ความรู้เบื้องต้น กม.อาญา-แพ่ง กม.วิ.อาญา -วิ.แพ่ง 1

Download Report

Transcript ความรู้เบื้องต้น กม.อาญา-แพ่ง กม.วิ.อาญา -วิ.แพ่ง 1

หลักสู ตรวิทยากรด้านการ
คุม
้ ครองผู บ
้ ริโภค
สาหร ับราชการบริหารส่วน
่ ประจาปี
ภู มภ
ิ าคและส่วนท้องถิน
2554 รุน
่ ที่ 1 ชุดที่ 1
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย ์และวิธ ี
พิจารณาความแพ่ง
25 เมษายน 2554
1
่
ส่วนที 1
กฎหมาย
แพ่งและ
พาณิ ชย ์
2
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย ์
่
่
บรรพ 1 หลักทัวไป
: กำหนดสำระทัวไป
้ สภำพบุคคล ทร ัพย ์ นิ ตก
ตังแต่
ิ รรม ระยะเวลำ
่
่
และอำยุควำม อันเป็ นกำรวำงหลักทัวไปที
จะ
่
นำไปปร ับใช ้ในบรรพต่ำงๆ ทีตำมมำ
บรรพ 2 หนี ้ : กำหนดควำมสัมพันธ ์ระหว่ำง
่ ำด ้วยสิทธิเรียกร ้อง มูลเหตุ
บุคคลในเรืองว่
่
้
แห่งหนี ้ สิทธิและหน้ำทีของเจ
้ำหนี และลู
กหนี ้
และ ผลแห่งหนี ้
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา : กำหนดประเภท
3
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน : ว่าด้วยสิทธิเหนื อ
ทร ัพย ์สินของบุคคล การคุม
้ ครอง
สิทธิในทร ัพย ์สินของบุคคล
บรรพ 5 ครอบคร ัว : ว่าด้วย
ความสัมพันธ ์ระหว่างบุคคลใน
้
ครอบคร ัวทังโดยสายเลื
อดและโดย
ความผู กพันทางกฎหมาย โดย
่
กาหนดสิทธิและหน้าทีของบุ
คคลไว้
ตามกฎหมาย
4
่
บรรพ 1 หลักทัวไป
(มำตรำ 4193/35)
แบ่งออกเป็ น 6 ลักษณะ ดังนี ้
่
1. บทเบ็ดเสร็จทัวไป
2. บุคคล (บุคคลธรรมดา/นิ ตบ
ิ ุคคล)
3. ทร ัพย ์
4. นิ ตก
ิ รรม
5. ระยะเวลา
6. อายุความ
5
่
บรรพ 1 หลักทัวไป
่
1. บทเบ็ดเสร็จทัวไป
- การตีความ (มาตรา 4) : ตามบทบัญญัต ิ
แห่งกฎหมายตามตัวอก
ั ษรหรือตามความ
้
มุ่งหมายของกฎหมายนัน
: หากไม่มก
ี ฎหมาย ให้ใช้จารีต
่
ประเพณี แห่งท้องถิน
่
บทกฎหมายทีใกล้
เคียงอย่างยิง่ และหลัก
่
กฎหมายทัวไป
ตามลาดบ
ั
: ข้อความใดตีความได้สองนัย ให้
่ งคบ
ตีความในทางทีบั
ั ใช้ได้ (มาตรา10)
6
่
บรรพ 1 หลักทัวไป
่
1. บทเบ็ดเสร็จทัวไป
่
้ อ
- ลายมือชือในเอกสำร
: ลำยพิมพ ์นิ วมื
แกงได
่
่ ทำนองเช่น
ตรำประทับหรือเครืองหมำยอื
น
ว่ำนั้น
(มำตรำ 9)
- หลักสุจริต (มำตรำ 5-6) : ใช ้สิทธิโดย
สุจริต กำรกระทำกำรโดยสุจริต
้
7
่
บรรพ 1 หลักทัวไป
2. บุคคล
2.1 บุคคลธรรมดา
่
่ อใด
่
สภาพบุคคลเริมเมื
: เมือคลอดและ
อยู่รอดเป็ นทำรก (มำตรำ 15)
บุคคลจะมีความสามารถในกำรทำนิ ติ
่
กรรมได ้ด ้วยตนเองเมือบรรลุ
นิตภ
ิ ำวะ =
่ อำยุครบ 20 ปี บริบรู ณ์ (มำตรำ 19)
เมือมี
่ ้ทำกำรสมรสเมืออำยุ
่
หรือเมือได
17 ปี
8
่
บรรพ 1 หลักทัวไป
2.1 บุคคลธรรมดา
่
หากบุคคลใดไปเสียจากภู มล
ิ าเนาหรือถิน
่ เ่ ป็ นเวลา 1 ปี โดยไม่มผ
ทีอยู
ี ู ใ้ ดร ับข่าว
่
้
่ ผู ้
เกียวกับบุ
คคลนันหรื
อ 1 ปี นับแต่วน
ั ทีมี
้ั
ได้เห็นหรือได้ทราบข่าวมาเป็ นครงหลั
ง
่
บุคคลตามทีกฎหมายก
าหนดอาจร ้องขอ
่ งผู
้ จ
ต่อศาลให้มค
ี าสังตั
้ ัดการทร ัพย ์สิน
้ ได้ (มาตรา 48) และถ้า
ของบุคคลนันก็
หายไปนาน 5 ปี (หรือ 2 ปี แล้วแต่กรณี )
่ เป็ นคนสาบสู ญก็ได้ และให้ถอ
ศาลจะสังให้
ื
9
่
บรรพ 1 หลักทัวไป
2.1 บุคคลธรรมดา
หำกคนสาบสู ญยังมีชวี ต
ิ อยู่หรือตำย
่ บุคคลตำมกฎหมำยอำจ
ในเวลำอืน
่ ้เป็ นคน
ร ้องขอให ้ศำลถอนคำสังให
ี ลต่อกำรใดๆ ที่
สำบสูญนั้นได ้ แต่ไม่มผ
ทำไปแล ้ว (มำตรำ 63)
10
่
บรรพ 1 หลักทัวไป
2.2 นิ ตบ
ิ ุคคล
้ สิทธิและหน้าที่
เกิดได้กแ
็ ต่โดยกฎหมายเท่านัน
กาหนดโดยกฎหมาย (มาตรา 65-66) ไม่ม ี
่ นเดียวก ับบุคคลธรรมดา
สิทธิและหน้าทีเช่
เฉพาะกรณี ทโดยสภาพจะพึ
ี่
งมีพงึ ได้แก่บุคคล
้ (มาตรา 67)
ธรรมดาเท่านัน
่ ันเป็ นทีต
่ ง้ั สานักงาน
ภู มล
ิ าเนา ได้แก่ ถินอ
่ าการ/ถินที
่ ได้
่ เลือกเอาเป็ นภู มล
ใหญ่/ทีท
ิ าเนา
เฉพาะการตามข้อบังคบ
ั หรือตราสารจัดตง้ั
่ าการสาขาด้วย
(มาตรา 68) รวมถึงทีท
11
่
บรรพ 1 หลักทัวไป
3. ทร ัพย ์
ทร ัพย ์ (มาตรา 137) = วัตถุทมี
ี่
รู ปร่าง
ทร ัพย ์สิน (มาตรา 138) = ทร ัพย ์
่
และวัตถุไม่มรี ู ปร่างซึงอาจมี
ราคา
และถือเอาได้
ตัวอย่างทร ัพย ์สิน = หุน
้ ในบริษท
ั
้
จาก ัด สิทธิตามสัญญาจะซือจะขาย
้ั
ใบอนุ ญาตให้ตงสถานบริ
การ สิทธิ
้ ดิ
่ น หนังสือ
การเช่า สิทธิเช่าซือที
12
่
บรรพ 1 หลักทัวไป
4. นิ ตก
ิ รรม = กำรใดๆ อันทำลงโดยชอบ
ด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อกำรผู กนิ ต ิ
้
่
สัมพันธ ์ขึนระหว่
อ
ำงบุคคล เพือจะก่
่
เปลียนแปลง
โอน สงวน หรือระงับ
่ ทธิ (มำตรำ 149)
ซึงสิ
้
ตัวอย่ำง : สัญญำซือขำยบ
้ำน สัญญำเช่ำ
้
ซือรถยนต
์ สัญญำจำนอง กำรถอนคำ
ร ้องทุกข ์ กำรยอมควำม กำรถอนฟ้ อง
13
่
บรรพ 1 หลักทัวไป
นิ ตเิ หตุ = เหตุเกิดตำมกฎหมำย
้
บัญญัติ ไม่ได ้เกิดขึนจำกควำม
สมัครใจของบุคคล เช่น ละเมิด
จัดกำรงำนนอกสัง่ ลำภมิควรได ้
เป็ นต ้น
ตัวอย่ำง : นำงสำว ก ขับรถชน
นำย ข (ละเมิด)
14
่
บรรพ 1 หลักทัวไป
5. ระยะเวลา
กำหนดเป็ นกฎหมำยกลำงในกำรนับ
ระยะเวลำ กล่ำวคือ ให ้เป็ นไปตำม ป.
