กฎหมาย

Download Report

Transcript กฎหมาย

กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง
ครอบครัว ช ุมชน ประเทศชาติ
และสังคมโลก
กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว
ช ุมชน ประเทศชาติและสังคมโลก
ตัวชี้วดั : วิเคราะห์และปฏิบตั ิตนตาม
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว
ช ุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก
(ส 2.1 ม. 4-6/1)
ความหมายความสาคัญ
ผังการเรียนรู้
ลักษณะของกฎหมาย
ประเภทของกฎหมาย
1.ความรู้
พืน้ ฐาน
เกี่ยวกับ
กฎหมาย
กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง
ครอบครัว ชุมชน
ประเทศชาติและสังคมโลก
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ , กฎหมาย
อาญา, กฎหมายอื่น ๆ ที่สาคัญ และ
ข้อตกลงระหว่างประเทศ
2.กฎหมายที่
เกี่ยวข้องกับ
ตนเองและ
ครอบครัว
ความรูพ
้ ้ ืนฐานเกี่ยวกับกฎหมาย
กฎหมาย (Laws)
ข้อบังคับของรัฐที่ตราขึ้นมาเพื่อใช้
กาหนด/ควบค ุมความประพฤติและ
ระเบียบแบบแผนของพลเมืองที่เข้ามา
อยูร่ ว่ มกันเป็นสังคม
ความสาคัญของกฎหมาย
เพื่อสร้างความสงบเรียบร้อยในสังคม
เพื่อควบค ุมพฤติกรรมของบ ุคคลใน
สังคมให้อยูใ่ นระเบียบแบบแผนที่ดีงาม
เพื่อปกป้องและรักษาชีวิตและทรัพย์สิน
ของประชาชน
ลักษณะของกฎหมาย
1. เป็นคาสัง่ หรือข้อบังคับที่ให้บคุ คลปฏิบตั ิ
ครอบคล ุมภายในอาณาเขตของประเทศ
2. เป็นคาสัง่ หรือข้อบังคับที่ผม้ ู ีอานาจโดย
รัฐเป็นผูต้ ราขึ้น
ลักษณะกฎหมาย……
3. ต้องมีสภาพบังคับ ผูใ้ ดฝ่าฝืนย่อม
ได้รบั โทษ เช่น
อาญา มีโทษ 5 สถาน
ประหารชีวิต
จาค ุก
กักขัง
ปรับ
ริบทรัพย์
แพ่ง ต้องชดใช้ค่าเสียหาย หรือ
ค่าสินไหมทดแทน
ลักษณะ…ต่อ…….
4.
มีผลใช้บงั คับตลอดไป จนกว่าจะถ ูก
ยกเลิก
เปลี่ยนแปลงกฎหมายโดย
กฎหมายอื่น
ลักษณะ…..ต่อ
5.
มีความเสมอภาคและย ุติธรรม ไม่มี
การละเว้นการปฏิบตั ิ หรือเจาะจง
เพื่อประโยชน์ต่อผูใ้ ด/กลมุ่ ใด ท ุก
คนต้องปฏิบตั ิตาม และจะอ้างว่า
ไม่รก้ ู ฎหมายมิได้
ประเภทของกฎหมาย
1.
แบ่งตาม
ความสัมพันธ์
ลักษณะของกฎหมาย : อธิบายตามประเภท
ของกฎหมาย
กฎหมาย
เอกชน
ลักษณะ
เป็นกฎหมายที่มี
ความสัมพันธ์
ระหว่างเอกชนกับ
เอกชน
หรือ เอกชน กับรัฐ และรัฐต้องมีสถานะ
เทียบเท่าเอกชน เช่น ประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์
รัฐกับประชาชน
กฎหมาย
มหาชน
ลักษณะ
รัฐมีฐานะที่มีอานาจ
มากกว่าประชาชน
เช่น
รัฐธรรมนูญ
กฎหมายอาญา
กฎหมาย
ระหว่าง
ประเทศ
รัฐกับรัฐ :
ลักษณะ
(G to G)
ในฐานะที่เท่าเทียมกัน
เช่น
สนธิ สญ
ั ญา อนุสญ
ั ญา พิธีสาร
ข้อตกลงระหว่างประเทศ
ประเภทของกฎหมาย…ต่อ
รัฐธรรมนูญ
แบ่งตามลาดับ
์
ศั
ก
ดิ
ของ
2.
กฎหมาย
พระราชบัญญัติ
พระราชกาหนด
พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง
กฎอื่น ๆ
ลักษณะของกฎหมาย
รัฐธรรมนูญ
กฎหมายสูงสุดในการ
จัดการปกครองรัฐ ถ้าแปล
ตามความหมายของคา จะ
หมายถึง การปกครองรัฐ
อย่างถูกต้องเป็ นธรรม
(รัฐ + ธรรม + มนูญ)
ท ุกประเทศทัว่ โลกมีการประกาศใช้รฐั ธรรมนูญ ทัง้ ประเทศที่มีการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตย รวมถึงประเทศที่ปกครองระบอบ
เผด็จการ เพื่อใช้เป็นหลักหรือเป็นแนวทางในการบริหารประเทศ
พระราช
บัญญัติ
กฎหมายที่ตราขึ้น
โดยผ่านนิติบญ
ั ญัติ
ลักษณะ
โดย ส.ส. หรือ
ครม. เป็ นผูเ้ สนอ
ตราขึ้นโดยฝ่ายบริหาร
พระราช
กาหนด
มีฐานะเทียบเท่า
พระราชบัญญัติ
จะตราได้เมื่อ ครม เห็น
ว่า เป็ น กรณีฉุกเฉิน
จาเป็ น เร่งด่วน ซึ่ง
หลีกเลี่ยงไม่ได้
พระราชกาหนด จะเน้นกระทาเมื่อ.....
1. รักษาความปลอดภัยของ
ประเทศ
สาธารณะ
2. รักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ
3. ป้องกันภัยพิบต
ั ิสาธารณะ
4. เพื่อรักษาผลประโยชน์ของแผ่นดิน
ขัน้ ตอนการดาเนินการ ตราพระราชกาหนด
1. ครม. เห็นชอบ
2. ประกาศเป็ นกฎหมายมีผลบังคับใช้ได้ทันที
ถ้าอยูใ่ นสมัยประชุม
ให้ ครม. เสนอ พระ
ราชกาหนด ต่อสภา
พิจารณาทันที
ถ้าอยูน่ อกสมัยประชุมสภา
ให้เรียกประชุมสมัยวิสามัญ
เพื่อขอความเห็นชอบต่อสภา
พระราช
กฤษฎีกา
ตราขึ้นโดยฝ่ายบริหาร
เพื่อวางระเบียบทางการ
บริหาร โดยอาศัย…
ลักษณะ
1. พระราชบัญญัติ
2. พระราชกาหนด
3. รัฐธรรมนูญ
โดยรัฐธรรมนูญให้อานาจไว้แล้ว
เป็ นกฎที่ตราขึ้น โดย
มี รัฐมนตรีท่ีดแู ล
กระทรวงนัน้ ๆ เป็ น
ผูก้ าหนดรายละเอี ยด
เพื่อนาไปสู่การปฏิบตั ิ
กฎอื่น ๆ
เช่น
ประกาศ ระเบียบ
ข้อบังคับ ฯลฯ
กฎหมายที่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้
ออก ได้แก่ เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติจงั หวัด
ข้อบังคับส ุขาภิบาล ข้อบัญญัติกร ุงเทพมหานคร
ข้อบัญญัติเมืองพัทยา
ประเภทของกฎหมาย ต่อ..
