ภาพรวมการเจรจาจัดทาความตกลงหุ้นส่ วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น (JTEPA) โดย นายพิศาล มาณวพัฒน์ รองปลัดกระทรวงการต่างประเทศและหัวหน้าคณะเจรจาเขตการค้าเสรี ไทย-ญี ป่ นุ่ 11 กุมภาพันธ์ 2549 Copyright © 2006 Mr.

Download Report

Transcript ภาพรวมการเจรจาจัดทาความตกลงหุ้นส่ วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น (JTEPA) โดย นายพิศาล มาณวพัฒน์ รองปลัดกระทรวงการต่างประเทศและหัวหน้าคณะเจรจาเขตการค้าเสรี ไทย-ญี ป่ นุ่ 11 กุมภาพันธ์ 2549 Copyright © 2006 Mr.

ภาพรวมการเจรจาจัดทาความตกลงหุ้นส่ วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น (JTEPA)
โดย นายพิศาล มาณวพัฒน์
รองปลัดกระทรวงการต่างประเทศและหัวหน้าคณะเจรจาเขตการค้าเสรี ไทย-ญี ป่ นุ่
11 กุมภาพันธ์ 2549
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
JTEPA เปรียบเหมือนทางด่ วนที่จะช่ วยเพิ่มโอกาส
ทางการค้ า การลงทุน การท่ องเที่ยว การไปมาหาสู่
ระหว่ างไทยกับประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ เป็ น
อันดับ 2 ของโลก
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
EPA
FTA (การเปิ ดเสรี )
•
การค้ าสินค้ า
•
กฎแหล่ งกาเนิดสินค้ า
•
การค้ าบริการ
•
การลงทุน
•
การเคลื่อนย้ ายของ
บุคคลธรรมดา
ความร่ วมมือ
ความร่วมมือด้ านอุตสาหกรรม; การบริการการเงิน;
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร;
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี พลังงาน และสิง่ แวดล้ อม;
การศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์; การท่องเที่ยว;
การค้ าไร้ กระดาษ; วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม;
การส่งเสริมการค้ าและการลงทุน; ความร่วมมือด้ านเกษตร
ป่ าไม้ และประมง; การปรับปรุงบรรยากาศทางธุรกิจ;
ทรัพย์สนิ ทางปั ญญา; การจัดซื ้อจัดจ้ างภาครัฐ;
นโยบายการแข่งขัน; มาตรฐานการยอมรับร่วมกัน;
ระเบียบพิธีศลุ กากร; การยุติข้อพิพาท
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ความร่ วมมือด้ านการเกษตร
ป่ าไม้ และประมง
การส่ งเสริมการค้ า
และการลงทุน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความร่ วมมือ
การท่ องเที่ยว
นโยบายการจัดซือ้ จัดจ้ าง
ความร่ วมมือด้ านการบริการการเงิน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
พลังงานและสิ่งแวดล้ อม
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม
(SMEs)
ภาครัฐ
การศึกษาและพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์
การค้ าไร้ กระดาษ
การส่ งเสริมบรรยากาศ
Value Creation Economy
Public Private Partnership
Kitchen of the World
สิ่งทอและเครื่ องนุ่งห่ ม
การพัฒนาอุตสาหกรรม
ยานยนต์
การพัฒนาอุตสาหกรรมเหล็ก
พลังงาน
ทางธุรกิจ
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ประเด็นสาคัญที่ภาคผู้แทนประชาชนสนใจ:
สินค้ าเกษตร
ได้ ประโยชน์จากการเปิ ดตลาดและยกระดับมาตรฐาน
เปิ ดเสรี บริการโทรคมนาคม
ไม่มีเพิ่มจาก WTO
เปิ ดเสรี บริการสาขาการเงิน
ไม่มีเพิ่มจาก WTO
เปิ ดเสรี การจัดซือ้ จัดจ้ างภาครั ฐ เน้ นเฉพาะด้ านความร่วมมือ
ทรั พย์ สินทางปั ญญา ยึดตามกฎหมายปั จจุบนั และเน้ นเรื่ องความร่วมมือ
สิทธิบัตรยา
ไม่มี
EPA ที่เจรจาเสร็จแล้ ว ไทยไม่ ต้องแก้ กฎหมายภายในทัง้ สิน้