่
พ.พ. ลักษณะนี ้ เว ้นแต่มก
ี ฎหมำยอืน
กำหนดไว ้เป็ นกำรเฉพำะ (มำตรำ
193/1-193/8) เช่น
่ นกว่
้
- หำกกำหนดระยะเวลำทีสั
ำวัน
้ ขณะเริมกำรนั
่
้น เป็ นต ้น
ให ้นับตังแต่
15
่
บรรพ 1 หลักทัวไป
6. อายุความ (มาตรา 193/9 - 193/35)
่
ความหมาย : ระยะเวลาทีกฎหมายก
าหนดให้
ใช้สท
ิ ธิเรียกร ้อง หากไม่ใช้ภายในระยะเวลา
้
ดังกล่าว สิทธิเรียกร ้องนันเป็
นอ ันขาดอายุ
ความ (มาตรา 193/9)
กาหนดวิธก
ี ารนับ อายุความสิทธิเรียกร ้อง
ของผู เ้ ยาว ์/คนไร ้ความสามารถ/คนเสมือนไร ้
ความสามารถ/บุคคลวิกลจริต (มาตรา
193/20-193/21) อายุความสิทธิเรียกร ้อง
16
่
บรรพ 1 หลักทัวไป
กรณี อายุความสะดุดหยุดลง (มาตรา
193/14)
้ อ จน. ตามสิทธิ
1. ลน. ร ับสภาพหนี ต่
เรียกร ้องโดยทาเป็ นหนังสือร ับสภาพหนี ้
้ บางส่วน ชาระดอกเบีย
้ ให้
ชาระหนี ให้
ประก ันหรือกระทาการใดๆ อ ันปราศจากข้อ
สงสัยแสดงให้เห็นเป็ นปริยายว่ายอมร ับ
สภาพหนี ้
่ งหลั
้ั
2. จน. ได้ฟ้องคดีเพือต
กฐานสิทธิ
่
เรียกร ้องหรือเพือให้
ชาระหนี ้
17
่
บรรพ 1 หลักทัวไป
กาหนดอายุความ
- หากไม่มก
ี าหนด จะมีอายุความ 10 ปี
(มาตรา 193/30)
- กาหนดอายุความตามแต่ละประเภท
่ ดขึนโดยค
้
เช่น สิทธิเรียกร ้องทีเกิ
า
่ งทีสุ
่ ด หรือโดย
พิพากษาของศาลทีถึ
สัญญาประนี ประนอมยอมความ มีอายุ
ความ 10 ปี (มาตรา 193/32) สิทธิ
้ างชาระ มีอายุ
เรียกร ้องดอกเบียค้
18
ภาษิตกฎหมาย (Legal Maxim)
โดยพฤตินย
ั (de facto)
หมำยควำมว่ำ ตำมควำมเป็ นจริง
โดยนิ ตน
ิ ย
ั (de jure)
่
หมำยควำมว่ำ ตำมทีกฎหมำยก
ำหนด
่ ำเสนอเป็ นเพียงแหล่งข ้อมูลให ้
หมายเหตุ ตัวเลขมำตรำทีน
ท่ำนนำไปศึกษำ
่ มเท่ำนั้น
ค ้นคว ้ำเพิมเติ
19
บรรพ 2 หนี ้
แบ่งเป็ น 5 ลักษณะ ดังนี ้
่
1. บทเบ็ดเสร็จทัวไป
2. สัญญา
3. จัดการงานนอกสัง่
4. ลาภมิควรได้
5. ละเมิด
20
บรรพ 2 หนี ้
∞ ความหมายของหนี ้
ตัวอย่าง
่ นไทรโศกจำกนำย ข
้ ดิ
(1) นำย ก ตกลงซือที
ในรำคำ 200,000 บ. วำงมัดจำ 50,000
่ อชำระในวันโอน
บ. ส่วนทีเหลื
(2) นำง ก ยืมควำยนำย ข ไถนำ ตกลงจะคืน
่
เมือหมด
ฤดูทำนำ
21
บรรพ 2 หนี ้
่ ด
๊ ทำอำหำรสำหร ับงำน
(4) น.ส. นุ ช ว่ำจ ้ำงพีอู
้
เลียงมงคลสมรส
่
งข ้ำวให ้คุณหญิงดวงตำ
(5) นำยเพิมตกลงส่
่
ภำยหลังกำรเก็บเกียวตลอดชี
วต
ิ โดยมีข ้อ
่ นให ้บุคคลใด
แม้วำ่ คุณหญิงต ้องไม่ขำยทีดิ
้ น้
ทังสิ
(6) สำรวัตร ก ช่วยชีวต
ิ นำงสำว ข ให ้รอดพ้น
จำกกำรตำมล่ำของนักฆ่ำขนตำงอน
่
22
บรรพ 2 หนี ้
่ ้กันอยูท
่ั
คำว่ำ “หนี ”้ ทีใช
่ วไปอำจไม่
ใช่ควำมหมำย
่ วน
ของ “หนี ”้ (Obligation) ตำมกฎหมำยก็ได ้ ซึงส่
้ เกิ
่ ดจำกควำมผูกพันระหว่ำงกัน บังคับ
ใหญ่เป็ นหนี ที
ไม่ได ้ ไม่มผ
ี ลในทำงกฎหมำย
่ งคับไม่ได ้ แต่อำจมีผล
ควำมผูกพันบำงประกำรทีบั
้ บ
่ ้ำง ก็ถอื เป็ นหนี ้
ในทำงกฎหมำยลักษณะหนี อยู
้
เรียกว่ำ “หนี ธรรมดำ”
้
(ศ. จิด๊ เศรษฐบุตร) หรือ “หนี ในธรรม”
(ศ. ม.ร.ว.
้
้
เสนี ย ์ ปรำโมธ) เช่น หนี ขำดอำยุ
ควำม หนี จำกกำร
้
พนันขันต่อ หนี ขำดหลั
กฐำนเป็ นหนังสือฟ้ องร ้อง
23
บรรพ 2 หนี ้
“หนี ”้ หมำยถึง นิ ตส
ิ ม
ั พันธ ์ระหว่ำง
บุคคลสองฝ่ ำย
่ ำยหนึ่ งต ้องกระทำกำรอย่ำงใดอย่ำง
ซึงฝ่
่ ้องกระทำ
หนึ่ งให ้แก่อก
ี ฝ่ ำยหนึ่ ง ฝ่ ำยทีต
กำรนั้น เรียกว่ำ ลู กหนี ้
่ ้ร ับผลของกำรกระทำนั้น
ส่วนฝ่ ำยทีได
เรียกว่ำ เจ้าหนี ้ ส่วนกำรกระทำนั้น
แยกออกเป็ น 3 ชนิ ด ได ้แก่
่
24
บรรพ 2 หนี ้
้ อเกิดแห่งหนี ้
∞ มู ลแห่งหนี /บ่
1. สัญญำ เป็ นนิ ตก
ิ รรมสองฝ่ ำย สัญญำที่
่ ชอตำม
ก่อให ้เกิดหนี ้ จะเป็ นสัญญำทีมี
ื่
เอกเทศสัญญำ (บรรพ 3) หรือไม่ก็ได ้
สำระสำคัญของสัญญำ
1. ต ้องมีบค
ุ คลสองฝ่ ำย
2. ต ้องมีกำรแสดงเจตนำเป็ นคำเสนอสนอง
ถูกต ้องตรงกัน
25
บรรพ 2 หนี ้
2. ละเมิด
มาตรา 420 “ผูใ้ ดจงใจหรือประมาท
่
เลินเล่อทำต่อบุคคลอืน
โดยผิดกฎหมายให ้เขำเสียหายถึงแก่ชวี ต
ิ
ก็ดี แก่รำ่ งกำยก็ดี อนำมัยก็ดี เสรีภำพก็ดี
ทร ัพย ์สินหรือสิทธิอย่ำงหนึ่ งอย่ำงใด
ก็ด ี ท่ำนว่ำผูน้ ้ันทำละเมิด จาต้องใช้คา
่
สินไหมทดแทน
26
บรรพ 2 หนี ้
3. จัดการงานนอกสัง่
มาตรา 395 “บุคคลใดเข ้ำทำกิจการแทน
ได้ขานวานใช้ให้ทาก็ด ี
ผู อ
้ นโดยเขามิ
ื่
หรือโดยมิได้มส
ี ท
ิ ธิทจะท
ี่ ำกำรนั้นแทนผูอ้ น
ื่
ด ้วยประกำรใดก็ดี ท่ำนว่ำบุคคลนั้นจะต ้อง
่
จัดกำรงำนไปในทำงทีจะให
้สมประโยชน์ของ
ตัวกำรตำมควำมประสงค ์อันแท ้จริงของตัวกำร
่ งสันนิ ษฐำนได ้ว่ำเป็ นควำม
หรือตำมทีจะพึ
27
บรรพ 2 หนี ้
้
หากการจัดการนันเป็
นการสมประโยชน์
ตัวการ และต้องตามความประสงค ์อ ัน
่ งสันนิ ษฐาน
แท้จริงของตัวการหรือตามทีพึ
้ อมจะเรียกให้ชดใช้เงินอ ัน
ได้ ผู จ
้ ัดการนันย่
ตนได้ออกไปคืนแก่ตนได้ เว้นแต่กรณี การ
จัดการขัดกับความประสงค ์ของตัวการ
ผู จ
้ ัดการก็ยงั คงเรียกร ้องได้หากเป็ นการทา
่
่
เพือสาธารณประโยชน์
หรือเป็ นหน้าทีตาม
กฎหมาย (มาตรา 401)
28
บรรพ 2 หนี ้
4. ลาภมิควรได้
่
มาตรา 406 “บุคคลใดได้มาซึงทร
ัพย ์สิน
่
่ คคลอีกคนหนึ่ งกระทา
สิงใดเพราะกำรที
บุ
่ าระหนี ก็
้ ดี หรือได้มาด้วยประการ
เพือช
่ ดี โดยปราศจากมู ลอ ันจะอ้าง
อืนก็
กฎหมายได ้
และเป็ นทำงให ้บุคคลอีกคนหนึ่ งนั้นเสียเปรียบ
ไซร ้
29
บรรพ 2 หนี ้
5.บทบัญญัตแ
ิ ห่งกฎหมาย
เช่น กฎหมำยจรำจร ประมวล
่
ร ัษฎำกร สิทธิหน้ำทีระหว่
ำงสำมีภรรยำ หรือบุพกำรี-บุตร ตำม ป.