3.
แบ่งตาม
ลักษณะของ
การนาไปใช้
กฎหมายสารบัญญัติ
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
ลักษณะ….
กฎหมาย
สารบัญญัติ
1.เป็ นกฎหมายว่าด้วย สิทธิ
หน้าที่ และความรับผิดชอบของ
บุคคล
2.มีองค์ประกอบการกระทาผิด
3.มีสภาพบังคับ เช่น
-ประมวลกฎหมายอาญา
-ประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์
ลักษณะ….
กฎหมายวิธี
สบัญญัติ
เป็ นกฎหมายที่วา่ ด้วยการวาง
วิธีการปฏิบตั ิสาหรับบุคคลที่จะ
เรียกร้องของความคุม้ ครองของ
กฎหมาย เมื่อมีขอ้ โต้แย้งเกี่ยวกับ
สิทธิ และหน้าที่ เช่น
-ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา
-ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่ง
กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง และครอบครัว
ประวัติความเป็นมาความหมาย
หลักทัว่ ไป
ผัง
การ
เรียนรู้
การแบ่งหมวดหมู่
ความสามารถของบ ุคคล
กฎหมายเกี่ยวกับตนเอง
ชื่อบ ุคคล
บัตรประจาตัว
ประชาชน
กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว
การหมัน้ การสมรส ทรัพย์สินสามีภรรยา ความสัมพันธ์ใน
ครอบครัว การหย่า มรดก ทายาท พินยั กรรม
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ประวัติความเป็นมา
เริ่มขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2451
โดยมีกฎหมาย
แม่แบบหลัก ของ
ประเทศเยอรมัน
ญี่ป่ นุ
₊
ประเทศ
ฝรัง่ เศส และ
สวิส เป็น
แม่แบบรอง
₊
ของสยาม ชาติ
อื่น ๆ และ
กฎหมายระหว่าง
ประเทศบางส่วน
ความหมาย : กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง เป็นกฎหมายเอกชนว่าด้วยเรื่อง
สิทธิ
หน้ าที่
ความสัมพันธ์
ระหว่างเอกชนต่อเอกชน ตัง้ แต่เกิดจนกระทัง่ ตาย
กฎหมายแพ่งของไทยบัญญัติในร ูปของประมวล
กฎหมายรวมกับกฎหมายพาณิชย์
รวมเรียกว่า กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
กฎหมายพาณิชย์
กฎหมายว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของบ ุคคล อันเป็น
กฎหมายที่เกี่ยวกับการเศรษฐกิจและการค้า โดยวาง
ระเบียบเกี่ยวกับการค้าหรือธ ุรกิจระหว่างบ ุคคล
การตัง้ ห้างหน้ ุ ส่วน
การประกอบการ
เรื่องเกี่ยวกับตัว๋ เงิน (เช่น เช็ค)
กฎหมายว่าด้วยการซื้อขาย การเช่าทรัพย์ การจานอง
การจานาเป็นต้น
การแบ่งหมวดหมู่ของ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ปัจจุบนั กฎหมายแพ่งและกฎหมายพาณิชย์ของ
ประเทศไทยได้บญ
ั ญัติรวมเป็นกฎหมายฉบับเดียวกัน
เรียกว่า "ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์"
แบ่งออกเป็น 6 บรรพ…….
บรรพ 1 ว่า
ด้วยหล ักทว่ ั ไป
บรรพ 2 ว่า
ด้วยหนี้
บรรพ 5 ว่าด้วย
ครอบคร ัว
บรรพ 3 ว่า
ด้วยเอกสาร
ั
สญญา
บรรพ 4
ว่าด้วย
ิ
ทร ัพย์สน
บรรพ 6 ว่าด้วยมรดก
โดยมีผลใช้บงั คับครัง้ แรก
ใน พ.ศ. 2468 จนถึงปัจจุบนั
ประมวลกฎหมายดังกล่าวมีอายุ
เกือบหนึ่งศตวรรษแล้ว
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ : บรรพ 1-6
บรรพ 1 หลักทัว่ ไป ประกอบด้วย บทบัญญัติ 6 ลักษณะ
ลักษณะ 1 บทเบ็ดเสร็จทัว่ ไป
ลักษณะ 2 บ ุคคล
ลักษณะ 3 ทรัพย์
ลักษณะ 4 นิติกรรม
ลักษณะ 5 ระยะเวลา
ลักษณะ 6 อาย ุความ
บรรพ 2 หนี้ ประกอบด้วย
บทบัญญัติ 5 ลักษณะ ดังนี้
ลักษณะ 1 บทเบ็ดเสร็จทัว่ ไป
ลักษณะ 2 สัญญา
ลักษณะ 3 จัดการงานนอกสัง่
ลักษณะ 4 ลาภมิควรได้
ลักษณะ 5 ละเมิด
ไม่

บรรพ 3 ประกอบด้วยบทบัญญัติ 23 ลักษณะ
ลักษณะ 1 ซื้อขาย
ลักษณะ 2 แลกเปลี่ยน
ลักษณะ 3 ให้
ลักษณะ 4 เช่าทรัพย์
ลักษณะ 5 เช่าซื้อ
ลักษณะ 6 จ้างแรงงาน
ลักษณะ 7 จ้างทาของ
ลักษณะ 8 รับขน
ลักษณะ 9 ยืม
ลักษณะ 10 ฝากทรัพย์
ลักษณะ 11 ค้าประกัน
ลักษณะ 12 จานอง
ลักษณะ 13 จานา
ลักษณะ 14 เก็บของในคลังสินค้า
ลักษณะ 15 ตัวแทน
ลักษณะ 16 นายหน้า
ลักษณะ 17 ประนีประนอมยอม
ความ
ลักษณะ 18 การพนันและขันต่อ
ลักษณะ 19 บัญชีเดินสะพัด
ลักษณะ 20 ประกันภัย
ลักษณะ 21 ตัว๋ เงิน
ลักษณะ 22 หน้ ุ ส่วนและบริษทั
ลักษณะ 23 สมาคม
บรรพ 4 ทรัพย์สิน ประกอบด้วยบทบัญญัติ 8 ลักษณะ
ลักษณะ 1 บทเบ็ดเสร็จทัว่ ไป
ลักษณะ 2 กรรมสิทธิ์
ลักษณะ 3 ครอบครอง
ลักษณะ 4 ภาระจายอม
ลักษณะ 5 อาศัย