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
JTEPA:
ข้ อวิพากษ์
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ข้ อวิพากษ์ :
1. “ฝ่ ายไทยไม่ ได้ มีการศึกษาก่ อน เตรียมตัว
ไม่ ดีพอ และถูกเร่ งให้ เจรจา”
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“ฝ่ ายไทยไม่ ได้ มีการศึกษาก่ อน เตรี ยมตัว
ไม่ ดีพอ”
12 เม.ย. 2545
ผู้นาเห็นชอบให้ คณะทางานเริ่มศึกษา
ก.ย. 2545-พ.ย. 2546 คณะทางานประชุมร่ วมกัน 5 ครั ง้ และ Task Force ประชุม
ร่ วมกัน 3 ครั ง้ (ภาครั ฐ+ภาคเอกชน+นักวิชาการ)
ศึกษาหารือรวม 18 เดือน
16-17 ก.พ. 2547
การเจรจา JTEPA รอบแรกที่กรุ งเทพฯ
30 ส.ค. 2548
เจรจารอบ 10 ที่กรุ งเทพฯ
3 ก.พ. 2549
สรุ ปผลการเจรจาระดับคณะทางานเรื่ องกฎว่ าด้ วยแหล่ งกาเนิด
สินค้ าและร่ างข้ อบทความตกลง JTEPA ฉบับสมบูรณ์ เจรจารวม
23 เดือน
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ตัวอย่ างผลการศึกษาเรื่ องการจัดทาเอฟทีเอไทย-ญี่ปุ่น
•ผลการศึกษาของนาย Kenichi Kawasaki [Fellow, Research Institute of
Economy, Trade and Industry (September 2003)]:
เอฟทีเอไทย-ญี่ปุ่นจะทาให้
- Real GDP ของญี่ปุ่นจะเพิ่มขึน้ 0.24% จากเอฟทีเอกับไทย
(แทบไม่ เพิ่มในกรณีเอฟทีเอญี่ปุ่น-สิงคโปร์ ; 0.03% กับเม็กซิโก; 0.12%
กับเกาหลีใต้ )
- Real GDP ของไทยจะเพิ่มขึน้ 20.09%
- ปริมาณการนาเข้ าของไทยจากญี่ปุ่นจะเพิ่มขึน้ 23.75% และ
ไทยจะส่ งออกไปญี่ปุ่นได้ เพิ่มขึน้ 25.79% (ญี่ปุ่น 1.53% และ 0.83%
ตามลาดับ)
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ตัวอย่ างผลการศึกษาเรื่ องการจัดทาเอฟทีเอไทย-ญี่ปุ่น
• ทีมศูนย์ ศกึ ษาเอเปค (16 ส.ค. 2547): พบว่ า
การลดอัตราภาษีศุลกากรเป็ นศูนย์ ในทุกสาขา
สินค้ า ทาให้ GDP ของไทยเพิ่มขึน้ 2.43%
(เป็ นมูลค่ าประมาณ 1.4 แสนล้ านบาท)
GDP ของญี่ปุ่นเพิ่มขึน้ 0.14% แสดงว่ า การค้ าเสรี ในทุกสาขา
สินค้ า มีผลกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยมากกว่ าญี่ปุ่นถึง
17 เท่ า
รายได้ ครั วเรื อนของไทยเพิ่มขึน้ 3% (ของญี่ปุ่นเพิ่มขึน้ 0.13%)
ดังนัน้
ครั วเรื อนไทยจะได้ ประโยชน์ จากการค้ าเสรี มากกว่ าครั วเรื อน
ญี่ปุ่นถึง 23 เท่ า)
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ทีมนักวิชาการที่ปรึกษาของคณะเจรจาฯ ไทย
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ทีมนักวิชาการที่ปรึกษาของคณะเจรจาฯ ไทย
•ทีมศูนย์ ศึกษาเอเปค มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ดร. ศุภชั ศุภชลาศัย
รศ.ดร. ประยงค์ เนตยารักษ์
รศ.ดร. พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์
ดร. ธเนศ เมฆจาเริ ญ
อ. ชนินทร์ มีโภคี
รศ. สุธรรม อยู่ในธรรม
รศ.ดร. ศักดา ธนิตกุล
อ. เธียรชัย ณ นคร
• ทีมมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
ดร. สมเกียรติ ตังกิ
้ จวานิชย์
ดร. เดือนเด่น นิคมบริ รักษ์
ดร. กิตติ ประเสริ ฐสุข (คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ )
• ผศ.ดร. ศิริพร วัชชวัลคุ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
• อ. เฉลิมชัย ก๊ กเกียรติกลุ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ข้ อวิพากษ์ :
2. “คณะเจรจาฯ ญี่ปุ่นเก่ งกว่ าไทย ญี่ปุ่นเข้ าถึง
ระดับสูงของไทยดีกว่ า”
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“คณะเจรจาฯ ญี่ปนเก่
ุ่ งกว่ าไทย ?”