พ.พ. เป็ นต ้น
30
บรรพ 2 หนี ้
∞ ผลแห่งหนี ้
่ ดหนี ้ เกิดควำมผูกพันระหว่ำง จน. และ
เมือเกิ
่ งคับกันได ้ตำมกฎหมำย หำก ลน. ไม่
ลน. ทีบั
้ สท
้ ้
ชำระหนี ้ เจ ้ำหนี มิ
ิ ธิฟ้องบังคับชำระหนี ได
(มำตรำ 213)
หำกฝ่ ำยใดฝ่ ำยหนึ่ งผิดนัด อีกฝ่ ำยย่อมมีสท
ิ ธิ
(1) เรียกดอกเบีย้
่
ผิดนัด ซึงหำกไม่
มก
ี ำหนดไว ้ คิดในอัตรำร ้อยละ
31
บรรพ 2 หนี ้
∞ ควำมระงับแห่งหนี ้ ได ้แก่
8.1 กำรชำระหนี ้
8.2 กำรปลดหนี ้
8.3 กำรหักกลบลบหนี ้
้
8.4 กำรแปลงหนี ใหม่
้ อนกลื
่
8.5 หนี เกลื
นกัน
32
ภาษิตกฎหมาย (Legal Maxim)
้
้
" หนี ย่อมไล่ตามตัวลู กหนี "
่ ำเสนอเป็ นเพียงแหล่งข ้อมูลให ้
หมายเหตุ ตัวเลขมำตรำทีน
ท่ำนนำไปศึกษำ
่ มเท่ำนั้น
ค ้นคว ้ำเพิมเติ
33
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา
แบ่งเป็ น 23 ลักษณะ ดังนี ้
้
1. ซือขาย
6. จ ้ำงแรงงำน
่
2. แลกเปลียน
7. จ ้ำงทำของ
3. ให ้
8. ร ับขน
4. เช่ำทร ัพย ์
9. ยืม
5. เช่ำซือ้
10. ฝำกทร ัพย ์
้ เป็ นจำนวนมำก จึงขอนำมำบรรยำย
้
มี
เนื่ องจำกเนื อหำในบรรพนี
่ อขำย
้
เฉพำะเรืองซื
34
่
ซึงพบเป็
นจำนวนมำกในชีวต
ิ ประจำวัน
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา
้
น
11. คำประกั
18. กำรพนันและ
ขันต่อ
12. จำนอง
19. บัญชี
เดินสะพัด
13. จำนำ
20. ประกันภัย
14. เก็บของในคลังสินค ้ำ
21. ตั๋ว
เงิน
15. ตัวแทน
22. หุ ้นส่วน
และบริษท
ั
35
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา : ซือ้
ขาย
้
ซือขาย
้
้ คือ สัญญา
มาตรา 453 “สัญญาซือขายนั
น
่ คคลฝ่ายหนึ่ ง เรียกว่า ผู ข
ซึงบุ
้ ายโอน
์ งทร ัพย ์สินให้แก่บุคคลอีกฝ่าย
กรรมสิทธิแห่
หนึ่ ง เรียกว่า ผู ซ
้ อ
ื ้ และผู ซ
้ อตกลงจะใช้
ื้
้
ราคาทร ัพย ์สินนันให้
แก่ผูข
้ าย”
้
จะเป็ นการซือขายสั
งหาริมทร ัพย ์หรือ
อสังหาริมทร ัพย ์ก็ได้ แต่ถา้ เป็ นอสังหาฯ
่ ระวาง
และสังหาริมทร ัพย ์พิเศษ (เรือทีมี
36
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา : ซือ้
ขาย
้
สัญญำจะซือจะขำยหรือคำมั่นในกำรขำ
ยอสังหำฯ และสังหำริมทร ัพย ์พิเศษ ถ ้ำไม่มี
่
หลักฐานเป็ นหนังสือลงลำยมือชือของฝ่
ำย
่ ้องร ับผิดเป็ นสำคัญ/วำงประจำ/ชำระหนี ้
ทีต
บำงส่วนแล ้ว จะฟ้ องร ้องบังคับคดีไม่ได ้
(มำตรำ 456 วรรคสอง)
่ ำสัญญำซือขำยแล
้
์
เมือท
้ว กรรมสิทธิโอน
ในขณะนั้นทันที (มำตรำ 458) เว ้นแต่เป็ น
่
่
กรรมสิทธิ ์
อเงือนเวลำ
สัญญำมีเงือนไขหรื
่ นไปตำมเงือนไขหรื
่
โอนเมือเป็
อถึง
37
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา : ซือ้
ขาย
่
หน้าทีของผู
ข
้ าย
่
1. ต ้องส่งมอบ ทส. ทีขำย
(โดยวิธใี ดก็
้
ได ้ให ้ไปอยูใ่ นเงือมมื
อของผูซ
้ อื ้ ตำม
มำตรำ 462) ให ้แก่ผูซ
้ อื ้ (มำตรำ 461)
หรือให ้แก่ผูข
้ นส่ง หำกกำหนดไว ้เช่นนั้น
(มำตรำ 463)
่ ำหนด
2. ต ้องขนส่งทร ัพย ์สินไปยังทีก
่
ตำมทีตกลงในสั
ญญำ (ถ ้ำมี)
38
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา : ซือ้
ขาย
สิทธิของผู ข
้ าย
้ งไม่ชำระ
1. ยึดหน่ วงทร ัพย ์สินไว ้ได ้ หำกผู ้ซือยั
รำคำ(มำตรำ 468-9)
2. นำทร ัพย ์ออกขำยทอดตลำด หำกผู ้ซือ้
ละเลยไม่ใช ้รำคำตำม
คำบอกกล่ำว (มำตรำ 470)
3. นำเงินจำกกำรขำยทอดตลำดมำหักเอำ
่ ้ำงชำระรำคำ
จำนวนทีค
้ ำจับจ่ำยเกียวกั
่
แก่ตนรวมทังค่
บกำรนั้นได ้ด ้วย
39
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา : ซือ้
ขาย
ความร ับผิดของผู ข
้ าย
่
1. หำกทร ัพย ์สินชารุดบกพร่อง เป็ นเหตุใหเ้ สือม
่
รำคำหรือเสือมควำมเหมำะสมแก่
ประโยชน์อน
ั มุ่งจะ
ใช ้เป็ นปกติ ประโยชน์ทมุ
ี่ ่งหมำยโดยสัญญำ ผูข
้ ำย
ต ้องร ับผิด ไม่วำ่ ผู ้ขำยจะรู ้อยูแ่ ล ้วหรือไม่รู ้ถึงควำม
ชำรุดบกพร่องนั้นก็ตำม (มำตรำ 472) เว ้นแต่
้
หรือควรจะรู ้
(1) ผูซ
้ อรู
ื ้ ้อยู ่แล้วในเวลำซือขำย
หำกได ้ใช ้ควำมระมัดระวังอันจะพึงคำดหมำยได ้แต่
วิญญู ชน
(2) ถ ้ำควำมชำรุดบกพร่องนั้นเห็นประจักษ ์ในเวลำ
้ ับไว ้โดยมิได้อด
้
ส่งมอบ และผู ้ซือร
ิ เอือน
40
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา : ซือ้
ความร ับผิดของผูขาย
ข
้ าย
2. หำกมีบุคคลมำก่อการรบกวนขัดสิทธิของ
ผูซ
้ อในอั
ื้
นจะครอง ทร ัพย ์สินโดยปกติสข
ุ เพรำะ
่ ้ซือขำยกั
้
บุคคลนั้นมีสท
ิ ธิเหนื อทร ัพย ์สินทีได
นนั้น
้
อยูใ่ นเวลำซือขำยก็
ดี เพรำะควำมผิดผู ้ขำยก็ดี
ผูข
้ ำยต ้องร ับผิด (มำตรำ 475) เว้นแต่ผูซ
้ อ
ื้
้
รู ้อยู ่แล้วในเวลำซือขำย
(มำตรำ 476)
3. ผู ้ขำยร ับรองไว ้ในสัญญำว่ำทร ัพย ์สินนั้นปลอด
จำกภำรจำยอม และต่อมำศำลมีคำพิพำกษำให ้
อสังหำริมทร ัพย ์นั้นตกอยูใ่ นบังคับแห่งภำรจำ
ยอม ผูข
้ ำยต ้องร ับผิด (มำตรำ 480)
41
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา : ซือ้
ขาย
่
หน้าทีของผู
ซ
้ อ
ื้
- ต ้องร ับมอบทร ัพย ์สิน (มำตรำ 486)
- ต ้องชำระรำคำ (มำตรำ 486) และค่ำขนส่ง (ถ ้ำมี)
(มำตรำ 464)
- ยึดหน่ วงรำคำ หำกพบเห็นควำมชำรุดบกพร่อง
(มำตรำ 488) หรือถูกผูร้ ับจำนอง หรือบุคคลผู ้
่
้นขูว่ ำ่ จะฟ้ องเป็ นคดี
เรียกร ้องเอำทร ัพย ์สินทีขำยนั
(มำตรำ 489)
สิทธิของผู ซ
้ อ
ื้
่
- ได ้ร ับสินค ้ำทีครบถ
้วนถูกต ้อง
42
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา : ซือ้
ขาย
ความร ับผิดของผู ซ
้ อ
ื้
- ร ับผิดในควำมชำรุดบกพร่องหำกว่ำรู ้
้
ถึงกำรนั้นแล ้วขณะซือขำยหรื
อเห็น
ประจักษ ์ในเวลำส่งมอบ ทส. (เทียบ
มำตรำ 472)
- ร ับผิดต่อกำรรบกวนขัดสิทธิ หำกว่ำรู ้
้
ถึงกำรแล ้วนั้นขณะซือขำย
(เทียบ
มำตรำ 475)
43
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา : ซือ้
ขาย
อายุความ
่
่ ัพย ์ขาด
- อำยุควำมฟ้ องคดีเพือกำรที
ทร
้ านวน คือ ห ้ำมมิให ้
ตกบกพร่องหรือลาจ
่ นหนึ่ งปี นับแต่เวลำส่งมอบ (มำตรำ
ฟ้ องเมือพ้
467)
่
- อำยุควำมฟ้ องคดีเพือกำรช
ารุดบกพร่อง
่ นหนึ่ งปี นับแต่เวลำที่
คือ ห ้ำมมิให ้ฟ้ องเมือพ้
ได ้พบเห็นควำมชำรุดบกพร่อง (มำตรำ
474)
44
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา : ซือ้
ขาย
้
การซือขายเฉพาะบางอย่าง
้
่
1. ขายฝาก คือ สัญญำซือขำยซึ
งกรรมสิ
ทธิ ์
ใน ทส. ตกไปยัง
ผู ้ซือ้ โดยมีข ้อตกลงกันว่ำผู ้ขำยอำจไถ่ทร ัพย ์
นั้นคืนได ้ (มำตรำ 491)
์ นของผู ้
ในระหว่ำงกำรขำยฝำก กรรมสิทธิเป็
้
้
ซือฝำก
ผู ้ซือฝำกมี
สท
ิ ธิใช ้ ทส. และได ้ดอก
ผลในช่วงเวลำดังกล่ำว
่ ้ขำยไถ่ทร ัพย ์ทีขำยฝำกนั
่
้นแล ้ว ทร ัพย ์
เมือผู
้ เวลำทีผู
่ ไ้ ถ่ได ้ชำระ
นั้นตกเป็ นกรรมสิทธิตั์ งแต่
45
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา : ซือ้
ขาย
้
การซือขายเฉพาะบางอย่
าง
่
2. ขายตามต ัวอย่าง ขายตามคาพรรณนา ขายเผือ
ชอบ
ขายตามต ัวอย่าง คือ กำรขำยโดยมีตวั อย่ำงเป็ นต ้นแบบใน
กำรเสนอขำย
