ภาพรวมของพรบ. แรงงานสัมพันธ์ ข ้อมูลจาก http://web.nfe.go.th/index/content/law_006.html ั พันธ์ ลักษณะของพรบ.แรงงานสม เป็ นกฎหมายด้านสังคม กาหนดขึน้ เพือ่ ประโยชน์ในการ แก้ไขปญั หาข้อพิพาทแรงงาน เกีย่ วพันกับธุรกิจ โดยทัวไป ่ โดยมีกาหนดเกีย่ วกับนิยามตามกฎหมาย การ กาหนดให้มกี ารจัดตัง้ สานักงานทะเบียนกลาง ดูแลการ จดทะเบียนสมาคมนายจ้าง สหภาพแรงงาน สหพันธ์ แรงงานและให้จดั.

Download Report

Transcript ภาพรวมของพรบ. แรงงานสัมพันธ์ ข ้อมูลจาก http://web.nfe.go.th/index/content/law_006.html ั พันธ์ ลักษณะของพรบ.แรงงานสม เป็ นกฎหมายด้านสังคม กาหนดขึน้ เพือ่ ประโยชน์ในการ แก้ไขปญั หาข้อพิพาทแรงงาน เกีย่ วพันกับธุรกิจ โดยทัวไป ่ โดยมีกาหนดเกีย่ วกับนิยามตามกฎหมาย การ กาหนดให้มกี ารจัดตัง้ สานักงานทะเบียนกลาง ดูแลการ จดทะเบียนสมาคมนายจ้าง สหภาพแรงงาน สหพันธ์ แรงงานและให้จดั.

ภาพรวมของพรบ. แรงงานสัมพันธ์
ข ้อมูลจาก
http://web.nfe.go.th/index/content/law_006.html
ั พันธ์
ลักษณะของพรบ.แรงงานสม
เป็ นกฎหมายด้านสังคม กาหนดขึน้ เพือ่ ประโยชน์ในการ
แก้ไขปญั หาข้อพิพาทแรงงาน เกีย่ วพันกับธุรกิจ
โดยทัวไป
่ โดยมีกาหนดเกีย่ วกับนิยามตามกฎหมาย การ
กาหนดให้มกี ารจัดตัง้ สานักงานทะเบียนกลาง ดูแลการ
จดทะเบียนสมาคมนายจ้าง สหภาพแรงงาน สหพันธ์
แรงงานและให้จดั ตัง้ สานักงานคณะกรรมการแรงงาน
สัมพันธ์ และสานักงานผูช้ ข้ี าดเกีย่ วกับปญั หาแรงงาน
เพือ่ ดูแลปญั หาข้อพิพาทแรงงานต่างๆ และมีบทบัญญัติ
อื่นอีก
 แบ่งออกเป็ น 10 หมวด 163 มาตรา

หมวด 1 ข ้อตกลงเกีย
่ วกับสภาพการจ ้าง

ให้สถานประกอบการทีม่ ลี กู จ้างตัง้ แต่ยส่ี บิ คนขึน้ ไป จัด
ให้มขี อ้ ตกลงเกีย่ วกับสภาพการจ้างทีจ่ ดั ทาเป็ นหนังสือ
และอย่างน้อยต้องมีขอ้ ความเกีย่ วกับเงือ่ นไขการจ้าง วัน
เวลาทางาน ค้าจ้าง สวัสดิการ การเลิกจ้าง การยื่น
เรือ่ งราวร้องทุกข์ การแก้ไข หรือต่ออายุขอ้ ตกลงเกีย่ วกับ
การจ้าง โดยข้อตกลงจะมีผลบังคับไม่เกินสามปี ถ้าไม่
กาหนด ให้มอี ายุเท่ากับหนึ่งปี หลังจากนัน้ ถ้ามิได้มกี าร
ตกลงกัน ให้ถอื ว่าข้อตกลงนัน้ มีผลบังคับครัง้ ละหนึ่งปี
และกาหนดแนวปฏิบตั ใิ นการแก้ไขข้อตกลงสภาพการ
จ้างโดยฝา่ ยนายจ้างหรือฝา่ ยลูกจ้างไว้
หมวด 2 ว่าด ้วยวิธรี ะงับข ้อพิพาทแรงงาน