ลักษณะ 6 สิทธิเหนือพื้นดิน
ลักษณะ 7 สิทธิเก็บกิน
ลักษณะ 8 ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์
บรรพ 5 ครอบครัว ประกอบด้วย
บทบัญญัติ 3 ลักษณะ ดังนี้
ลักษณะ 1 การสมรส
ลักษณะ 2 บิดามารดากับบ ุตร
ลักษณะ 3 ค่าอ ุปการะเลี้ยงด ู
บ ุตร
บรรพ 6 มรดก ประกอบด้วย
บทบัญญัติ 6 ลักษณะ ดังนี้
ลักษณะ 1 บทเบ็ดเสร็จทัว่ ไป
ลักษณะ 2 สิทธิโดยธรรมในการรับมรดก
ลักษณะ 3 พินยั กรรม
ลักษณะ 4 วิธีจดั การและปันทรัพย์มรดก
ลักษณะ 5 มรดกที่ไม่มีผร้ ู บั
ลักษณะ 6 อาย ุความ
หลักทัว่ ไป : ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
บ ุคคล หมายถึง สิ่งซึ่งมีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย
มี 2 ประเภท
1.บ ุคคลธรรมดา หมายถึง มน ุษย์ซึ่งมีสภาพบ ุคคล และสิ้นสภาพ
บ ุคคล โดย…
การตายตามธรรมชาติ
กรณีไม่ปกติ 2 ปี คือ อยูใ่ น
หรือตายโดยการสาบสูญ ระหว่างการรบสงคราม
ประสบภัยในการเดินทาง
(กรณีปกติ 5 ปี)
เหต ุอันตรายต่อชีวิต)
นิติบ ุคคล หมายถึง สิ่งที่กฎหมายรับรองให้เป็นสภาพบ ุคคล
สมมติ ให้มีสิทธิหน้าที่เหมือนบ ุคคลธรรมดา แบ่งเป็น 2
ประเภท
1.นิติบ ุคคลตามกฎหมาย
เอกชน คือ นิติบ ุคคลที่บญ
ั ญัติไว้ใน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มีดว้ ยกัน 5ประเภท ได้แก่
(ก) บริษทั จากัด
(ข) ห้างหน้ ุ ส่วนจากัด
(ค) ห้างหน้ ุ ส่วนสามัญจดทะเบี ยน
(ง) สมาคม
(จ) มูลนิธิ
2.นิติบ ุคคลตามกฎหมาย
มหาชน คือ นิติบ ุคคลที่
บัญญัติไว้ในกฎหมาย
มหาชนอื่นๆซึ่งมีเป็นจานวน
มาก เช่น โรงเรียน วัด
จังหวัด กระทรวง ทบวง
กรม องค์การมหาชน
เป็นต้น
ความสามารถของบ ุคคล
การใช้สิทธิและหน้าที่ของบ ุคคลที่มีอยู่ได้มากน้อย
เพียงใดปกติท ุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันตาม
กฎหมายแต่มีความสามารถใช้สิทธิแตกต่างกัน
แบ่งตามสิทธิได้ 2 ทาง คือ1) การมีสท
ิ ธิ
ต่าง ๆ เช่น สิทธิการครอบครอง สิทธิใน
การเรียกร้องความย ุติธรรม ฯลฯ
2) การใช้สิทธิ ต่าง ๆ เช่น สามารถ
ในการทานิติกรรม การสมรส การ
ไหนด ูหน่อยซิ..หมายความว่าอะไร รับบ ุตรบ ุญธรรม เป็นต้น
ความสามารถของบ ุคคล กับ
ความแตกต่างในการใช้สิทธิ
บ ุคคลไร้ความสามารถ
หรือบ ุคคลที่ถ ูกจากัด
ความสามารถ ได้แก่
ผูเ้ ยาว์ ผูไ้ ร้ความสามารถ
ผูเ้ สมือนไร้ความสามารถ คนวิกลจริต
ความหมายของผูเ้ ยาว์
ผูเ้ ยาว์ คือ ผูท้ ี่ยงั ไม่บรรล ุนิติภาวะ ผูเ้ ยาว์จะบรรล ุ
นิติภาวะ ต่อเมื่อ
1.อาย ุ 20 ปี บริบรู ณ์
2.สมรสแล้วถูกต้องตามกฎหมาย โดยมีเงื่อนไข
 หญิงชายจะสมรสได้ต่อเมื่ออาย ุครบ 17 ปี
หรือ
เมื่อศาลอน ุญาตให้สมรสในกรณีอาย ุไม่ครบ 17 ปี
ความหมายของคนไร้ความสามารถ
คนไร้
ความ
สามารถ
เป็นบ ุคคลวิกลจริตที่อาจ
เกิดจากโรคจิต จิตฟั่น
เฟือน จิตบกพร่อง
มีผร้ ู อ้ งขอต่อศาลให้สงั่
เป็นคนไร้ความสามารถ
พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตายาย ผูส้ ืบสันดาน (ลูก หลาน เหลน) เป็ นผูร้ ้องขอ
ความหมายของคนเสมือนไร้ความสามารถ
=
คนเสมือนไร้
ความสามารถ
ศาลสังโดยการร้
่
องขอ
ของ สามี ภรรยา บิดา
มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย
ฯลฯ
บุคคลที่มีความบกพร่อง
บางอย่างไม่สามารถจัดการ
งานของตนเองได้ หรือถ้าได้
อาจจะเสียเปรียบหรือเสีย
ประโยชน์ เช่น ติดสุราเมายา
ประพฤติสรุ ยุ่ สุรา่ ย กายพิการ
จิตฟัน่ เฟื อนไม่สมประกอบ
กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง
กฎหมายเกี่ยวกับชื่อบ ุคคล
ประเภทของ
กฎหมายที่
เกี่ยวกับตนเอง

กฎหมายเกี่ยวกับบัตร
ประจาตัวประชาชน
กฎหมายเกี่ยวกับชื่อบ ุคคล
ความหมาย
ของชื่อบ ุคคล
ประกอบ
ด้วย
เป็นถ้อยคาที่ตงั้ ขึ้นเพื่อใช้เรียก
บ ุคคล เพื่อ บ่งบอกถึงตัวบ ุคคล
นัน้ เช่น คร ูอังศณา เป็นคร ูที่แสนจะ
ดีของนักเรียน ม.4 /1-6 เป็นต้น
ชื่อตัว (First Name)
ชื่อสก ุล (Family Name)
ชื่อตัว
(First Name)
ชื่อสกุล
(Family Name)
เป็ นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ว่าด้วยกฎหมายเกี่ยวกับตนเองและครอบครัว
บุคคลที่ถกู ต้องตามกฎหมายจะต้องเป็ นบุคคลที่มี
ชื่อตัว และชื่อสกุล ซึ่งมีทะเบียนของทางราชการ