ตัวอย่ างผู้เจรจาหลักในแต่ ละบท:
การค้ าสินค้ า
นายวินิจฉัย แจ่ มแจ้ ง รองอธิบดีกรมเจรจาฯ พณ.
เหล็ก
ดร. วิกรม วัชระคุปต์ ผู้อานวยการสถาบันเหล็กและ
เหล็กกล้ าแห่ งประเทศไทย
สินค้ าอุตสาหกรรมทังหมด
้
นายศิริรุจ จุลกะรั ตน์ ผู้อานวยการกองเศรษฐกิจ
ระหว่ างประเทศ
กฎว่าด้ วยแหล่งกาเนิดสินค้ า ดร. ฉวีวรรณ คงเจริญกิจกุล ผอ. สานักเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร กรมศุลกากร
กระทรวงการคลัง
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“คณะเจรจาฯ ญี่ปนเก่
ุ่ งกว่ าไทย ?”
ตัวอย่ างผู้เจรจาหลักในแต่ ละบท:
การค้ าบริการ การลงทุน การเคลื่อนที่ของบุคคล
ดร. วีรชัย พลาศรั ย รองอธิบดีกรมเศรษฐกิจฯ กต.
ความร่วมมือสาขาเกษตร ป่ าไม้ และประมง
นายพินิจ กอศรี พร รองเลขาฯ สนง. เศรษฐกิจ
การเกษตร กระทรวงเกษตรฯ
ทรัพย์สินทางปั ญญา
นายวีระศักดิ์ ไม้ วัฒนา นักวิชาการตรวจสอบ
สิทธิบัตร 8 ว กรมทรั พย์ สินทางปั ญญา พณ.
ฯลฯ
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“ญี่ปุ่นเข้ าถึงระดับสูงของไทย”
ในความเป็ นจริง ฝ่ ายการเมืองร่ วมมือกับฝ่ ายเจรจาตลอดเวลา
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“ฝ่ ายไทยไม่ ล็อบบีน้ อกห้ องเจรจา”
ฝ่ ายไทยเข้ าพบฝ่ ายการเมือง ผู้นาภาคเอกชน และภาคเกษตรญี่ปุ่นอย่ าง
ต่ อเนื่องจนถึงวันสุดท้ ายของการเจรจา
Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ลักษณะของญี่ปุ่น
ลักษณะของไทย
- เจรจาแยกเป็ นกระทรวง
- บูรณาการ
- ไม่ มีภาคประชาชน
- ให้ ความสาคัญกับภาค
ประชาชนและผู้มีส่วนได้
เสียอื่น ๆ
- สื่อ “มีวินัย”
- เปิ ดกว้ างกับสื่อ สื่อช่ วย
สร้ างพลังต่ อรอง
- ภาคราชการแข็ง แต่ ภาค
การเมืองมีบทบาทในช่ วงท้ าย
- การเมืองเดินเกมร่ วมกับ
ภาคราชการ
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ข้ อวิพากษ์ :
3. “ไม่ มีการปรึกษาหารื อกับผู้มีส่วนได้ เสียอย่ าง
เพียงพอ รั ฐแอบไปเจรจาเงียบๆ ไม่ เปิ ดเผยให้
สื่อมวลชนและประชาชนรู้”
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“ไม่ มีการปรึกษาหารืออย่ างเพียงพอ”
การประชุมกับผู้ผลิต
และผู้ใช้ เหล็กไทย
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“ไม่ มีการปรึกษาหารืออย่ างเพียงพอ”