ในการแก้ไขข้อตกลงเกีย่ วกับสภาพการจ้าง ถ้าตกลงกันไม่ได้ให้
ถือว่าได้มขี อ้ พิพาทแรงงานเกิดขึน้ และให้ฝา่ ยแจ้งข้อเรียกร้อง
แจ้งเป็ นหนังสือให้พนักงานประนอมข้อพิพาทภายใน 24 ชัวโมง
่
หลังจากพ้นกาหนดเจรจาสามวันแรกแล้ว และให้พนักงาน
ประนอมข้อพิพาทเข้าไกล่เกลีย่ ให้มขี อ้ ตกลงกันภายในห้าวัน
กาหนดให้ขอ้ พิพาทแรงงานในกิจการการรถไฟ การท่าเรือ
โทรศัพท์หรือโทรคมนาคม ไฟฟ้า ประปา กลันน
่ ้ ามัน
โรงพยาบาล ให้สง่ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พจิ ารณาวินิจฉัย
และแจ้งผลให้สองฝา่ ยทราบในสามสิบวัน โดยฝา่ ยไม่เห็นด้วย
สามารถอุทธรณ์คาวินิจฉัยต่อรัฐมนตรีได้ ระหว่างเจรจาข้อ
เรียกร้อง ห้ามมิให้นายจ้างเลิกจ้าง หรือโยกย้ายหน้าที่ลกู จ้าง
ผูแ้ ทน หรือสมาชิกสหภาพเว้นแต่มกี ารทุจริตต่อหน้าที่ จงใจให้
เกิดความเสียหาย ฝา่ ฝืนระเบียบคาสัง่ ละทิง้ หน้าทีเ่ กินสามวัน
หมวด 3 ว่าด ้วยการปิ ดงานและการนัดหยุดงาน

กาหนดห้ามนายจ้างปิดงานหรือลูกจ้างนัดหยุดงานถ้ายัง
ไม่มกี ารแจ้งข้อเรียกร้อง และเจรจาตกลงกันไม่ได้ มีการ
ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง และในกรณีทจ่ี ะมีการปิดงานหรือนัด
หยุดงานเนื่องจากตกลงกันไม่ได้ ต้องแจ้งพนักงาน
ประนอมข้อพิพาทแรงงาน และอีกฝา่ ยทราบเรือ่ งอย่าง
น้อยยีส่ บิ สีช่ วโมง
ั ่ แต่ถา้ หากการนัดหยุดงาน หรือปิดงาน
อาจก่อให้เกิดความเสียหาย หรือก่อความเดือดร้อนต่อ
ประชาชน รัฐมนตรีมอี านาจสังนายจ้
่
างรับลูกจ้างกลับ
ทางาน สังให้
่ ลกู จ้างทางานตามปกติ ให้บุคคลอื่นเข้า
ทางานแทนที่ หรือให้คณะกรรมการชีข้ าดข้อพิพาทได้
ั พันธ์
หมวด 4 ว่าด ้วยคณะกรรมการแรงงานสม

ให้มคี ณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ทาหน้าทีว่ นิ ิจฉัยชีข้ าด
ข้อพิพาทแรงงานตามข้อกาหนดหรือได้รบั มอบหมาย ให้
ความเห็นตามทีร่ ฐั มนตรีมอบหมาย
หมวด 5 ว่าด ้วยคณะกรรมการลูกจ ้าง

กาหนดให้ลกู จ้างในสถานประกอบการ ทีม่ คี นงานตัง้ แต่
ห้าสิบคน จัดตัง้ คณะกรรมการลูกจ้าง เพือ่ ทาหน้าที่
ประชุมหารือร่วมกับนายจ้างเกีย่ วกับการจัดสวัสดิการ
ข้อบังคับ พิจารณาคาร้องทุกข์ของลูกจ้าง
หมวด 6 ว่าด ้วยสมาคมนายจ ้าง

กาหนดให้นายจ้างในกิจการประเภทเดียวกันสามารถ
รวมตัวกันจัดตัง้ สมาคมนายจ้าง เพือ่ เข้าร่วมเจรจาข้อ
พิพาทแรงงานกับสหภาพแรงงานได้ภายใต้หลักเกณฑ์ท่ี
กาหนด
หมวด 7 ว่าด ้วยสหภาพแรงงาน