กากับไว้ เพื่อจาแนก หรือบ่งบอกบุคคลในการอยู่
ร่วมกันในสังคม
ลักษณะและข้อห้ามในการตัง้ ชื่อตัวและชื่อุกล
จุฑามาศ
บิดามารดาหรือบุคคลอื่นเป็ นผูต้ งั ้ ให้
ธนพล
เป็ นชื่อที่มีความหมายในทางมงคล
ศุภชั
ตี๋
ชื่อตัว
ศิริกาญจนา
พรพิทกั ษ์
อธิศ
ชิดชนก-ชนนี
ชินพัฒน์
ธิติมา
ต้องไม่มีคาหรือความหมายหยาบคาย
ต้องไม่พ้องหรือมุ่งหมายคล้ายกับ
มหากษัตริย์ ราชวงศ์ หรือราชทินนาม
(บรรดาศักด์ ิ ที่พระราชทาน)
เกศรา
สุนทร
ไชยวัฒน์
เป็ นชื่อประจาวงศ์ตระกูลหรือประจา
ครอบครัวที่ใชุ้ืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบรษ
มุ่งซ้อนกลาง
มะนานวม แพรพลอย
บคคลที่ชอบด้วยกฎหมายย่อมมีุิทธิที่ใช้ชื่อ
ใจดี
เสวกชาติ
ุกลของบิดามารดาได้ตามกรณี
ชื่อุกล
ไอ..ยิ้ม ไอ..น้ อย
รู้รอบดี
แก้วนิตย์
สุขเกษม
โพธ์ ิ แจ้ง
ฉายาวัฒนา
กรณีขอตั้งชื่อุกลต้องไม่ซ้ ากับชื่อุกลที่
บคคลอื่นจดทะเบียนไว้แล้ว
ต้องไม่พอ้ งหรือม่งหมายคล้ายกับมหากษัตริย ์
พระบรมวงศานวงศ์ ราชวงศ์ หรือ
์
ราชทิ
น
นาม
(บรรดาศั
ก
ดิ
ที่พระราชทาน)
โพธ์ ิ ทิพย์
วงศ์แก้ว วงค์เรือง
มีเหตผลไม่เป็ นไปเพื่อการทจริต
หลักเกณฑ์การ
ขอเปลี่ยนชื่อตัว
และชื่อุกล
ถูกต้องตามหลักการตัง้ ชื่อบุคคล
ชื่อเปลี่ยนเหมาะุม ไม่ยาวเกินไป
ไม่เป็ นภาษาต่างประเทศ
ผูท้ ี่ยงั ไม่บรรลนิตภิ าวะต้องให้บิดา
มารดาให้ความยินยอม
กฎหมายเกี่ยวกับบัตรประจาตัวประชาชน
บคคลที่ชอบด้วย
กฎหมายต้องมีบตั ร
ประจาตัวประชาชน
เพื่อ
แุดงตนเป็ นผูท้ ี่มีุญ
ั ชาติ
แุดงภูมิลาเนาและที่อยู่
ใช้เป็ นหลักฐานในการติดต่อ
ติดตาม ให้ความช่วยเหลือด้าน
ต่าง ๆ ไดุ้ะดวกขึ้น
บทบัญญัตขิ อง
กฎหมายเกี่ยวกับ
บัตรประจาตัว
ประชาชน
ประชาชนทุกคนจะต้องมีบตั รประจาตัว
ประชาชน เมื่ออายุ 7 ปี บริบรู ณ์ จนถึงไม่
เกิน 70 ปี บริบรู ณ์ (ตามพระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการขอมีบตั รประจาตัวประชาชน
พ.ศ.2554
ยื่นคาขอมีบตั รต่อพนักงานเจ้าหน้ าที่
ณ ที่ว่าการเขตที่ตนเองมีภมู ิ ลาเนา
ไม่ปฏิบตั ติ าม
กฎหมายกาหนดต้อง
ถูกปรับตามอัตราที่
กาหนดไม่เกิน 200
บาท
กรณีบตั รหาย ชารด หมดอาย
(ครบ6 ปี ) ให้ยนื่ เรือ่ งขอมีบตั รใหม่
ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ที่มีชื่อยูใ่ น
ทะเบียนบ้านภายใน 90 วัน นับแต่
วันที่บตั รหาย ชารด หมดอาย
การหมัน้
การุมรุ
กฎหมาย
เกี่ยวกับ
ครอบครัว
ทรัพย์ุินระหว่างุามีภรรยา
ความสัมพันธ์ในครอบครัว
สินส่วนตัว
สินสมรส
การหย่า
มรดก
ทายาท
พินัยกรรม
โดยชอบธรรม
โดยพินัยกรรม
การหมัน้
ชาย หญิง มีอาย ุ17 ปี บริบรู ณ์
สภาพบ ุคคล
ของหมัน้
ความยินยอม
ของบ ุคคล
ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาย ุไม่ถึง ถือว่าเป็น
โมฆะ หมายถึง ไม่มีผลอันใดเกิดขึ้น
การหมัน้ ต้องของหมัน้ ที่เป็นทรัพย์สินซึ่ง
เป็นของฝ่ายหญิง และทรัพย์จะตกเป็นของ
ฝ่ายหญิงทันที
บิดามารดา ผูป้ กครอง ผูร้ บั บ ุตรบ ุญธรรม
การหมัน้ ที่ปราศจากความยินยอมถือเป็น
โมฆะ
การ
สมรส
ชาย-หญิง สามารถกระทาการสมรสได้
เมื่อทัง้ สองฝ่ายมีอาย ุ 17 ปีบริบรู ณ์
กรณีมีเหต ุอันสมควร สามารถ
อน ุญาตให้สมรสก่อนได้ เช่น ฝ่าย
หญิงตัง้ ครรภ์กอ่ น ฯลฯ
การสมรสจะชอบด้วยกฎหมาย
ต้องมีการจดทะเบียนสมรสกัน
ทรัพย์สินระหว่างสามีภรรยา
ประเภท
ของ
ทรัพย์สิน
สินส่วนตัว
สินสมรส
ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีอยู่
ก่อนสมรส
เช่น
สินส่วนตัว
เครือ่ งใช้สว่ นตัว
เครือ่ งแต่งกาย
หลักฐานว่าระบ ุว่าเป็นสินสมรส
สินสมรส
ผลประโยชน์ที่ได้รบั เมื่อสมรสแล้ว
เมื่อสมรสแล้วทรัพย์สินที่มีอยู่
ในสันนิษฐานไว้กอ่ นว่าเป็น
สินสมรส
สามีภรรยาต้องช่วยเหลือ อ ุปการะกันตาม
ความสามารถและฐานะของตน
บิดามารดาต้องเลี้ยงด ูบ ุตรจนบรรล ุนิติภาวะ
บิดามารดาต้องให้การศึกษาแก่บ ุตรถึงแม้จะ
บรรล ุนิติภาวะแล้ว
บ ุตรมีสิทธิใช้นามสก ุลและได้รบั มรดกของบิดา
ความสัมพันธ์
ในครอบครัว
การรับบ ุตรบ ุญธรรม ผูร้ บั ต้องมีอาย ุ
มากกว่า 25ปี และต้องแก่กว่าผูท้ ี่จะเป็น
บ ุตรบ ุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี
โดยความยินยอมของทัง้ สองฝ่าย :
มีผลต่อเมื่อไปจดทะเบียนหย่า
การหย่า
โดยคาพิพากษาของศาล : มีผล
ต่อเมื่อคาพิพากษาของศาลถึงที่ส ุด
ความหมาย
ทรัพย์สินท ุกชนิด รวมทัง้ สิทธิ หน้าที่ และความ
รับผิดชอบของผูต้ าย
มรดก
สิทธิของการได้รบั มรดก
• เจ้ามรดกตาย
โดยธรรมชาติ
• เจ้ามรดกถูก
เหต ุปกติ : ไม่อยูใ่ น
ภูมิลาเนาตลอด 5 ปี
ศาลสัง่ ให้เป็น
บ ุคคลสาบสูญ
เหต ุพิเศษ
ตลอดเวลา 2 ปี
สงคราม
สาบสูญ
ทายาท
1. โดยชอบธรรม ได้แก่ พ่อแม่ คสู่ มรสที่ชอบ
ด้วยกฎหมาย บ ุตรที่ชอบด้วยกฎหมายและ
บ ุตรบ ุญธรรม
2.โดยพินย
ั กรรม
ได้แก่ ผูช้ อบด้วยกฎหมายไม่
มีตวั ตนแล้ว ผูร้ บั โดยพินยั กรรมคือ ผูท้ ี่ผต้ ู าย
แสดงเจตนาไว้ให้เป็นผูร้ บั มรดก
พินยั กรรม
ผูต้ ายหรือ
เจ้าของมรดก
เป็นผูแ้ สดง
เจตนาไว้เป็น
หลักฐาน
พินยั กรรม หมายถึง
เอกสารที่แสดงตัว
บ ุคคลใดบ ุคคลหนึ่ง
ให้เป็นผูร้ บั มรดกต่อ
จากผูต้ ายหรือ
เจ้าของมรดก
รูปแบบพินยั กรรม
1. แบบธรรมดาหรือแบบทัว่ ไป
2. แบบเขียนเองทัง้ ฉบับ
4. แบบเอกสารลับ
3. แบบเอกสารฝ่ายเมือง
5.แบบทาด้วยวาจา
6.แบบทาในต่างประเทศ
7. แบบทาในภาวะสงคราม
แบบที่ 2 จัดว่าเป็ น
แบบสาคัญและเป็ นแบบ
ทีง่ ่าย
กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับนิติกรรมสัญญา
หนี้
เจ้าหนี้
ลูกหนี้
ทรัพย์
สังหาริมทรัพย์
อสังหาริมทรัพย์
ทรัพย์สิน
สัญญา
ซื้อ,ขาย
นิติกรรมสัญญา
การโอน
กรรมสิทธ์ ิ
ความหมายของหนี้
หนี้ เป็ นนิติสมั พันธ์ระหว่างบุคคลตัง้ แต่สอง
ฝ่ ายขึน้ ไป ซึ่งฝ่ ายหนึ่ งเรียกว่า "เจ้าหนี้ " มี
สิทธิที่จะบังคับบุคคลอีกฝ่ ายหนึ่ งซึ่งเรียกว่า
"ลูกหนี้ " ให้กระทาการหรืองดเว้นกระทาการ
อย่างใดอย่างหนึ่ งซึ่งเรียกว่า "การชาระหนี้ "
บ่อยครัง้ ที่หนี้ มกั จะเป็ นตัวเงิน จึงเรียกว่า
หนี้ สิน
ความหมายของนิติกรรม
การกระทาของบุคคลที่ชอบด้วย
กฎหมายและโดยสมัครใจ มุ่งต่อการทา
นิติสมั พันธ์ขึน้ ระหว่างบุคคล เพื่อ
ก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวแห่งสิทธิของ
ตน
ประเภทของนิติกรรมสัญญา
สัญญาซื้อขาย
สัญญาขายฝาก
การคา้ ประกัน
การจานา
การเช่าทรัพย์
การเช่าซื้อ
การกู้ยืม
การจานอง
สัญญาซื้อขาย
การกย้ ู ม
ื
การค้าประกัน
สัญญาขายฝาก
การเช่าทรัพย์
การเช่าซื้อ
ลักษณะของนิติกรรมสัญญาประเภทต่าง ๆ
สัญญาซื้อขาย
สัญญาที่บคุ คลฝ่ ายหนึ่ ง เรียกว่า
ผูข้ าย
โอนกรรมสิทธ์ ิ ในทรัพย์สินให้แก่
บุคคลอีกฝ่ ายหนึ่ ง เรียกว่า
ผู ซ้ ้อื
หน้าที่ : สิทธิ : อายุความ ของผูข้ ายและผูซ้ ้ ือ
หน้าที่
ต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ขายให้แก่ผูซ้ ้ ือตามที่ตกลงกันไว้ โดยส่งมอบ
ทรัพย์สินที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ไม่ชารุด บกพร่อง หรือมีตาหนิให้แก่ผูช้ ้ ือ
สิทธิ : 1. ผลิต รักษา ทรัพย์สินพร้อมส่งมอบตามที่กาหนด
ผูข้ าย
2. ส่งมอบ แจ้งผูซ้ ้ ือชาระหนี้
3. รับผิดชอบกรณีเสียหาย ต้องเป็ นไปตามสัญญาที่กาหนด
4. บอกเลิกสัญญา กรณีไม่เป็ นตามที่สัญญาที่กาหนด
อายุความ
กรณีไม่เป็ นไปตามข้อตกลงตามสัญญา
ผูข้ ายดาเนินการฟ้องร้องภายใน 1 ปี
หน้าที่ : สิทธิ :อายุความของผูช้ ้ ือ
1. รับมอบทรัพย์สินที่ซ้ ือขายตามที่ตกลงไว้
หน้าที่
2. ตรวจสอบทรัพย์สินที่มกี ารส่งมอบ ให้เป็ นไปตามเงื่อนไขที่กาหนด
3. ชาระค่าทรัพย์สินตามที่ตกลงกันไว้
สิทธิ
1. ตรวจสอบทรัพย์สินในการส่งมอบ
2. ทรัพย์สินไม่เป็ นไปตามที่กาหนด, แจ้งผูข้ าย, ไม่รับทรัพย์สนิ
3. บอกเลิกสัญญาตามที่ตกลงกันไว้ เรียกร้องค่าเสียหาย
อายุความ
ผูช้ ้ ือต้องดาเนินการฟ้องร้องภายใน 1 ปี
กฎหมาย : กาหนดเวลาการไถ่ทรัพย์สินคืน
ประเภทขายฝาก
อสังหาริมทรัพย์
ต้องกาหนดเวลาในการใช้สิทธิ ไถ่
คืนภายในเวลาไม่เกิน 10 ปี นับ
จากมีการซื้อขายกันกรณีไม่
กาหนดเวลาไถ่ทรัพย์สินหรือ
กาหนดเกินกว่า 10 ปี
กฎหมายให้ลดลงเหลือ
10 ปี
ประเภทสังหาริมทรัพย์
ธรรมดา และ พิเศษ
ต้องกาหนดเวลาไถ่คืนไม่เกิน 3
ปี นับตั้งแต่มีการซื้อขายฝาก
กัน กรณีไม่ได้ตกเรื่องระยะเวลา
การไถ่ทรัพย์สิน หรือกาหนด
มากกว่า 3 ปี กฎหมายให้
ลดลงเหลือ 3 ปี
สัญญาขายฝาก
ความหมาย :