ขายตามคาพรรณนา คือ กำรขำยตำมคำพรรณนำ
อธิบำยสินค ้ำ อำจนำเสนอในรูปแบบใดๆ ก็ได ้ เช่น
Catalog/Brochure คูม
่ อ
ื แนะนำสินค ้ำ คำพูดบรรยำย เป็ นต ้น
ขายตรง คือ กำรทำตลำดสินค ้ำหรือบริกำรในลักษณะของ
่ อ
กำรนำเสนอขำยต่อผู ้บริโภคโดยตรง ณ ทีอยู
่ ำศัยหรือ
่ หรือสถำนทีอื
่ ่
่ ำงำนของผู ้บริโภค หรือของผู ้อืน
่ นที
สถำนทีท
่
มิใช่สถำนทีประกอบกำรค
้ำเป็ นปกติธรุ ะ โดยผ่ำนตัวแทน
้ั ยวหรือหลำยชน้ั แต่ไม่
ขำยตรงหรือผู ้จำหน่ ำยอิสระชนเดี
46
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา : ซือ้
ขาย
ขายตามตวั อย่าง ขายตามคา
่
พรรณนา ขายเผือชอบ
่
้
ขายเผือชอบ
หมำยถึง กำรซือขำยกั
น
่
้ ้มีโอกำส
โดยมีเงือนไขว่
ำให ้ผู ้ซือได
ตรวจดูทร ัพย ์สินก่อนร ับซือ้ (มำตรำ
505)
่ กร งำน
ตัวอย่าง : ภำพวำด เครืองจั
ฝี มือ เป็ นต ้น
47
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา : ซือ้
ขาย
3. ขายทอดตลาด
่ ท้ อดตลำดแสดงควำมตกลง
บริบรู ณ์เมือผู
่
ด ้วยเคำะไม้หรือด ้วยกิรยิ ำอืนอย่
ำงใดอย่ำง
หนึ่ งตำมจำรีตประเพณี ในกำรขำย
ทอดตลำด ถ ้ำยังมิได ้เคำะไม ้ ผูส้ ู ้รำคำก็ยงั
สำมำรถถอน
คำสู ้รำคำได ้เสมอ (มำตรำ 509)
ผูซ
้ อในกำรขำยทอดตลำดต
ื้
้องทำตำมคำ
โฆษณำบอกขำย
่ ซึงผู
่ ท้ อดตลำดได ้
และตำมควำมข ้ออืนๆ
48
ภาษิตกฎหมาย (Legal Maxim)
ผู ซ
้ อต้
ื ้ องระว ัง
Caveat Emptor : Let the buyer beware
ผู ข
้ ายต้องระว ัง
Caveat Venditor : Let the seller beware
49
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
1. กรรมสิทธิ ์
2. ครอบครอง
3. ภำรจำยอม
4. สิทธิอำศัย
้ น
5. สิทธิเหนื อพืนดิ
6. สิทธิเก็บกิน
7. ภำรติดพันในอสังหำริมทร ัพย ์
50
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
1. กรรมสิทธิ ์
สิทธิในทร ัพย ์สินหรือเหนื อทร ัพย ์สินนั้น
่ อตังขึ
้ นได
้ ้แต่
เรียกว่ำ “ทร ัพยสิทธิ” ซึงก่
โดยกฎหมำย
(มำตรำ 1298)
51
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
่
1.1 การได้มาซึงกรรมสิ
ทธิ ์
(1) การได้มาโดยทางนิ ตก
ิ รรมซึง่
่
อสังหำริมทร ัพย ์หรือทร ัพยสิทธิอน
ั เกียวกั
บอสังหำ
ฯ : ต ้องทำเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงำน
เจ ้ำหน้ำที่ ไม่เช่นนั้น ไม่บริบรู ณ์ (มำตรำ 1299
วรรคหนึ่ ง) -ใช ้อ ้ำงอิงได ้ระหว่ำงคูก
่ รณี บุคคลสิทธิ
ยังสมบูรณ์
หลักผู ร้ ับโอนไม่มส
ี ท
ิ ธิดก
ี ว่าผู โ้ อน
้
่
52
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
่
(2) การได้มาซึงอสั
งหาริมทร ัพย ์หรือ
่
ทร ัพยสิทธิอ ันเกียวกั
บอสังหาฯโดย
่
ทางอืนนอกจากนิ
ตก
ิ รรมหรือได้มา
โดยผลของกฎหมาย : เช่น ได ้มำตำม
กฎหมำยบัญญัติ (เช่น กำรครอบครอง
ปรปักษ ์ เป็ นต ้น) ได ้มำทำงมรดก ได ้มำ
่
โดยคำพิพำกษำ/คำสังศำล
: หำกยังไม่
่
จดทะเบียน จะเปลียนแปลงทำงทะเบี
ยน
ไม่ได ้ และอ ้ำงยันบุคคลภำยนอกผู ้ได ้สิทธิ
53
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
การได้มาโดยผลของกฎหมาย
่
์
(1) การได้มาซึงกรรมสิ
ทธิโดยหลั
กส่วน
ควบ
(มาตรา 1308-1317)
(2) การได้มาโดยการเข้าถือเอาซึง่
่ มเี จ้าของ (มาตรา 1318ทร ัพย ์สินทีไม่
1322)
่
(3) การได้มาซึงทร
ัพย ์สินหาย ทร ัพย ์สิน
54
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
่ ัพย ์สินโดยสุจริตใน
(4) กำรได ้มำซึงทร
พฤติกำรณ์พเิ ศษ (มำตรำ 13291332)
(5) กำรได ้มำโดยอำยุควำม (มำตรำ
1333)
่ ดิ
่ นรกร ้ำงว่ำงเปล่ำ
(6) กำรได ้มำซึงที
่ นทีมี
่ ผู ้เวนคืน/ทอดทิง/กลั
้
ทีดิ
บมำเป็ น
55
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
่ น
สาธารณสมบัตข
ิ องแผ่นดิน ได ้แก่ (1) ทีดิ
่ นทีมี
่ ผูเ้ วนคืน/ทอดทิง/
้
รกร ้ำงว่ำงเปล่ำ ทีดิ
กลับมำเป็ นของแผ่นดิน (2) ทรัพย ์สินสำหรับ
่
พลเมืองใช ้ร่วมกัน เช่น ทีชำยตลิ
ง่ ทำงนำ้
่
ทำงหลวง เป็ นต ้น (3) ทร ัพย ์สินใช ้เพือ
ประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพำะ เช่น ป้ อม
่
โรงทหำร เป็ นต ้น ซึงจะโอนแก่
กน
ั มิได ้ ยก
้ นข ้อต่อสู ้ไม่ได ้และห ้ำมยึด
อำยุควำมขึนเป็
56
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
1.2 แดนแห่งกรรมสิทธิ ์ : เจ ้ำของทร ัพย ์สิน
มีสท
ิ ธิ (มำตรำ 1336)
1. ใช ้สอยทร ัพย ์สินของตน
2. จำหน่ ำยทร ัพย ์สินของตน
3. ได ้ดอกผลแห่งทร ัพย ์สินนั้น
่ มี
4. มีสท
ิ ธิตด
ิ ตำมเอำคืนจำกบุคคลซึงไม่
สิทธิจะยึดถือไว ้
่
5. มีสท
ิ ธิขด
ั ขวำงมิให ้ผูอ้ นสอดเข
ื่
้ำเกียวข
้อง
57
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
ข้อยกเว้นแดนแห่งกรรมสิทธิ ์
1. ควำมประมำทเลินเล่อของเจ ้ำของทรัพย ์สิน
2. ตัวแทนเชิด (มำตรำ 821)
3. บุคคลภำยนอกได ้สิทธิมำโดยเสีย
ค่ำตอบแทนโดยสุจริต และจดทะเบียนสิทธิโดย
สุจริต (มำตรำ 1299 วรรคสอง)
่ ใ่ นฐำนะทีจะจดทะเบี
่
4. บุคคลทีอยู
ยนได ้ก่อน
(มำตรำ 1300)
58
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
่ ัพย ์สินโดย
5. สิทธิของบุคคลผูไ้ ด ้มำซึงทร
มีคำ่ ตอบแทนและโดยสุจริต (มำตรำ
1329)
6. สิทธิของบุคคลผูซ
้ อทร
ื ้ ัพย ์สินโดยสุจริต
่
ในกำรขำยทอดตลำดตำมคำสังศำลหรื
อ
ของเจ ้ำหน้ำที่ (มำตรำ 1330)
7.สิทธิของบุคคลผูไ้ ด ้เงินตรำมำโดยสุจริต
59
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
ทางจาเป็ น (มาตรา 13491350)
- เกิดโดยผลของกฎหมำย
่ นทีไม่
่ มท
เหตุ - ทีดิ
ี ำงออกสูท
่ ำง
สำธำรณะ หรือมีทำงออกแต่ต ้องข ้ำม
่ ัน (ทีดิ
่ นตำ
สระ บึง ทะเล หรือทีช
บอด)
60
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
้ ้ ทีและวิ
่
- ทังนี
ธท
ี ำทำงผ่ำนนั้น ต ้อง
เลือกให ้พอสมควรแก่ควำมจำเป็ น
ของผู ้มีสท
ิ ธิทจะผ่
ี่ ำนและให ้เสียหำย
่ นทีล
่ ้อมอยูใ่ ห ้น้อยทีสุ
่ ด
ต่อทีดิ
- ผูมี้ สท
ิ ธิผ่ำนต ้องใช ้ค่ำทดแทนใน
กำรผ่ำนทำงนั้น
61
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
∞ครอบครอง
่
บุคคลใดยึดถือทร ัพย ์สินโดยเจตนำจะยึดถือเพือตน
่ ทธิครอบครอง (มำตรำ 1367) อำจจะเป็ น
ได ้ซึงสิ
่
กำรยึดถือโดยคนอืนแทนก็
ได ้ (มำตรำ 1368) โดย
่
หลัก ให ้สันนิ ษฐำนว่ำยึดถือเพือตนและครอบครอง
โดยสุจริต สงบ และเปิ ดเผย (มำตรำ 1369-70)
กำรครอบครองปรปักษ ์ คือ กำรครอบครอง
ทร ัพย ์สินของผูอ้ นไว
ื่ ้โดยควำมสงบ เปิ ดเผย ด ้วย
เจตนำเป็ นเจ ้ำของ เป็ นเวลำ 10 ปี สำหร ับ
62
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
หำกผู ้ครอบครองถูกรบกวนในกำร
ครอบครองเพรำะมี
่
ผู ้สอดเข ้ำเกียวข
้องโดยมิชอบด ้วยกฎหมำย
้
ผู ้ครอบครองมีสท
ิ ธิใหป้ ลดเปลืองกำร
รบกวนนั้นได ้ โดยฟ้ องคดีได ้ภำยใน 1 ปี นับ
แต่เวลำถูกรบกวน (มำตรำ 1375)
ถ ้ำผู ้ครอบครองถูกแย่งกำรครอบครอง ต ้อง
่
่
ฟ้ องคดีเพือเอำคื