ลูกจ้างในสถานประกอบการเดียวกัน หรือในกิจการ
ประเภทเดียวกัน สามารถร่วมกันจัดตัง้ สหภาพแรงงาน
ได้ตามหลักเกณฑ์ทก่ี าหนด เพือ่ ให้สหภาพทาหน้าที่
เรียกร้องเจรจาทาความตกลงกับนายจ้างหรือสมาคม
นายจ้าง
หมวด 8 ว่าด ้วยสหพันธ์นายจ ้างและสหพันธ์แรงงาน

ทัง้ สมาคมนายจ้าง และสหภาพแรงงานตัง้ แต่สองแห่ง
ต่างมีสทิ ธิรวมตัวกันเพือ่ จัดตัง้ เป็ นสหพันธ์นายจ้าง หรือ
สหพันธ์แรงงาน แล้วแต่กรณี
หมวด 9 ว่าด ้วยการกระทาอันไม่เป็ นธรรม

จะเป็ นบทบัญญัตเิ กีย่ วกับการปฏิบตั ทิ ถ่ี อื ว่าไม่เป็ นธรรม
ตามกฎหมายแรงงานสัมพันธ์
หมวด 10 ว่าด ้วยบทกาหนดโทษ

กาหนดบทลงโทษการไม่ปฏิบตั ติ ามกฎหมายนี้ทงั ้ โทษ
ปรับและโทษจาคุก โดยโทษสูงสุดจะได้รบั การจาคุก 2 ปี
การกระทาอันไม่เป็ นธรรม

มาตรา 121 ห้ามมิให้นายจ้าง
(1) เลิกจ้าง หรือกระทาการใด ๆ อันอาจเป็ นผลให้ลกู จ้าง ผู้แทน
ลูกจ้าง กรรมการ สหภาพแรงงาน หรือกรรมการสหพันธ์แรงงานไม่สามารถ
ทนทางานอยูต่ ่อไปได้ เพราะเหตุทล่ี กู จ้างหรือสหภาพแรงงานได้ชุมนุม ทา
คาร้อง ยืน่ ข้อเรียกร้อง เจรจา หรือดาเนินการ ฟ้องร้อง หรือเป็ นพยาน หรือ
ให้หลักฐานต่อพนักงานเจ้าหน้าทีต่ ามกฎหมายว่าด้วยการคุม้ ครองแรงงาน
หรือนายทะเบียน พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน ผูช้ ข้ี าดข้อพิพาท
แรงงาน หรือ กรรมการแรงงานสัมพันธ์ตามพระราชบัญญัตนิ ้ี หรือต่อศาล
แรงงาน หรือเพราะเหตุทล่ี กู จ้าง หรือสหภาพแรงงานกาลังจะกระทาการ
ดังกล่าว
(2) เลิกจ้างหรือกระทาการใด ๆ อันอาจเป็ นผลให้ลกู จ้างไม่
สามารถทนทางานอยูต่ ่อไปได้เพราะเหตุทล่ี กู จ้างนัน้ เป็ นสมาชิกของสหภาพ
แรงงาน
การกระทาอันไม่เป็ นธรรม

มาตรา 121 (ต่อ)
(3) ขัดขวางในการทีล่ กู จ้างเป็ นสมาชิกหรือให้ลกู จ้างออก
จากการเป็ นสมาชิกของสหภาพแรงงาน หรือให้ หรือตกลงจะให้
เงินหรือทรัพย์สนิ แก่ลกู จ้าง หรือเจ้าหน้าทีข่ องสหภาพ แรงงาน
เพือ่ มิให้สมัครหรือรับสมัครลูกจ้างเป็ นสมาชิก หรือเพือ่ ให้ออก
จากการเป็ นสมาชิกของ สหภาพแรงงาน
(4) ขัดขวางการดาเนินการของสหภาพแรงงาน หรือ
สหพันธ์แรงงาน หรือขัดขวาง การใช้สทิ ธิของลูกจ้างในการเป็ น
สมาชิกสหภาพแรงงาน หรือ
(5) เข้าแทรกแซงในการดาเนินการของสหภาพแรงงาน
หรือสหพันธ์แรงงาน โดย ไม่มอี านาจโดยชอบด้วยกฎหมาย
การกระทาอันไม่เป็ นธรรม