สัญญาซื้อชายที่กรรมสิทธิ์ หรือการครอบครองทรัพย์ สินตกไปยังผู ้
ซื้ อ ซึ่งตกลงกันว่า ผูข้ ายจะไถ่ถอนทรัพย์สินภายในระยะที่กาหนด
เช่น ภายใน 3 ปี
หากถึงเวลาที่กาหนด ผูข้ ายไม่มาไถ่ถอน ทรัพย์สินนั้น
ตกเป็ นกรรมสิทธิ์ ของผูซ้ ้ ือ โดยกฎหมายกาหนดไว้ว่า
“ห้ามมิให้มีการขยายเวลาไถ่ถอนออกไป” กฎหมายจะไม่
มีผลต่อเมือ่ มีการขยายเวลาไถ่ถอนออกไป
การเช่าทรัพย์
เป็นสัญญาที่บ ุคคลหนึ่งเรียกว่า
ตกลงให้บ ุคคลอีกคนหนึ่งที่เรียกว่า

ผูใ้ ห้เช่า
ผูเ้ ช่า
ได้ใช้หรือได้รบั ประโยชน์จากทรัพย์สินที่ให้
เช่าในระยะเวลาที่กาหนด โดยผูเ้ ช่าตกลงจะ
ให้ค่าเช่าในการใช้ทรัพย์สินนัน้
การเช่าซื้อ
เป็นทานิติกรรมสัญญาที่เรียกว่า สัญญา
เช่าซื้อ ซึ่งเป็นสัญญาที่เจ้าของทรัพย์สิน
เอาทรัพย์สินของตนออกให้ผอ้ ู ื่นเช่า เพื่อใช้
สอยหรือเพื่อให้ได้รบั ประโยชน์ และให้คามัน่
ว่าจะขายทรัพย์นนั้ หรือ จะให้ทรัพย์สินที่
เช่าตกเป็นสิทธิแก่ผเ้ ู ช่าซื้อ เมื่อได้ใช้เงินจน
ครบตามที่ตกลงกันไว้ โดยการชาระเงินเป็น
งวด ๆ จนครบตามข้อตกลง
การกย้ ู ม
ื
การกย้ ู ม
ื เงินเป็นสัญญาที่เกิดจากบ ุคคลหนึ่งซึ่ง
เรียกว่า
ผูก้ ้ ู
ต้องการใช้เงินแต่ไม่มีเงินหรือมีแต่ไม่พอ ไปขอ
ยืมจากบ ุคคลอีกคนหนึ่งที่เรียกว่า
ผูใ้ ห้ก ้ ู
โดยที่ผก้ ู จ้ ู ะใช้เงินคืนภายในเวลาที่ตกลงกันได้ และผูใ้ ห้กจ้ ู ะคิด
ดอกเบี้ยหรือไม่คิดก็ได้
กฎหมายกาหนดอัตราขัน้ สูงส ุดไว้ไม่เกิน ร้อยละ 15 หรือ
ร้อยละ 1.25 ต่อเดือน
การค้าประกัน
หมายถึง การที่บ ุคคลหนึ่งที่เรียกว่า ผูค้ ้าประกัน ทาสัญญา
กับเจ้าหนี้ว่า ถ้าล ูกหนี้ไม่ชาระหนี้ ผูค้ ้าประกันจะชาระหนี้
นัน้ แทน เมื่อล ูกหนี้ไม่มาชาระ เจ้าหนี้ก็ยอ่ มมีสิทธิเรียกร้อง
หรือฟ้องให้ผค้ ู ้าประกันรับผิดได้
การที่จะฟ้องผูค้ ้าประกันรับผิดชอบตามสัญญา
ค้าประกันจะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือ
ชื่อผูค้ ้าประกันเป็นสาคัญ
การจานา
เป็นสัญญาซึ่งบ ุคคลหนึ่ง
เรียกว่า ผูจ้ านา ส่งมอบ
สังหาริมทรัพย์ (ทรัพย์ที่
เคลื่อนที่ได้) ให้แก่บ ุคคล
อีกคนหนึ่งเรียกว่า ผูร้ บั
จานา ครอบครองไว้เพื่อ
ประกันการชาระหนี้
การจานอง
หมายถึง สัญญาซึ่งบ ุคคล
หนึ่ง เรียกว่า ผูจ้ านองนา
ทรัพย์สินประเภท
อสังหาริมทรัพย์ (ทรัพย์ที่
เคลื่อนที่ไม่ได้) เช่น ที่ดิน
บ้านเรือน ฯลฯ ตราไว้แก่
บ ุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า
ผูร้ บั จานอง เป็นการประกัน
การชาระหนี้ โดยไม่ตอ้ งส่ง
มอบทรัพย์สินนัน้ ให้แก่ผร้ ู บั
จานอง
กฎหมาย: ทรัพย์ที่จะนามาจานองได้
1. อสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดิน
บ้านเรือน เป็นต้น
2. สังหาริมทรัพย์พิเศษ ได้แก่
เรือกาปั่น แพ สัตว์พาหนะ
เป็นต้น
กฎหมาย: ร ูปแบบการจานอง
ต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียน
ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ถ้าไม่
ปฏิบตั ิตามที่กฎหมายกาหนด
การจานองถือเป็น โมฆะ
ทรัพย์ หมายถึง วัตถุมีรปู ร่าง ซึ่ง
ได้แก่ สิ่งที่มองเห็นได้ด้วยตา
สัมผัสได้ด้วยมือ อาทิ โต๊ะ ตู้ ตัง่
เตียง ช้าง ม้า วัว ควาย เป็ นคามา
จากคาในภาษาสันสกฤตว่า
"ทฺรวฺย"
ความหมายของทรัพย์สิน
ลักษณะสาคัญของสิ่งที่จะถือได้ว่าเป็ นทรัพย์ตาม
กฎหมายนัน้ มี ดังนี้
1.เป็ นวัตถุมีรปู ร่าง คือ มองเห็นด้วยตาเปล่าและสัมผัส
จับต้องได้
2.ต้องมีราคาและถือเอาได้ หมายถึงต้องเป็ นสิ่งมี
ค่าไม่ว่าจะมีค่ามากหรือน้ อยก็ตามและสามารถ
ยึดถือเอาเป็ นเจ้าของได้
ทรัพย์สิน หรือเดิมเรียก ทรัพย์สมบัติ
หมายความถึง วัตถุทงั ้ ที่มีรปู ร่างและไม่มีรปู ร่าง ซึ่ง
อาจมีราคาและอาจถือเอาได้ เช่น บ้าน ที่ดิน
• เป็ นวัตถุมีรปู ร่าง ลิขสิทธ์ ิ สิทธิบตั ร เป็ นวัตถุไม่มี
รูปร่าง
• ซึ่งแบ่งประเภทเป็ น อสังหาริมทรัพย์สังหาริมทรัพย์ ซึ่งเดิมเรียก ทรัพย์สมบัติอนั พึง
เคลื่อนจากที่ได้และ อันที่ไม่พึงเคลื่อนจากที่ได้
ทรัพย์สิน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 138
“ทรัพย์สิน หมายความรวมทัง้ ทรัพย์และวัตถุไม่มี
รูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้”
