ ไประดับ 1 (เดิมตาแหน่งคนงาน)
1.2 ระดับ บ 2 หรือ บ 2/หัวหน้า เป็ นตาแหน่งผูป้ ฏิบตั ิงานทีม่ ี
ประสบการณ์และความชานาญงานหรือเป็ นตาแหน่งหัวหน้างาน เช่ น
ตาแหน่งพนักงานทัว่ ไประดับ 2 (เดิมตาแหน่งหัวหน้าคนงาน)
การกาหนดระดับชั้นงานของตาแหน่งในแต่ละงาน (ต่อ)

2. กลุ่มงานสนับสนุน มีระดับชั้นงานไม่เกิน 4 ระดับ ได้แก่
2.1 ระดับ ส 1 เป็ นตาแหน่งผูป้ ฏิบตั ิงานชั้นต้น เช่น ตาแหน่ง
พนักงานธุรการระดับ 1 (เดิมตาแหน่งพนักงานธุรการชั้น 1)
2.2 ระดับ ส 2 หรือ ส 2/หัวหน้า เป็ นตาแหน่งผูป้ ฏิบตั ิงานทีม่ ี
ประสบการณ์และความชานาญงานหรือเป็ นตาแหน่งหัวหน้างาน
เช่น ตาแหน่งพนักงานธุรการระดับ 2 (เดิมตาแหน่งพนักงาน
ธุรการชั้น 2)
การกาหนดระดับชั้นงานของตาแหน่งในแต่ละงาน (ต่อ)
2.3 ระดับ ส 3 หรือ ส 3/หัวหน้า เป็ นตาแหน่งผูป้ ฏิบตั ิงานทีม่ ี
ประสบการณ์และความชานาญงานสูงหรือเป็ นตาแหน่งหัวหน้างาน เช่น
ตาแหน่งพนักงานธุรการระดับ 3 (เดิมตาแหน่งพนักงานธุรการชั้น 3)
2.4 ระดับ ส 4 หรือ ส 4/หัวหน้า เป็ นตาแหน่งผูป้ ฏิบตั ิงานทีม่ ี
ประสบการณ์และความชานาญงานสูงมากหรือเป็ นตาแหน่งหัวหน้างาน
เช่น ตาแหน่งพนักงานธุรการระดับ 4 (เดิมตาแหน่งพนักงานธุรการ ชั้น
4) และตาแหน่งพนักงานธุรการระดับ 4 หัวหน้า (เดิมตาแหน่ง
พนักงานธุรการชั้น 4 หัวหน้าหน่วย)
การกาหนดระดับชั้นงานของตาแหน่งในแต่ละงาน (ต่อ)

3. กลุ่มงานช่าง มีระดับชั้นงานไม่เกิน 4 ระดับ ได้แก่
3.1 ระดับ ช 1 เป็ นตาแหน่งผูป้ ฏิบตั ิงานชั้นต้น เช่ น ช่างฝี มือ
โรงงานระดับ 1 (เดิมตาแหน่งช่างฝี มือโรงงานชั้น 1)
3.2 ระดับ ช 2 หรือช 2/หัวหน้า เป็ นตาแหน่งผูป้ ฏิบตั ิงานทีม่ ี
ประสบการณ์ และความชานาญงานหรือเป็ นตาแหน่งหัวหน้างาน เช่น
ช่างไฟฟ้ าระดับ 2 (เดิมตาแหน่งช่างไฟฟ้ าชั้น 2)
การกาหนดระดับชั้นงานของตาแหน่งในแต่ละงาน (ต่อ)
3.3 ระดับ ช 3 หรือช 3/หัวหน้า เป็ นตาแหน่งผูป้ ฏิบตั ิงานทีม่ ี
ประสบการณ์ และความชานาญงานสูงหรือเป็ นตาแหน่งหัวหน้างาน
เช่น ช่างเครือ่ งจักรกลระดับ 3 (เดิมตาแหน่งช่างเครือ่ งจักรกลชั้น
3)
3.4 ระดับ ช 4 หรือช 4/หัวหน้า เป็ นตาแหน่งผูป้ ฏิบตั ิงานทีม่ ี
ประสบการณ์ และความชานาญงานสูงมากหรือเป็ นตาแหน่งหัวหน้า
งาน เช่น ช่างฝี มือสนามระดับ 4 (เดิมตาแหน่งช่างฝี มือสนามชั้น
4), ช่างก่อสร้างระดับ 4 หัวหน้า (เดิมช่างก่อสร้างชั้น 4 หัวหน้า
หน่วย)
การกาหนดระดับชั้นงานของตาแหน่งในแต่ละงาน (ต่อ)