นซึงกำรครอบครองภำยใน
63
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
∞ ภารจายอม (มาตรา 1387-1401)
- อสังหำริมทร ัพย ์อำจต ้องตกอยู่ในภำร
จำยอม อันเป็ นเหตุให ้เจ ้ำของต ้อง
่
ยอมร ับกรรมบางอย่างซึงกระทบถึ
ง
ทร ัพย ์สินของตน หรือต ้องงดเว้นการ
ใช้สท
ิ ธิบางอย่างอันมีอยู่ในกรรมสิทธิ ์
่
ทร ัพย ์สินนั้นเพือประโยชน์
แก่
่
64
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
- เจ ้ำของภำรยทร ัพย ์จะประกอบ
กรรมใดๆ อันจะยังให ้ประโยชน์แห่ง
่
ภำรจำยอมลดไปหรือเสือมควำม
สะดวกมิได ้
- ถ ้ำภำรยทร ัพย ์หรือสำมยทร ัพย ์
้
้
สลำยไปทังหมด ภำรจำยอมสินไป
65
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
4. สิทธิอาศ ัย
- สิทธิทจะอยู
ี่
ใ่ นโรงเรือนโดยไม่ต ้องเสียค่ำ
เช่ำ (มำตรำ 1402)
- สิทธิอำศัยมีได ้เฉพำะแต่สท
ิ ธิทจะอยู
ี่
ใ่ น
่ ำนั้น (คำ
โรงเรือนของบุคคลอืนเท่
พิพำกษำฎีกำที่ 6458/2551)
- เป็ นสิทธิมก
ี ำหนดเวลำหรือตลอดอำยุผู ้
อำศัยก็ได ้ (มำตรำ 1403)
66
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
้ น
5. สิทธิเหนื อพืนดิ
่ ใช่เจ ้ำของทีดิ
่ น
- สิทธิของบุคคลทีไม่
่ กสร ้ำง
่
นเจ ้ำของโรงเรือน สิงปลู
ทีจะเป็
่
หรือสิงเพำะปลู
กบนดินหรือใต ้ดินนั้น
(มำตรำ 1410)
- เป็ นสิทธิทโอนและร
ี่
ับมรดกได ้
(มำตรำ 1411)
- เป็ นสิทธิมก
ี ำหนดเวลำหรือตลอดอำยุ
67
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
6. สิทธิเก็บกิน
- ผูท้ รงสิทธิเก็บกินมีสท
ิ ธิครอบครองใช ้
และถือเอำ
่
ซึงประโยชน์
แห่งทร ัพย ์สินนั้น (มำตรำ
1417)
- เป็ นสิทธิมก
ี ำหนดเวลำหรือตลอดอำยุผู ้
ทรงสิทธิ
ก็ได ้ (มำตรำ 1418)
- ถ ้ำผูท้ รงสิทธิถงึ แก่ควำมตำย สิทธิระงับ
68
บรรพ 4 ทร ัพย ์สิน
7. ภารติดพันในอสังริมทร ัพย ์
- อสังหำริมทร ัพย ์อำจต ้องตกอยู่ในภำร
ติดพันอันเป็ นเหตุให ้ผูร้ ับประโยชน์มี
้ นครำวๆ จำก
สิทธิได ้ร ับกำรชำระหนี เป็
ทร ัพย ์สินนั้น หรือได ้ใช ้หรือถือเอำซึง่
่
ประโยชน์แห่งทร ัพย ์สินตำมทีระบุไว
้
(มำตรำ 1429)
- เป็ นสิทธิมก
ี ำหนดเวลำหรือตลอดอำยุ
ผูร้ ับประโยชน์
69
ภาษิตกฎหมาย (Legal Maxim)
“ผู ร้ ับโอนไม่มส
ี ท
ิ ธิดก
ี ว่าผู โ้ อน”
Nemo dat qui non habet
่ ตนไม่
่
“บุคคลย่อมไม่อาจให้ในสิงที
ม”ี
่ ำเสนอเป็ นเพียง
หมายเหตุ ตัวเลขมำตรำทีน
แหล่งข ้อมูลให ้ท่ำนนำไปศึกษำค ้นคว ้ำ
่ มเท่ำนั้น
เพิมเติ
70
บรรพ 5 ครอบคร ัว
แบ่งออกเป็ น 3 ลักษณะ
1. สมรส
2. บิดำมำรดำกับบุตร
้
3. ค่ำอุปกำระเลียงดู
71
บรรพ 5 ครอบคร ัว
1. สมรส
้
1.1 กำรหมัน
่
1.2 เงือนไขกำรสมรส
1.3 สำมี-ภริยำ
้ ดแห่งกำรสมรส
1.4 กำรสินสุ
72
บรรพ 5 ครอบคร ัว
้
1.1 การหมัน
่
ทำได ้เมือชำยและหญิ
งมีอำยุ 17 ปี บริบรู ณ์ ไม่เช่นนั้น
เป็ นโมฆะ
(มำตรำ 1435)
ถ ้ำเป็ นผูเ้ ยำว ์ ต ้องได ้ร ับควำมยินยอมจำกบุคคลดังนี ้
ไม่เช่นนั้นเป็ นโมฆียะ
(มำตรำ 1436)
้ั
(1) บิดำและมำรดำ (มีทงสองคน)
(2) บุคคลใดบุคคลหนึ่ ง (หำกอีกบุคคลหนึ่ งตำย/ถูกถอน
่
อำนำจปกครอง/ไม่อยูใ่ นสภำพหรือฐำนะทีอำจให
้ควำม
ยินยอม/โดยพฤติกำรณ์ผเู ้ ยำว ์ไม่อำจขอควำมยินยอม
จำกมำรดำหรือบิดำได ้)
(3) ผูร้ ับบุตรบุญธรรม
73
บรรพ 5 ครอบคร ัว
่ ำยชำยได ้ส่งมอบหรือ
สมบูรณ์เมือฝ่
่ น
โอน......................ให ้แก่ฝ่ำยหญิงเพือเป็
หลักฐำนว่ำจะสมรสกับหญิงนั้น และเมือ่
้
้
หมันแล
้ว ของหมันตกเป็
นสิทธิแก่หญิง
(มำตรำ 1437)
่ ำยชำยตอบแทน
..........เป็ นทร ัพย ์สินซึงฝ่
่ งยอมสมรส (มำตรำ 1437)
กำรทีหญิ
้ เป็ นเหตุทจะร
กำรหมันไม่
ี่ ้องขอต่อศำลบังคับ
ให ้สมรสได ้ (มำตรำ 1438) แต่ถ ้ำฝ่ ำยใดผิด
้ อีกฝ่ ำยเรียกให ้ใช ้ค่าทดแทน
สัญญำหมัน
74
บรรพ 5 ครอบคร ัว
ค่าทดแทน (มำตรำ 1436) ได ้แก่
่ ยงแห่ง
1. ค่ำทดแทนควำมเสียหำยต่อกำยหรือชือเสี
ชำยหรือหญิงนั้น
่ ห
้
2. ค่ำทดแทนควำมเสียหำยเนื่ องจำกกำรทีคู
่ มัน
บิดำมำรดำหรือบุคคลผูก้ ระทำกำรในฐำนะเช่น
บิดำมำรดำได ้ใช ้จ่ำยหรือต ้องตกเป็ นลูกหนี ้
เนื่ องในกำรเตรียมกำรสมรสโดยสุจริตและตำม
สมควร
่ ห
้ ้
3. ค่ำทดแทนควำมเสียหำยเนื่ องจำกกำรทีคู
่ มันได
75
บรรพ 5 ครอบคร ัว
1.2 เงื่อนไขการสมรส
ชำยหญิงต ้องมีอำยุ 17 ปี บริบูรณ์ แต่
ในกรณี มเี หตุอน
ั ควร ศำลอำจอนุ ญำต
ให ้สมรสก่อนได ้ เช่น.................. (มำตรำ
1448)
ผู้เยำว ์จะทำกำรสมรส ต ้องขอควำม
้ (มำตรำ
ยินยอมเช่นเดียวกับกำรหมัน
1454)
76
บรรพ 5 ครอบคร ัว
้ าการสมรสได้
บุคคลดังต่อไปนี ท
หรือไม่
1. บุคคลวิกลจริต คนไร ้ควำมสำมำรถ
(มำตรำ 1449)
่ องร่วมบิดำมำรดำ
2. ญำติสบ
ื สำยโลหิต/พีน้
หรือร่วมแต่บด
ิ ำหรือมำรดำ (มำตรำ
1450)
3. ผู ้ร ับบุตรบุญธรรมกับบุตรบุญธรรม
77
บรรพ 5 ครอบคร ัว
้ าการสมรสได้หรือไม่
บุคคลด ังต่อไปนี ท
่
้ ดลงด ้วย
5. หญิงทีสำมี
ตำยหรือกำรสมรสสินสุ
่ (มำตรำ 1453) เว ้นแต่
ประกำรอืน
(1) คลอดบุตรแล ้วในระหว่ำงนั้น
(2) สมรสกับคูส
่ มรสเดิม
(3) มีใบรับรองแพทย ์ประกำศนี ยบัตรหรือ
่ น
ปริญญำซึงเป็
ผูป้ ระกอบกำรร ักษำโรคในสำขำเวชกรรมได ้
ตำมกฎหมำยว่ำมิได ้มีครรภ ์ หรือ
่
78
บรรพ 5 ครอบคร ัว
1.3 สามีภริยา
สำมีภริยำต ้องอยูก
่ น
ิ กันฉันสำมีภริยำ และ
้ กน
ต ้องช่วยเหลืออุปกำระเลียงดู
ั ตำม
ควำมสำมำรถและฐำนะ (มำตรำ 1461)
ถ ้ำสำมีภริยำไม่สำมำรถอยูก
่ น
ิ กันฉันสำมี
ภริยำโดยปกติสข
ุ ได ้หรือถ ้ำอยูร่ ว่ มกันจะเป็ น
อันตรำยแก่กำยหรือจิตใจหรือทำลำยควำม
่ สำมำรถอยูด
ผำสุกอย่ำงมำก ฝ่ ำยทีไม่
่ ้วยได ้
่ ้องได ้ร ับอันตรำย อำจร ้องขอต่อ
หรือฝ่ ำยทีต
่ ญำตให ้ตนอยูต
ศำลให ้มีคำสังอนุ
่ ำ่ งหำก และ
้
เรียกค่ำอุปกำระเลียงดูได
้ (มำตรำ 1462)
79
บรรพ 5 ครอบคร ัว
คูส
่ มรสอำจทำสัญญาก่อนสมรสได ้
่
(มำตรำ 1465) โดยแก ้ไขเปลียนแปลง
ไม่ได ้ เว ้นแต่ได ้ร ับอนุ ญำตจำกศำล
(มำตรำ 1467) และจะมีผลกระทบ
กระเทือนสิทธิของบุคคลภำยนอกผู ้กระทำ
กำรโดยสุจริตไม่ได ้ (มำตรำ 1468)
สัญญาระหว่างสมรส บอกล ้ำงระหว่ำง
สมรสหรือภำยในกำหนดหนึ่ งปี นับแต่วน
ั
80
บรรพ 5 ครอบคร ัว
สินส่วนตัว ได ้แก่ (มำตรำ 1471)
1. ฝ่ ำยใดฝ่ ำยหนึ่ งมีอยู่กอ
่ นสมรส
่ นเครืองใช
่
่
2. ทีเป็
้สอยส่วนตัว เครืองแต่
งกำย
่
หรือเครืองประดั
บกำยตำมควรแก่ฐำนะ หรือ
่ อเครืองใช
่
เครืองมื
้ทีจ่ ำเป็ นในกำรประกอบ
อำชีพหรือวิชำชีพของคูส
่ มรสฝ่ ำยใดฝ่ ำย
หนึ่ ง
3. ทีฝ่่ ำยใดฝ่ ำยหนึ่ งได ้มำระหว่ำงสมรสโดยกำร
ร ับมรดกหรือโดยกำรให ้โดยเสน่ หำ
81
บรรพ 5 ครอบคร ัว
สินสมรส ได ้แก่ (มำตรำ 1470 และ
1474)
่ ส
1. ทีคู
่ มรสได ้มำระหว่ำงสมรส
2. ทีฝ่่ ำยใดฝ่ ำยหนึ่ งได ้มำระหว่ำงสมรสโดย
พินัยกรรมหรือโดยกำรให ้เป็ นหนังสือ
่ นัยกรรมหรือหนังสือยกให ้ระบุว่ำ
เมือพิ
เป็ นสินสมรส
่ นดอกผลของสินส่วนตัว
3. ทีเป็
82