วัตถุที่ไม่มีรปู ร่าง คือสิ่งที่ไม่สามารถมองเห็นได้
ด้วยตาเปล่า ไม่สามารถสัมผัสหรือจับต้องได้ เช่น
อากาศ พลังงานแสงอาทิตย์ รวมไปถึงสิทธิต่างๆ
ด้วย อาจจะเป็ นสิทธิในการเช่า ลิขสิทธ์ ิ สิทธิบตั ร
ฯลฯ แต่การที่วตั ถุไม่มีรปู ร่างจะเป็ นทรัพย์สินได้นัน้
จะต้องมีราคาและถือเอาได้ด้วย
ทรัพย์สินกับสิทธิที่เกิดขึน้ :1. กรรมสิทธ์ ิ
งานเข้า ให้หา
2. สิทธิครอบครอง
ความหมายของสิทธิที่
จะเกิดขึน้ ในการ
3. ภาระจายอม
ครอบครองทรัพย์สินที่
4. สิทธิอาศัย
มีอยู่ ส่งวันจันทร์ที่ 21
5. สิทธิเหนื อแผ่นดิน
ม.ค.56
จ้
ะ
6. สิทธิเก็บกิน
7. ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์
8. ทางจาเป็ น
อสังหาริมทรัพย์
ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้ เช่น
• ที่ดิน
• ทรัพย์ที่ติดกับที่ดินในลักษณะถาวร เช่น
บ้านเรือน
• ทรัพย์ที่ประกอบเป็ นอันเดียวกับที่ดิน เช่น
แม่น้า ลาคลอง
สังหาริมทรัพย์
ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ได้ เช่น
• เคลื่อนที่โดยการนาพาไป
เช่น เครื่องประดับ ทรัพย์
เรือ แพ ยานพาหนะ เป็ น
ต้น
หนี้ (Debt)
หนี้
(Debt) เป็ นนิติสม
ั พันธ์ระหว่าง
บุคคลตัง้ แต่สองฝ่ ายขึน้ ไป ซึ่งฝ่ ายหนึ่ ง
เรียกว่า "เจ้าหนี้ " มีสิทธิที่จะบังคับบุคคล
อีกฝ่ ายหนึ่ งซึ่งเรียกว่า "ลูกหนี้ " ให้กระทา
การหรืองดเว้นกระทาการอย่างใดอย่าง
หนึ่ งซึ่งเรียกว่า "การชาระหนี้ " บ่อยครัง้ ที่
หนี้ มกั จะเป็ นตัวเงิน จึงเรียกว่าหนี้ สิน
เจ้าหนี้ (CREDITOR)
ผูใ้ ห้กย้ ู ม
ื ทรัพย์แก่บ ุคคล ซึ่ง
เรียกว่า เจ้าหนี้ บ ุคคลซึ่งมีมลู หนี้
เหนือบ ุคคลอีกคนหนึ่ง ซึ่ง
เรียกว่า ล ูกหนี้ และมีสิทธิ์ที่จะ
เรียกให้ล ูกหนี้ชาระหนี้ได้
ล ูกหนี้ (Debtor)
ผูเ้ ป็นหนี้ หรือบ ุคคลผูม้ ีหนี้กบั
บ ุคคลอีกคนหนึ่งซึ่งเรียกว่า
เจ้าหนี้
ความระงับแห่งหนี้ หมายความว่า หนี้ได้ส้ ินส ุดลง
หรือได้ระงับลง ซึ่งมีอยู่ 5 กรณีได้แก่
1.การชาระหนี้
2.การปลดหนี้
3.การหักกลบลบหนี้
4.การแปลงหนี้ใหม่
5.หนี้เกลื่อนกลืนกัน
บรรพ 1 ลักษณะ 3 ว่าด้วยทรัพย์
ทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 137
“ทรัพย์ หมายความว่า วัตถุมีรปู ร่าง”
ลักษณะสาคัญของสิ่งที่จะถือได้ว่าเป็ นทรัพย์ตาม
กฎหมายนัน้ มีดงั นี้
1.เป็ นวัตถุมีรปู ร่าง คือ มองเห็นด้วยตาเปล่าและ
สัมผัสจับต้องได้ แต่ในบางกรณี กอ็ าจเป็ นสิ่งที่ไม่
สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าก็ได้ เช่น ความรู้
2.ต้องมีราคาและถือเอา
ได้ หมายถึงต้องเป็ นสิ่งมี
ค่าไม่ว่าจะมีค่ามากหรือ
น้ อยก็ตามและสามารถ
ยึดถือเอาเป็ นเจ้าของได้
กฎหมายอาญา(Crime Law)
เป็ นกฎหมายที่รฐั บัญญัติขึน้ เพื่อกาหนดลักษณะของ
การกระทาที่ถือว่าเป็ นความผิด และกาหนด
บทลงโทษทางอาญาสาหรับความผิดนัน้ เป็ น
กฎหมายที่บญ
ั ญัติว่าการกระทาหรือไม่กระทาการ
อย่างใดเป็ นความผิดกฎหมายที่รวมเอาลักษณะ
ความผิดต่าง ๆ และกาหนดบทลงโทษมาบัญญัติขึน้
กฎหมายอาญา
กฎหมายที่รวมเอาลักษณะความผิดต่าง ๆ และ
กาหนดบทลงโทษซึ่งบัญญัติขึน้ โดยมีจดุ ประสงค์ที่จะ
รักษาความสงบเรียบร้อยภายในสังคม การกระทาที่
มีผลกระทบกระเทือนต่อสังคมหรือคนส่วนใหญ่ของ
ประเทศ โดยถือว่าเป็ นความผิดทางอาญาหากปล่อย
ให้มีการดาเนินการเอง หรือปล่อยให้มีผก้ ู ระทาผิด
แล้วไม่มีการลงโทษจะทาให้มีการกระทาผิดมากขึน้
สังคมก็จะวุ่นวายขาดความสงบสุข
คาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายอาญา
• เจตนา  การกระทาผิดทาง
อาญาที่ผก้ ู ระทารอ้ ู ยูแ่ ล้วว่าสิ่ง
ที่ตนทานัน้ เป็นความผิดแต่ยงั
ทาลงไปทัง้ ที่รส้ ู านึกในการ
กระทา
• ประมาท  การกระทาที่ผก้ ู ระทา
มิได้ตงั้ ใจให้เกิดผลร้ายแก่ใคร แต่
เนื่องจากกระทาโดยไม่ระมัดระวัง หรือ
ระมัดระวังไม่เพียงพอ ทาให้เกิดผลร้าย
แก่ผอ้ ู ื่น
• ไม่เจตนา  การกระทาที่
ผูก้ ระทามิได้ตงั้ ใจทา เพื่อให้เกิดผล
อย่างหนึ่ง
ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
1. การลักทรัพย์
หยิบของผูอ้ ื่นไปเป็ นของตน
2. วิ่งราวทรัพย์
ฉกฉวยของผูอ้ ื่นไปซึ่งหน้ า
3.