มาตรา 122 ห้ามมิให้ผใู้ ด
(1) บังคับหรือขูเ่ ข็ญ โดยทางตรงหรือทางอ้อม
ให้ลกู จ้างต้องเป็ นสมาชิกสหภาพ แรงงาน หรือต้องออก
จากการเป็ นสมาชิกของสหภาพแรงงาน หรือ
(2) กระทาการใด ๆ อันอาจเป็ นผลให้นายจ้าง
ฝา่ ฝืนมาตรา 121
การกระทาอันไม่เป็ นธรรม

มาตรา 123 ในระหว่างทีข่ อ้ ตกลงเกีย่ วกับสภาพการจ้าง
หรือคาชีข้ าดมีผลใช้บงั คับ ห้ามมิให้นายจ้างเลิกจ้าง
ลูกจ้าง ผูแ้ ทนลูกจ้าง กรรมการ อนุกรรมการ หรือสมาชิก
สหภาพ แรงงาน หรือกรรมการ หรืออนุกรรมการสหพันธ์
แรงงาน ซึง่ เกีย่ วข้องกับข้อเรียกร้อง เว้นแต่บุคคล
ดังกล่าว
(1) ทุจริตต่อหน้าทีห่ รือกระทาความผิดอาญา
โดยเจตนาแก่นายจ้าง
(2) จงใจทาให้นายจ้างได้รบั ความเสียหาย
การกระทาอันไม่เป็ นธรรม

มาตรา 123 (ต่อ)
(3) ฝา่ ฝืนข้อบังคับ ระเบียบ หรือคาสังอั
่ นชอบด้วย
กฎหมายของนายจ้าง โดยนายจ้างได้วา่ กล่าวและตักเตือนเป็ น
หนังสือแล้ว เว้นแต่กรณีทร่ี า้ ยแรงนายจ้างไม่จาต้องว่ากล่าวและ
ตักเตือน ทัง้ นี้ ข้อบังคับ ระเบียบ หรือคาสังนั
่ น้ ต้องมิได้ออกเพือ่
ขัดขวางมิให้บุคคลดังกล่าวดาเนินการเกีย่ วกับข้อเรียกร้อง หรือ
(4) ละทิง้ หน้าทีเ่ ป็ นเวลาสามวันทางานติดต่อกันโดยไม่
มีเหตุผลอันสมควร
(5) กระทาการใด ๆ เป็ นการยุยง สนับสนุน หรือ
ชักชวนให้มกี ารฝา่ ฝืนข้อตกลงเกีย่ วกับสภาพการจ้างหรือคาชี้
ขาด
การกระทาอันไม่เป็ นธรรม
มาตรา 124 เมือ่ มีการฝา่ ฝืนมาตรา 121 มาตรา 122
หรือมาตรา 123 ผูเ้ สียหาย เนื่องจากการฝา่ ฝืนอาจยืน่ คา
ร้องกล่าวหาผูฝ้ า่ ฝืนต่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ได้
ภายในหกสิบวันนับแต่วนั ทีม่ กี ารฝา่ ฝืน
 มาตรา 125 เมือ
่ ได้รบั คาร้องกล่าวหาตามมาตรา 124
แล้ว ให้คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พจิ ารณาวินิจฉัยชี้
ขาดและออกคาสังภายในเก้
่
าสิบวันนับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั คา
ร้อง กล่าวหา
รัฐมนตรีมอี านาจขยายระยะเวลาให้
คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์พจิ ารณาวินิจฉัยชีข้ าดได้
ตามทีเ่ ห็นสมควร

การกระทาอันไม่เป็ นธรรม
มาตรา 126 ในกรณีทผ่ี ถู้ ูกกล่าวหาได้ปฏิบตั ติ ามคาสัง่
ของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ตามมาตรา 125
ภายในระยะเวลาทีค่ ณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์กาหนด
การดาเนินคดีอาญาต่อบุคคลนัน้ ให้เป็ นอันระงับไป
 มาตรา 127 การฝา่ ฝื นมาตรา 121 มาตรา 122 หรือ
มาตรา 123 จะดาเนินคดีอาญาได้ต่อเมือ่ ผูเ้ สียหาย
เนื่องจากการฝา่ ฝืนได้ยน่ื คาร้องกล่าวหาผูฝ้ า่ ฝืนตาม
มาตรา 124 และผูถ้ ูกกล่าวหาไม่ปฏิบตั ติ ามคาสังของ
่
คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ตามมาตรา 125