บรรพ 5 ครอบคร ัว
กรณี ตอ
่ ไปนี ้ ให้พจ
ิ ารณาว่าเป็ น “สิน
ส่วนตัว” หรือ “สินสมรส”
่ น 2 แปลงให ้
1. นำยเทพทำพินัยกรรมยกทีดิ
นำงฟ้ ำภริยำ
่ น 1 แปลง ให ้นำงหลิน
2. นำยเทพยกทีดิ
่ ชอบด ้วยกฎหมำย
ภรรยำทีไม่
้ ้นในตลำดหลักทร ัพย ์ก่อน
3. นำยเทพซือหุ
สมรส ต่อมำได ้ร ับค่ำปันหุ ้นและกำไรจำก
้
83
บรรพ 5 ครอบคร ัว
กรณี ตอ
่ ไปนี ้ ให้พจ
ิ ารณาว่าเป็ น “สิน
ส่วนตัว” หรือ “สินสมรส”
่ ้มำในวันหมัน
้
4. นำงฟ้ ำขำยสร ้อยเพชรทีได
5. นำยเทพประกอบธุรกิจก่อสร ้ำง นำงฟ้ ำเป็ น
้
แม่บ ้ำน รำยได ้ทังหมด
นำยเทพเป็ นผู ้ทำ
่
มำหำได ้ เมือหย่
ำกัน รำยได ้และทร ัพย ์สิน
้
ทังหมดเป็
นสินประเภทใด
่
6. นำยเทพถูกล็อตเตอรีระหว่
ำงสมรส
84
บรรพ 5 ครอบคร ัว
้ ดแห่งการสมรส
1.4 การสินสุ
้ ดลงด ้วยควำมตำย กำรหย่ำ
กำรสมรสสินสุ
หรือศำลพิพำกษำให ้เพิกถอนกำรสมรส
(มำตรำ 1501)
เหตุทท
ี่ าให้การสมรสเป็ นโมฆะ (มาตรา
1459)
1. กำรสมรสของบุคคลวิกลจริต คนไร ้
ควำมสำมำรถ
่ องร่วม
2. กำรสมรสของญำติสบ
ื สำยโลหิต/พีน้
บิดำมำรดำหรือร่วมแต่บด
ิ ำหรือมำรดำ
85
บรรพ 5 ครอบคร ัว
2. บิดำมำรดำกับบุตร
2.1 บิดำมำรดำ
่
2.2 สิทธิและหน้ำทีของบิ
ดำมำรดำและ
บุตร
2.3 บุตรบุญธรรม
86
บรรพ 5 ครอบคร ัว
2.1 บิดามารดา
เด็กเกิดแต่หญิงขณะเป็ นภริยำชำยหรือภำยใน
่
้ ด ให ้
310 วันนับแต่วน
ั ทีกำรสมรสสิ
นสุ
สันนิ ษฐำนไว ้ก่อนว่ำเป็ นบุตรชอบด ้วยกฎหมำย
ของชำย (มำตรำ 1536)
แต่ถ ้ำหญิง (1) สมรสใหม่กอ
่ นระยะเวลำข ้ำงต ้น
หรือ
(2) สมรสขณะตนมีคส
ู่ มรส ให ้สันนิ ษฐำนไว ้ก่อน
ว่ำเป็ นบุตรชอบด ้วยกฎหมำยของ (1) ชำยผู ้เป็ น
่
สำมีใหม่ (มำตรำ 1537) หรือ (2) ชำยทีจด
้ั ง (มำตรำ 1538) เว ้นแต่จะมี
ทะเบียนครงหลั
87
บรรพ 5 ครอบคร ัว
ชำยอำจฟ้ องไม่ร ับเด็กเป็ นบุตรได ้
(มำตรำ 1539 1541-1545)
่ ได ้สมรสกับชำย ให ้
เด็กเกิดแต่หญิงทีมิ
ถือว่ำเป็ นบุตรชอบด ้วยกฎหมำยของ
้ ้ เด็กจะ
หญิงนั้น (มำตรำ 1546) ทังนี
เป็ นบุตรโดยชอบด ้วยกฎหมำยของบิดำ
ได ้หำกภำยหลังบิดำมำรดำสมรสกัน
หรือบิดำได ้จดทะเบียนว่ำเป็ นบุตร หรือ
88
บรรพ 5 ครอบคร ัว
กำรฟ้ องคดีขอให ้ร ับเด็กเป็ นบุตรของ
่ ้ฟ้ องภำยในกำหนดอำยุควำม
ผู ้ตำย ทีได
1 ปี ถ ้ำศำลพิพำกษำว่ำเด็กเป็ นบุตรที่
ชอบด ้วยกฎหมำยของผู ้ตำย เด็กนั้นมี
สิทธิร ับมรดกในฐำนะทำยำทโดยธรรม
(มำตรำ 1558) --- โปรดดูบรรพ 6
เอกสำรชุดที่ 9
่
หำกฟ้ องคดีระหว่ำงเด็กยังเป็ นผู ้เยำว ์ทีมี
อำยุยงั ไม่ครบ 15 ปี บริบูรณ์ ให ้ผูแ้ ทนโดย
ชอบธรรมเป็ นผู ้ฟ้ องแทน ถ ้ำอำยุ 15 ปี
89
บรรพ 5 ครอบคร ัว
่
ดามารดา
2.2 สิทธิและหน้าทีของบิ
และบุตร
สิทธิของบุตร
่
1. บุตรมีสท
ิ ธิใช ้ชือสกุ
ลของบิดำ ถ ้ำบิดำ
ไม่ปรำกฏ
่
มีสท
ิ ธิใช ้ชือสกุ
ลมำรดำ (มำตรำ
1561)
้
่
2. ได ้ร ับค่ำอุปกำระเลียงดู
ตำมทีกฎหมำย
บัญญัติ (มำตรำ 1565 และมำตรำ
90
บรรพ 5 ครอบคร ัว
่
หน้าทีของบุ
ตร
้ บด
อุปกำระเลียงดู
ิ ำมำรดำ (มำตรำ
1563)
บุตรฟ้ องบุพกำรีเป็ นคดีแพ่งหรือ
คดีอำญำมิได ้ (เรียกว่ำ “คดีอท
ุ ลุม”)
แต่ตนเองหรือญำติสนิ ทร ้องขอได ้
อัยกำรว่ำคดีแทน (มำตรำ 1562)
91
บรรพ 5 ครอบคร ัว
สิทธิของบิดามารดา
1. มีอำนำจปกครองบุตร (มำตรำ 1566) กล่ำวคือ
่ ข
มีสท
ิ ธิกำหนดทีอยู
่ องบุตร ทำโทษตำม
่ ำกล่ำวสังสอน
่
สมควรเพือว่
ให ้ทำกำรงำนตำม
สมควรแก่ควำมสำมำรถและฐำนำนุ รป
ู และ
่ งกั
่ กบุตรไว ้โดยมิ
เรียกบุตรคืนจำกบุคคลอืนซึ
้ ้ อำจ
ชอบด ้วยกฎหมำย (มำตรำ 1567) ทังนี
้
ถูกถอนอำนำจปกครอง (ทังหมด/บำงส่
วน) ได ้
(มำตรำ 1582-1584)
- บิดำมำรดำย่อมมีสท
ิ ธิตด
ิ ต่อกับบุตรของตนได ้
ตำมควร ไม่วำ่ บุคคลใดจะเป็ นผู ้ปกครอง
(มำตรำ 1584/1)
92
บรรพ 5 ครอบคร ัว
่
ดามารดา
หน้าทีของบิ
้ และให ้กำรศึกษำตำม
1. อุปกำระเลียงดู
่ นผู ้เยำว ์ รวมถึงบุตรที่
สมควรระหว่ำงทีเป็
้
บรรลุนิตภ
ิ ำวะแต่ทพ
ุ พลภำพและหำเลียง
ตนเองมิได ้ (มำตรำ 1564)
2. จัดกำรทร ัพย ์สินของบุตรโดยชอบ
(มำตรำ 1571-1581)
93
บรรพ 5 ครอบคร ัว
2.3 บุตรบุญธรรม
่ ำ 25 ปี
1. ผูร้ ับบุตรบุญธรรมต ้องมีอำยุไม่ตำกว่
(มำตรำ 1598/19)
2. ผูร้ ับบุตรบุญธรรมต ้องมีอำยุแก่กว่ำผูท้ จะมำ
ี่
เป็ นบุตรบุญธรรมอย่ำงน้อย 15 ปี (มำตรำ
1598/19)
3. กรณี ผูร้ ับบุตรบุญธรรม/ผูท้ จะเป็
ี่
นบุตรบุญ
ธรรมมีคส
ู่ มรส
ต ้องได ้ร ับควำมยินยอมจำกคูส
่ มรสก่อน
(มำตรำ 1598/25)
4. ผูเ้ ยำว ์จะเป็ นบุตรบุญธรรมซ ้อนไม่ได ้ เว ้นแต่
94
บรรพ 5 ครอบคร ัว
่
5. หำกผู ้ทีจะมำเป็
นบุตรบุญธรรมยังเป็ น
ผูเ้ ยำว ์ ต ้องได ้ร ับควำมยินยอมจำกบิดำและ
มำรดำของผูน้ ้ันก่อน (มำตรำ 1598/21)
- หำกผูท้ จะมำเป็
ี่
นบุตรบุญธรรมอำยุไม่ตำ่
กว่ำ 15 ปี ต ้องได ้ร ับควำมยินยอมจำกผู ้
นั้นด ้วย (มำตรำ 1598/20)
้
- หำกผู ้เยำว ์ถูกทอดทิงและอยู
่ในควำม
ดูแลของสถำนสงเครำะห ์เด็ก ให ้ขอควำม
ยินยอมจำกผู ้มีอำนำจในสถำนสงเครำะห ์
เด็กแทน (มำตรำ 1598/22-24)
่
95
ภาษิตกฎหมาย (Legal Maxim)
สิทธิโดยสายโลหิต
Jus sanguinis : right of blood
เป็ นนโยบายทางสัง คมที่ "สิท ธิข องการเป็ น
พ ล เ มื อ ง "
เ ป็ น สิ ท ธิ ที่
้
เชือชาติ
หรือ สัญชาติ มิได้ระบุโดยดินแดนที่
ก า เ นิ ด แ ต่ โ ด ย ก า ร ที่ มี บ ร ร พ บุ รุ ษ ผู ้ ท ี่ ถื อ
สัญ ชาติห รือ เป็ นพลเมือ งของประเทศที่ว่ า
่
ซึงตรงกั
นข้ามกับ “สิทธิโดยแผ่นดิน ” (Jus
soli :"law of ground")
96
บรรพ 6 มรดก
แบ่งออกเป็ น 6 ลักษณะ ได้แก่
่
1. บทเบ็ดเสร็จทัวไป
2. สิทธิโดยธรรมในกำรร ับมรดก
3. พินัยกรรม
4. วิธจี ด
ั กำรและปันทร ัพย ์มรดก
5. กำรเสียสิทธิในกำรร ับมรดก
6. อำยุควำม
97
บรรพ 6 มรดก
่
1. หลักทัวไป
่ คคลใดตำย (มำตรำ 1599) หรือ
เมือบุ
ถือว่ำตำย (มำตรำ 1602) มรดกตกแก่
ทำยำทโดยสิทธิตำมกฎหมำย เรียกว่ำ
“ทำยำทโดยธรรม” หรือโดยพินัยกรรม
เรียกว่ำ “ผู้ร ับพินัยกรรม” (มำตรำ
1603)
บุคคลธรรมดำจะเป็ นทำยำทได ้ก็ตอ
่ เมือ่
98
บรรพ 6 มรดก
่ ดมำรอดอยูภ
เด็กทีเกิ
่ ำยใน 310 วันนับ
่ ้ำมรดกตำย ให ้ถือว่ำเป็ นทำรก
แต่วน
ั ทีเจ
ในครรภ ์มำรดำอยูใ่ นเวลำที่
เจ ้ำมรดกถึงแก่ควำมตำย (มำตรำ 1604)
กองมรดก ได ้แก่ ทร ัพย ์สินทุกชนิ ดของ
้ ทธิหน้ำทีและควำมร
่
ผูต้ ำย ตลอดทังสิ
ับ
ผิดต่ำงๆ เว ้นแต่เป็ นกำรเฉพำะตัวของ
ผูต้ ำย (มำตรำ 1600) เช่น สิทธิตำม
99
บรรพ 6 มรดก
้
คาถาม : 1. สิทธิตำมสัญญำเช่ำซือตก
ทอดเป็ นมรดกได ้หรือไม่
2. ทำยำทต ้องร ับผิดเกินกว่ำทร ัพย ์
่
มรดกทีตกทอดแก่
ตนหรือไม่ (มำตรำ
1601)
่
่ นคนสำบสูญ
3. บุคคลซึงศำลสั
งเป็
และไม่ปรำกฏตนภำยในระยะเวลำตำมที่
กฎหมำยกำหนดอันถือว่ำถึงแก่ควำม
100
บรรพ 6 มรดก
2. สิทธิโดยธรรมในการร ับมรดก
้ั
2.1 ลาดับชนทายาท
(มาตรา 1629)
(1) ผูส้ บ
ื สันดำน (หมำย
ถึง...................................................)