4. กลุ่มงานเทคนิคพิเศษ มีระดับชั้นงานไม่เกิน 3 ระดับ ได้แก่
4.1 ระดับ ท 1 เป็ นตาแหน่งผูป้ ฏิบตั ิงานทีม่ ีทกั ษะพิเศษ เช่น
ช่างอิเล็กทรอนิกส์ระดับ 1
4.2 ระดับ ท 2 หรือ ท 2/หัวหน้า เป็ นตาแหน่งผูป้ ฏิบตั ิงานทีม่ ี
ทักษะพิเศษและความสามารถเฉพาะอย่างสูง หรือเป็ นตาแหน่ง
หัวหน้างาน เช่น ช่างเครือ่ งบิน
4.3 ระดับ ท 3 หรือ ท 3/หัวหน้า เป็ นตาแหน่งผูป้ ฏิบตั ิงานทีม่ ี
ทักษะพิเศษและความสามารถเฉพาะอย่างสูงมาก หรือเป็ น
ตาแหน่งหัวหน้างาน เช่น นักบิน หัวหน้านักบิน
*ตาแหน่งกลุ่มงานนี้ ไม่มีในกรมชลประทาน*
ชื่อตาแหน่งลูกจ้างประจาของกรมชลประทาน
ตามระบบจัดตาแหน่งลูกจ้างประจาใหม่
กลุ่มงานบริการพื้ นฐาน







พนักงานทัว่ ไป
คนสวน
พนักงานสถานที่
พนักงานรักษาความปลอดภัย
ผูด้ ูแลหมวดสถานที่
พนักงานรับโทรศัพท์
พนักงานชลประทาน







กะลาสี
พนักงานเรือกล
พนักงานบริการเอกสารทัวไป
่
พนักงานเก็บเอกสาร
พนักงานจัดเก็บแผนที่
พนักงานวัดระดับน้ า
พนักงานประตูน้ า
ชื่อตาแหน่งลูกจ้างประจาของกรมชลประทาน
ตามระบบจัดตาแหน่งลูกจ้างประจาใหม่
กลุ่มงานสนับสนุน











พนักงานการเงินและบัญชี
พนักงานวิเคราะห์ราคางาน
พนักงานพัสดุ
พนักงานธุรการ
พนักงานพิมพ์แบบ
พนักงานพิมพ์
พนักงานจัดทาข้อมูลประมวลผล
พนักงานสถิติ
พนักงานสารวจ
พนักงานสือ่ สาร
พนักงานเกษตร










พนักงานส่งน้ า
พนักงานประจาห้องทดลอง
พนักงานห้องปฏิบตั ิการ
พนักงานส่งเสริมพลังงาน
พนักงานพัฒนาพลังงาน
นักพัฒนาพลังงาน
นายท้ายเรือ
พนักงานอาณาบาล
พนักงานจัดหาทีด่ ิน
พนักงานขับรถยนต์
ชื่อตาแหน่งลูกจ้างประจาของกรมชลประทาน
ตามระบบจัดตาแหน่งลูกจ้างประจาใหม่
กลุ่มงานช่าง










ช่างเขียน
ช่างไฟฟ้ า
ช่างสือ่ สาร
ช่างสารวจ
ช่างก่อสร้าง
ช่างไม้
ช่างฝี มือสนาม
พนักงานบารุงทาง
ช่างเครือ่ งจักรกล
พนักงานเครือ่ งจักรกล










ช่างเครือ่ งยนต์
ช่างฝี มือโรงงาน
ช่างเครือ่ งเรือ
พนักงานขับรถงานเกษตรและก่อสร้าง
พนักงานขับเครือ่ งจักรกลขนาดเบา
พนักงานขับเครือ่ งจักรกลขนาดกลาง
พนักงานขับเครือ่ งจักรกลขนาดหนัก
ช่างถ่ายภาพ
พนักงานเครือ่ งยก
ผูช้ ่วยช่างทัว่ ไป
จานวนลูกจ้างประจาของกรมชลประทาน
ตามการจัดระบบตาแหน่งลูกจ้างประจาเข้าสู่ระบบใหม่
มีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 เม.ย. 2553



กลุ่มงานบริการพื้ นฐาน
กลุ่มงานสนับสนุ น
กลุ่มงานช่าง
อัตรา
จานวน 8,084 อัตรา
จานวน
4,342 อัตรา
จานวน 7,833
รวมทั้งสิ้ น 20,259 อัตรา
หมายเหตุ สาหรับกรณีการบริหารอัตรากาลังลูกจ้างประจาตามระบบนี้ เช่น
การปรับระดับ การเปลีย่ นชื่อตาแหน่ง สายงาน หรือกลุ่มงาน ให้เป็ นไปตาม
หลักเกณฑ์ที่สานักงาน ก.พ. จะกาหนดต่อไป
อัตราค่าจ้างลูกจ้างประจาระบบใหม่
ตามการจัดระบบตาแหน่งของลูกจ้างประจากรมชลประทาน
เดิม (ขั้นสูง)
ใหม่(ขั้นสูง)
1. แรงงาน
12,440
14,140
2. กึง่ ฝี มือ
14,140
15,260
3. ฝี มือ
15,260
18,190
4. ฝี มือระดับต้น
18,190
22,220
5. ฝี มือระดับกลาง
6. ฝี มือระดับสูง
22,220
29,320
29,320
31,420
7. ลักษณะงานซ้ าซ้อนข้าราชการ
29,320
33,540
หมวด (เดิม)
Q&A