4.
ชิงทรัพย์
ใช้กาลังประท ุษร้ายเพื่อให้ได้ทรัพย์
ของผูอ้ ื่น
ปล้นทรัพย์
ร่วมกันกระทาความผิดตัง้ แต่ 3
คนขึ้นไปเพื่อชิงทรัพย์ผอ้ ู ื่น
ใช้กาลังประท ุษร้าย ขูเ่ ข็ญ
ผูอ้ ื่นว่า จะทาอันตรายต่อ ชีวิต
ร่างกาย เสรีภาพ และชื่อเสียง
หรือทรัพย์สินของผูอ้ ื่น
6. รีดเอาทรัพย์
บีบบังคับผูอ้ ื่นให้มอบทรัพย์สิน
ให้ตน หากไม่ปฏิบตั ิตามจะ
เปิดเผยความลับที่มีต่อกัน
7. ฉ้อโกง
ทรัพย์
ใช้กลวิธี กลอ ุบายหลอกลวง
ปกปิดข้อเท็จจริงเพื่อให้ได้
ทรัพย์สินผูอ้ ื่น
8. ยักยอก
ทรัพย์
เบียดบังทรัพย์สินของผูอ้ ื่นมา
เป็นของตน
รับของโจร
ทาให้เสียทรัพย์
การบ ุกร ุก
ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย
ลักษณะ
เป็นความผิดที่ทาให้ผอ้ ู ื่นถึงแก่ความ
ตาย จะโดยเจตนา หรือ ประมาท ถือเป็น
ความผิดทัง้ สิ้น
ความผิดฐานฆ่าคนตาย
2. ความผิดเกี่ยวกับร่างกาย
ไม่มีอนั ตราย
มีอนั ตราย

ทาร้าย
ร่างกาย
ได้รบั อันตรายสาหัส
ถึงแก่ชีวิต
3.ความผิดที่ทาโดยประมาทต่อชีวิตและร่างกาย
การกระทา
โดยประมาท
เป็นเหต ุให้
กฎหมายอาญาต้อง
ชัดเจนแน่นอน
กฎหมาย
อาญาไม่
มีผล
ย้อนหลัง
ลักษณะสาคัญ
ของกฎหมาย
อาญา
ห้ามใช้กฎหมายอื่น
ลงโทษทางอาญาแก่
บ ุคคล
ห้ามใช้จารีต
ประเพณี
ลงโทษทาง
อาญาแก่
บ ุคคล
มี 5 สถาน
โทษทาง
อาญาหรือ
สภาพบังคับ
3.กักขัง
ลักษณะของโทษทางอาญา
1. ริบทรัพย์
เป็นโทษที่บงั คับเอากับทรัพย์สินโดย
บ ุคคลใดมี หรือ ครอบครองไว้หรือ มี
ไว้เพื่อกระทาความผิดซึ่งของผิด
กฎหมาย เช่น เงิน ยาเสพติด
( กัญชา ฝิ่น เฮโรอีน โคเคน) ปืนเถื่อน
สัตว์สงวน สัตว์ที่เป็นส่วนประกอบที่ใช้
กระทาความผิด เป็นต้น
ศาลอาจพิพากษาให้รบิ ทรัพย์นนั้ ให้ตกเป็น
แผ่นดิน หรือ ทาลายทรัพย์สินนัน้ เสีย
2. ปรับ
เป็นการบังคับเอาทรัพย์สินของ
ผูก้ ระทาผิด และต้องโทษปรับตาม
คาพิพากษาของศาลแล้ว
กระทาโดย
• กรณีผก้ ู ระทาไม่มีค่าปรับตามคาพิพากษาให้
กักขังแทนจนกว่าจะครบจานวนค่าปรับ
• ทัง้ นี้..การกักขังแทนการปรับต้องไม่เกิน ปี
• ยกเว้นกรณีปรับตัง้ แต่ 20,000 บาทขึ้นไป ศาลอาจให้สงั่
กักขังแทนค่าปรับเกิน 1 ปีได้ แต่ไม่เกิน 2 ปี
3. กักขัง
4. จาค ุก
การนาตัวผูก้ ระทาผิดไปกักขังใน
สถานที่กกั ขัง ก่อนการพิพากษา
ของศาล ที่ยงั มิใช่เรือนจา เช่น
สถานีตารวจธรรมศาลา
การนาตัวผูท้ ี่ตอ้ งคาพิพากษาของ
ศาลไปค ุมขังหรือจาค ุกในเรือนจา
ตามกาหนดเวลาที่ศาลมีคาพิพากษา
เช่น ต้องโทษคดีคา้ ยาเสพติดให้ได้รบั
โทษจาค ุก 10 ปี ที่เรือนจาเขาบิน
จังหวัดราชบ ุรี
5. ประหารชีวิต
การนาผูก้ ระทาผิดที่ศาล
พิพากษาให้ประหารชีวิตไป
ประหารตามหลักการประหาร
ที่กาหนด เช่น ประเทศไทย
ประหารชีวิตนักโทษด้วยการ
ฉีดยา เป็นต้น
โมฆะ หมายถึง เปล่า, ว่าง; ไม่มปี ระโยชน์, ไม่มผี ล, เช่น
สัญญาเป็ นโมฆะ; (กฎ) เสียเปล่า ไม่มผี ลบังคับหรือผูกพัน
ตามกฎหมาย. (ป., ส.).โมฆกรรม (กฎ) น. นิตกิ รรมทีเ่ สีย
เปล่า ไม่มผี ลบังคับหรือผูกพันตามกฎหมาย ไม่อาจให้
สัตยาบันแก่กนั ได้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียคนหนึ่งคนใด จะยก
ความเสียเปล่าขึน้ กล่าวอ้างก็ได้, กฎหมายเขียนเป็ น โมฆะ
กรรม.โมฆสัญญา น. สัญญาทีไ่ ม่มผี ลบังคับ.
โมฆกรรมและโมฆียกรรม
ความหมาย
โมฆกรรม
การทานิติกรรมใด ๆ ที่มีผล
ของนิติกรรมที่ได้ทาขึ้นนัน้ เสีย
เปล่า ไม่มีผลอันใดเกิดขึ้น
กฎหมายไม่ให้การรับรองผลไว้
1. การทานิติกรรมนัน
้ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ขัดต่อศีลธรรมอันดี
สาเหตุ
2. นิติกรรมนัน้ ไม่เป็ นไปตามความประสงค์ของผูแ้ สดงเจตนา
3. การทานิติกรรมผิดไปจากแบบแผนที่กฎหมายกาหนด
4. กฎหมายกับการบัญญัติสิทธิของผูก้ ระทานิติกรรม
โมฆียกรรม
นิตกิ รรมซึง่ อาจบอกล้าง เพิกถอน หรือให้
สัตยาบันได้ ถ้าบอกล้างก็เป็ นโมฆะมาแต่เริม่ แรก
ถ้าให้สตั ยาบันก็มผี ลสมบูรณ์มาแต่เริม่ แรก,
กฎหมายเขียนเป็ น โมฆียะกรรม.