(2) บิดำมำรดำ (โดยแท ้)
่ องร่วมบิดำมำรดำเดียวกัน (ถือตำม
(3) พีน้
สำยโลหิต)
่ องร่วมบิดำหรือมำรดำเดียวกัน (ถือ
(4) พีน้
101
บรรพ 6 มรดก
่ งมีชวี ต
ิ อยู่หรือมีผู ้ร ับ
หำกทำยำทซึงยั
่ งไม่ขำดสำยในลำดับ
มรดกแทนทียั
่ ่ในลำดับถัดไปไม่มี
หนึ่ งๆ ทำยำททีอยู
สิทธิในทร ัพย ์มรดกของผูต้ ำยเลย
ยกเว ้น กรณี บด
ิ ามารดาให ้ได ้ส่วน
้ั ตร หำกยังมี
แบ่งเสมือนทำยำทชนบุ
ชีวต
ิ อยู่ (มำตรำ 1630-1631)
102
บรรพ 6 มรดก
ภริยาให ้ถือเป็ นทำยำทโดยธรรม (มำตรำ
1629 และ 1635) โดยได ้ร ับมรดกดังนี ้
(1) ถ ้ำมีทำยำทลำดับที่ (1) ยังมีชวี ต
ิ อยู่
่ ้วแต่กรณี คู่
หรือมีผูร้ ับมรดกแทนทีแล
่ งมีชวี ต
สมรสทียั
ิ อยูน
่ ้ันมีสท
ิ ธิได ้ร ับส่วน
้ั ตร
แบ่งเสมือนตนเป็ นทำยำทชนบุ
(2) ถ ้ำมีทำยำทชน้ั (3) และทำยำทนั้นยัง
มีชวี ต
ิ อยู่ หรือมีผูร้ ับมรดกแทนที่ หรือถ ้ำ
ไม่มท
ี ำยำทลำดับ (1) แต่มท
ี ำยำทลำดับ
103
บรรพ 6 มรดก
(3) ถ ้ำมีทำยำทลำดับ (4) หรือ (6)
และทำยำทนั้นยังมีชวี ต
ิ อยู่ หรือมี
ผู ้ร ับมรดกแทนที่ หรือมีทำยำท
่ ง
ลำดับ (5) แล ้วแต่กรณี คูส
่ มรสทียั
มีชวี ต
ิ อยูน
่ ้ันมีสท
ิ ธิได ้ร ับมรดกสอง
ส่วนในสำม
(4) ถ ้ำไม่มท
ี ำยำทเลยแม้แต่ลำดับ
่ งมีชวี ต
เดียว คูส
่ มรสทียั
ิ อยูน
่ ้ันมีสท
ิ ธิ
้
104
บรรพ 6 มรดก
หำกผูต้ ำยเป็ นคูส
่ มรส ต ้องแยกสิน
ส่วนตัว และสินสมรสก่อน และแบ่ง
สินสมรสให ้เรียบร ้อย
่ นของเจ ้ำมรดกมำเป็ น
จึงนำส่วนทีเป็
ทร ัพย ์มรดกต่อไป
คาถาม สำมีภริยำทีร่ ้ำงกันหรือแยกกันอยู่
โดยยังมิได ้หย่ำขำดจำกกันตำม
กฎหมำย ยังมีสท
ิ ธิโดยธรรมในกำรสืบ
่ นและกันหรือไม่ (มำตรำ
มรดกซึงกั
105
บรรพ 6 มรดก
คาถาม นำยมำกจดทะเบียนสมรสกับนำง
่
นำค มีทร ัพย ์สินทีหำมำได
้ร่วมกันเป็ นเงิน
่ น 100 ไร่ นำย
สด 50,000 บำท และทีดิ
มำกมีสร ้อยทองติดตัวมำ 1 บำท ต่อมำ
่ นให ้นำงนำคโดยระบุใน
บิดำนำงนำคยกทีดิ
้
พินัยกรรมอีก 50 ไร่ ทังสองมี
บต
ุ รด ้วยกัน
1 คน ชือ่ ลูกกรอก
1. สินส่วนตัวได ้แก่อะไรบ ้ำง
2. สินสมรสได ้แก่อะไรบ ้ำง
่
3. เมือนำงนำคตำย
ทร ัพย ์มรดกได ้แก่อะไรบ ้ำง
106
บรรพ 6 มรดก
5. หำกนำยมำกตำยก่อนนำงนำค ทร ัพย ์
มรดกได ้แก่อะไรบ ้ำง
6. จำกข ้อ 5. หำกบิดำมำรดำของนำย
มำกยังมีชวี ต
ิ อยู่
ผูม้ ส
ี ท
ิ ธิได ้ร ับมรดกของนำยมำกได ้แก่
ใครบ ้ำง
7. จำกข ้อ 5. หำกบุตรนำยมำกเสียชีวต
ิ
107
บรรพ 6 มรดก
2.2 การร ับมรดกแทนที่
่
ถ ้ำบุคคลใดทีจะเป็
นทำยำทลำดับที่
(1) (3) (4) (6) ถึงแก่ควำมตำย หรือ
ถูกกำจัดมิให ้ร ับมรดกก่อนเจ ้ำมรดก
ตำย ให ้ผูส้ บ
ื สันดำนของบุคคลนั้น
(ถ ้ำมี) เข ้ำร ับมรดกแทนที่ ถ ้ำ
ผูส้ บ
ื สันดำนนั้นถึงแก่ควำมตำย ให ้
ผูส้ บ
ื สันดำนของผูสื้ บสันดำนร ับ
่ อไปเป็ นทอดๆ (มำตรำ
มรดกแทนทีต่
108
บรรพ 6 มรดก
่
ถ ้ำบุคคลใดทีจะเป็
นทำยำทลำดับที่
(2) หรือ (5) ถึงแก่ควำมตำย หรือ
ถูกกำจัดมิให ้ร ับมรดกก่อนเจ ้ำมรดก
่ ง
ตำย ถ ้ำมีทำยำทลำดับเดียวกันทียั
้
มีชวี ต
ิ อยู่ ก็ให ้ส่วนแบ่งทังหมดตกแก่
ทำยำทนั้นเท่ำนั้น ห ้ำมมิให ้มีกำรร ับ
่ นต่อไป (มำตรำ
มรดกแทนทีกั
1641)
109
บรรพ 6 มรดก
่ ้ใช ้บังคับแต่ในระหว่ำง
กำรร ับมรดกแทนทีให
ทำยำทโดยธรรม และใช ้ได ้แต่เฉพำะแก่
ผูส้ บ
ื สันดำนโดยตรง ผู ้บุพกำรีไม่มส
ี ท
ิ ธิ (มำตรำ
1642-1643) โดยผูส้ บ
ื สันดำนจะร ับมรดกแทนที่
่ สท
ได ้ต่อเมือมี
ิ ธิบริบูรณ์ในกำรร ับมรดก
(มำตรำ 1644)
่
บุคคลทีสละมรดกของบุ
คคลอีกคนหนึ่ ง ยังคงมี
่ คคลนั้นได ้ (มำตรำ 1645)
สิทธิร ับมรดกแทนทีบุ
้ ับมรดกแทนทีได้
่ หรือไม่
คาถาม : กรณี ตอ
่ ไปนี ร
1. สิทธิตำมพินัยกรรม
2. บุตรของบุตรบุญธรรม
3. บุตรบุญธรรมของบุตรบุญธรรม
110
บรรพ 6 มรดก
3. พินย
ั กรรม
หำกเจ ้ำมรดกแสดงเจตนำไว ้ในพินัยกรรม
อย่ำงไร ให ้เป็ นไปตำมนั้น กำรแสดงเจตนำ
่
้นย่อมทำได ้ด ้วย
กำหนดกำรเผือตำยนั
่ งสุ
้ั ดท ้ำยกำหนดไว ้ในพินัยกรรม
คำสังคร
(มำตรำ1647)
บุคคลจะทำพินัยกรรมได ้ต ้องมีอำยุ 15 ปี
บริบูรณ์(มำตรำ 1704)
คาถาม ท่ำนคิดว่ำผูเ้ ขียนหรือพยำนใน
111
บรรพ 6 มรดก
ควำมสำมำรถของผูท้ ำพินัยกรรม ให ้
่ ำพินัยกรรม
พิจำรณำแต่ในเวลำทีท
เท่ำนั้น (มำตรำ 1654)
ควำมสำมำรถของผูร้ ับพินัยกรรม ให ้
่ ท้ ำพินัยกรรมตำย
พิจำรณำแต่ในเวลำทีผู
เท่ำนั้น (มำตรำ 1654)
พินัยกรรมต ้องทำตำมแบบตำมบรรพ 5
นี ้
112
บรรพ 6 มรดก
แบบของพินย
ั กรรม
้
(1) แบบเขียนเองทังฉบั
บ (มำตรำ 1657)
(2) แบบเอกสำรฝ่ ำยเมือง – แจ ้งข ้อควำมต่อ
อำเภอต่อหน้ำพยำนอย่ำงน้อยสองคน
(มำตรำ 1658)
(3) แบบเอกสำรลับ – ทำพินัยกรรม ลงชือ่ ผนึ ก
่
ลงชือคำบรอยผนึ
ก แล ้วแจ ้งเก็บไว ้ทีอ่ ำเภอ
(มำตรำ 1660)
(4) พินัยกรรมแบบวำจำ – มีพฤติกำรณ์พเิ ศษ
113
บรรพ 6 มรดก
คาถาม
1. หำกเจ ้ำมรดกทำพินัยกรรมยกทร ัพย ์
้
มรดกทังหมดให
้แก่มูลนิ ธช
ิ ัยพัฒนำ ทำยำท
โดยธรรมฟ้ องเรียกคืนมรดกได ้หรือไม่
่ ้ำมรดกทำไว ้นั้นไม่มี
2. หำกพินัยกรรมทีเจ
ผลใช ้ได ้โดยกฎหมำย บุคคลใดจะมีสท
ิ ธิใน
ทร ัพย ์มรดกของผู ้ตำย (มำตรำ 1620)
3. หำกทำยำทคนหนึ่ งเป็ นผู ้ร ับพินัยกรรม
่ ได ้
ด ้วย จะเรียกเอำทร ัพย ์มรดกส่วนทีมิ
114
บรรพ 6 มรดก
การเพิกถอนการตกไปและความเสียเปล่าแห่ง
พินย
ั กรรม/ข้อกาหนดพินย
ั กรรม
่
ผูท้ ำพินัยกรรมมีสท
ิ ธิเพิกถอนพินัยกรรมทีตนท
ำไว ้
้
อบำงส่วนในเวลำใดก็ได ้ (มำตรำ 1693)
ได ้ทังหมดหรื
หำกมีพน
ิ ัยกรรมสองฉบับ แต่ละฉบับมีข ้อควำม
ขัดแย ้งกัน ให ้ถือเอำตำมควำมในพินัยกรรมฉบับหลัง
่ ดแย ้ง
มำบังคับใช ้เฉพำะส่วนทีขั
(มำตรำ 1697)
่ คคลทีมี
่ อำยุยงั ไม่ครบ 15 ปี บริบรู ณ์/
พินัยกรรมซึงบุ
่ นคนไร ้ควำมสำมำรถทำขึนเป็
้ น
บุคคลผูถ้ ก
ู ศำลสังเป็
115
บรรพ 6 มรดก
4. วิธจ
ี ด
ั การและปั นทร ัพย ์มรดก
้
จัดกำรโดยผูจ้ ด
ั กำรมรดก อำจตังโดย
่
พินัยกรรม หรือคำสังศำล
(มำตรำ 1711-1712)
หรือทำยำท/ผูมี้ สว่ นได ้เสีย/อัยกำรจะร ้องขอ
ต่อศำลก็ได ้ตำมเหตุทกฎหมำยก
ี่
ำหนด
(มำตรำ 1713)
ผูจ้ ด
ั กำรมรดกต ้องจัดกำรมรดกไปในทำงที่
้
รวมถึง
สมประโยชน์ของทำยำททังหมด
่
หน้ำทีในกำรท
ำศพด ้วย (มำตรำ 1649)
116
บรรพ 6 มรดก
ผูจ้ ด
ั กำรมรดกไม่มส
ี ท
ิ ธิได ้ร ับบำเหน็ จจำกกอง
มรดก เว ้นแต่กำหนดไว ้ในพินัยกรรมหรือ
ทำยำทโดยจำนวนข ้ำงมำกกำหนดไว ้ (มำตรำ
1721)
ผูจ้ ด
ั กำรมรดกต ้องจัดทำบัญชีทรพ
ั ย ์มรดก
ภำยใน 15 วันนับแต่เจ ้ำมรดกตำยหรือนับแต่
่
่ จ้ ด
วันเริมหน้
ำทีผู
ั กำรมรดก แล ้วแต่กรณี
หรือในกรณี อน
ื่ และต ้องให ้แล ้วเสร็จภำยใน 1
่ ำบัญชี (มำตรำ 1728เดือนนับแต่เวลำเริมท
117
บรรพ 6 มรดก
การชาระหนี ้
้ สท
้
เจ ้ำหนี มี
ิ ธิได ้ร ับชำระหนี จำกกองมรดก
เท่ำนั้น (มำตรำ 1734) โดยจะเรียกเอำจำก
่ จ้ ด
ทำยำทคนใดก็ได ้ ซึงผู
ั กำรมรดกอำจถูก
เรียกเข ้ำมำในคดีด ้วยได ้ (มำตรำ 1737) แต่
ทำยำทไม่จำต ้องร ับผิดเกินกว่ำทรพ
ั ย ์มรดกที่
ตกทอดแก่ตน (มำตรำ 1734)
่ ้องแจ ้งทรพ
ทำยำทมีหน้ำทีต
ั ย ์มรดกและ
้ นของเจ ้ำมรดกเท่ำทีตนทรำบให
่
หนี สิ
้
่ ำเนิ นกำรต่อไป
ผูจ้ ด
ั กำรมรดกทรำบเพือด
(มำตรำ 1735)
118
บรรพ 6 มรดก
ี สท
ิ ธิในการร ับมรดก
การเสย
1. ถูกกำจัดมิให ้รับมรดก (มำตรำ 1605-1607)
ได ้แก่ กรณีทำยำทยักย ้ำยหรือปิ ดบังทรัพย์
่
มรดก หรือถูกกำจัดฐำนเป็ นผู ้ไม่สมควร (เชน
ต ้องคำพิพำกษำว่ำพยำยำมทำให ้เจ ้ำมรดกถึง
แก่ควำมตำย เป็ นต ้น) – กำรถูกกำจัดสำมำรถ
ถอนได ้ (มำตรำ 1606)
2. ถูกตัดมิให ้รับมรดก (มำตรำ 1608-1609) ได ้แก่
กรณี
ั แจ ้งหรือพินัยกรรมไม่ม ี
เจ ้ำมรดกระบุไว ้โดยชด
มรดกให ้ผู ้นัน
้
5.
119
บรรพ 6 มรดก
4. ไม่ถอื เอำทร ัพย ์มรดก/ไม่ฟ้องเรียกมรดก
ภำยในอำยุควำม (มำตรำ 1754-1755)
่ ญญัตใิ ห ้ทำยำทเสียสิทธิ
5. มีกฎหมำยอืนบั
่
เช่น คำสังนำยกร
ัฐมนตรีอำศัยอำนำจ
ธรรมนู ญกำรปกครองรำชอำณำจักร พ.ศ.
2508 เป็ นต ้น
6. มีกฎหมำยบัญญัตไิ ว ้เป็ นพิเศษ (มำตรำ
1623 มำตรำ 1753) ได ้แก่ กรณี
ทร ัพย ์สินของพระภิกษุทได
ี่ ้มำระหว่ำง
120
บรรพ 6 มรดก
คาถาม 1. พระภิกษุเรียกร ้องเอำทรัพย ์มรดกใน
่ นทำยำทโดยธรรมได ้หรือไม่
ฐำนะทีเป็
(มำตรำ 1622)
2. พระภิกษุเป็ นผูร้ ับพินัยกรรมได ้หรือไม่
(มำตรำ 1622)
3. พระภิกษุทำพินัยกรรมมอบทร ัพย ์สินที่
ได ้มำระหว่ำงอุปสมบทได ้หรือไม่ (มำตรำ
1623)
121
บรรพ 6 มรดก
6. อายุความ
่ นกำหนดหนึ่ งปี นับ
- ห ้ำมมิให ้ฟ้ องคดีมรดกเมือพ้
่
แต่เมือ
่
เจ ้ำมรดกตำย หรือนับแต่เมือทำยำทโดยธรรม
ได ้รู ้หรือควรได ้รู ้ถึงควำมตำยของเจ ้ำมรดก
(มำตรำ 1754 วรรคหนึ่ ง)
- คดีฟ้องเรียกตำมข ้อกำหนดตำมพินัยกรรม มิ
่ นกำหนดหนึ่ งปี นับแต่เมือผู
่ ร้ ับ
ให ้ฟ้ องเพือพ้
่
122
บรรพ 6 มรดก
้ สท
่ อำยุควำมยำว
ถ ้ำเจ ้ำหนี มี
ิ ธิเรียกร ้องทีมี
่ นกำหนด
กว่ำหนึ่ งปี มิให ้เจ ้ำหนี ฟ้้ องร ้องเมือพ้
้ ้รู ้หรือควรได ้รู ้ถึง
่ ้ำหนี ได
หนึ่ งปี นับแต่เมือเจ
ควำมตำยของเจ ้ำมรดก (มำตรำ 1754 วรรค
สำม)
่ นสิบปี นับแต่
ไม่วำ่ ในกรณี ใดๆ ห ้ำมฟ้ องเมือพ้
่ ้ำมรดกตำย (มำตรำ 1754 วรรคสี)่
เมือเจ
้ ้ำงได ้ มีแต่ทำยำท
ผูย้ กอำยุควำมหนึ่ งปี ขึนอ
123
ภาษิตกฎหมาย (Legal
Maxim)
่
พินัยกรรมย่อมเปลียนได
้เสมอ
จนกว่ำผูท้ ำจะตำย
Ambularia est voluntas defuncti usque
ad vitae supremum exitum
124
่
ส่วนที 2
กฎหมายวิธ ี
พิจารณาความแพ่ง
125
1. คดีแพ่ง
ิ ธิ หรือหน ้ำทีข
คดีทม
ี่ ก
ี ำรโต ้แย ้งสท
่ องบุคคล
่ กำรฟ้ องให ้ผู ้กู ้ชำระเงิน
ตำมกฎหมำยแพ่ง เชน
ั ญำกู ้ หรือกำรฟ้ องให ้ผู ้ทำละเมิดชดใช ้
ตำมสญ
ี หำย เป็ นต ้น จะเห็นได ้ว่ำ วัตถุประสงค์ของ
ค่ำเสย
กำรฟ้ องคดีแพ่งมุง่ ให ้จำเลยชำระเงิน หรือ ชดใช ้
ี หำย
ค่ำเสย
นอกจำกนี้ อำจเป็ นเรือ
่ งทีก
่ ฎหมำย
ิ ธิทำงศำลเพือ
กำหนดให ้บุคคลใชส้ ท
่ รับรอง
ิ ธิของตน เชน
่ กำรร ้องขอให ้ศำลมี
คุ ้มครองสท
126
2. เขตอานาจศาล
่ั
กรณี ทวไป
่ าเลยมีภูมล
คาฟ้อง : ศาลทีจ
ิ าเนา
่ ลคดีเกิดขึนใน
้
อยู ่ในเขตศาล/ศาลทีมู
เขตศาลไม่วา
่ จาเลยจะมีภูมล
ิ าเนาอยู ่
ในราชอาณาจักรหรือไม่
่ ลคดีเกิดขึนใน
้
คาร ้องขอ : ศาลทีมู
่ ร้ ้องมีภูมล
เขตศาล/ศาลทีผู
ิ าเนาอยู ่
ในเขตศาล
127
กรณี อน
ื่
่
- คาฟ้องเกียวด้
วยอสังหาฯ หรือสิทธิ
่
หรือประโยชน์อ ันเกียวด้
วยอสังหาฯ
่ งหาฯ ตงอยู
้ั
ให้เสนอต่อศาลทีอสั
่ใน
่ าเลยมีภูมล
เขตศาล/ศาลทีจ
ิ าเนาอยู ่
ในเขตศาล (มาตรา 4 ทวิ)
- นอกเหนื อจากนี ้ ถ้าจาเลยมิได้ม ี
ภู มล
ิ าเนาอยู ่ในราชอาณาจักรและ
มู ลคดีมไิ ด้เกิดในราชอาณาจักร ถ้า
โจทก ์มีสญ
ั ชาติไทยหรือมีภูมล
ิ าเนา
128
4. การพิจารณาคดี
โจทก ์ฟ้อง
ฟ้องซ ้อน
้ ้ อง/ถอนฟ้อง/ฟ้องซา/
้
ทิงฟ
่ าให้การ
จาเลยยืนค
่
ฟ้องแย้ง/ขาดนัดยืน
ผูคใ้ าให้
ดกล่กาาร
วอ้าง ผู ้
้ าสืบ
นันน
นาสืบพยานหลักฐาน
พิพากษาไม่
ขาดนั
ดพิจารณา
เกิ
นคาขอ
ซ ักถาม-ซ ักค้าน-ถามติง /
คาพิพากษา/คาสัง่
อายุ
เงื่อนไขการอุทธรณ์/
129
่ั
5. วิธก
ี ารชวคราวก่
อนพิพากษา
1. จำเลยขอให ้โจทก์วำงเงิน/หำประกันค่ำ
ฤชำธรรมเนียมและค่ำใชจ่้ ำย (มำตรำ 253)
2. โจทก์ขอให ้คุ ้มครองดังนี้ (มำตรำ 254)
ิ
(1) ให ้ยึดหรืออำยัดทรัพย์สน
(2) ให ้ศำลมีคำสงั่ ห ้ำมชวั่ ครำวมิให ้จำเลย
กระทำ
(3) ให ้ศำลมีคำสงั่ ให ้ผู ้เกีย
่ วข ้องระงับ/
แก ้ไข/เพิกถอนกำรจดทะเบียน
(4) ให ้จับกุมและกักขัง
130
6. การบังคับคดี
(1) กำหนดเวลำบังคับคดี : ภำยใน 10
ปี นับแต่วันมีคำพิพำกษำ/คำสงั่
(มำตรำ 271)
(2) วิธก
ี ำร
- ผู ้ชนะคดีต ้องมีคำขอบังคับ
- อำจขอเข ้ำเฉลีย
่ ทรัพย์ (มำตรำ
290 )
131
ติดต่อสอบถำมได ้ที่
[email protected]
อำจำรย ์สรียำ กำฬสินธุ ์
อำจำรย ์ประจำภำควิชำนิ ตศ
ิ ำสตร ์
คณะสังคมศำสตร ์
มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร ์
132