การประชุมร่ วมกับค่ ายรถยุโรป
และสหรั ฐฯ
การประชุมร่ วมกับผู้ผลิตชิน้ ส่ วนยานยนต์ไทยแท้
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“ไม่ มีการปรึกษาหารืออย่ างเพียงพอ”
มีการหารื อกับภาควิชาการ ภาคประชาชน NGOs และสมาชิกรั ฐสภาที่ไม่
เห็นด้ วยกับการจัดทา EPA นี ้ อย่ างใกล้ ชิด และคณะเจรจาฯ ไทยได้ ใช้
เป็ นประโยชน์ ในการเพิ่มอานาจการต่ อรอง
“ไม่ มีการปรึกษาหารืออย่ างเพียงพอ”
คณะเจรจาฯ ไทยเดินทางไปพบเกษตรกร
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“ไม่ มีการประชาสัมพันธ์ เพียงพอ”
• ออกรายการทางโทรทัศน์ เรื่ องเอฟทีเอไทย-ญี่ปน
ุ่ ไม่ ต่ากว่ า 15 ครั ง้
• สัมภาษณ์ สดทางวิทยุ ไม่ ต่ากว่ า 25 ครั ง้
• เขียนบทความลงใน นสพ. ประมาณ 33 ชิน้ ให้ สัมภาษณ์ นักข่ าว นสพ. ไม่ ต่ากว่ า 45
ครั ง้
• ประชาสัมพันธ์ ทางรายการ “เปิ ดโลกการค้ าเสรีเอฟทีเอไทย-ญี่ปุ่น” ทางวิทยุแห่ ง
ประเทศไทย รวม 93 ตอน ระหว่ าง ส.ค.-พ.ย. 2548 และทางช่ อง 9 และช่ อง 11 รวม
34 ตอน ระหว่ าง ก.ย.-ต.ค. 2548
• ประชาสัมพันธ์ ทางรายการ “ทามาค้ าขาย” ออกอากาศทางช่ อง 11 เวลา 23.0023.30 น. ตัง้ แต่ กลางเดือน พ.ย. 2548 ถึงปั จจุบัน รวม 12 ตอน และจะออกอากาศ
ต่ อไปจนถึง เม.ย. 2548
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“ไม่ มีการประชาสัมพันธ์ เพียงพอ”
• ประชุมหารื อกับผู้แทนภาคต่ างๆ ไปบรรยายตามที่ต่าง ๆ
ไม่ ต่ากว่ า 75 ครั ง้ ตัง้ แต่ เดือน มี.ค. 2547
• เข้ าพบประธานคณะกรรมาธิการการต่ างประเทศและคณะ
เพื่อชีแ้ จงเรื่ องเอฟทีเอไทย-ญี่ปุ่นทุกครั ง้ ส่ งผลการเจรจาทุก
รอบและร่ าง legal text ตลอดจนผลการศึกษาของทีม
นักวิชาการที่ปรึกษาของคณะเจรจาฯ ไทย
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
JTEP Website
• สถานะล่ าสุ ดของการเจรจาฯ
• ข้ อมูลเกีย่ วกับสานักงาน
• บทความและข่ าวทีน่ ่ าสนใจ
• ตารางการประชุ มและสั มมนา
• Q/A ไขข้ อข้ องใจ FTA
http://www.mfa.go.th/jtepa
เริ่มตัง้ แต่ 10 ส.ค. 2547 ถึง 9 ก.พ. 2549 มีผ้ ูเข้ าชมไม่ น้อยกว่ า 44,585 คน
ผู้ท่ สี นใจ สามารถสอบถาม สนง.JTEP กต./สนง. FTA พณ. ได้ โดยตรง
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ข้ อวิพากษ์ :
4. “มีข้อเสียบ้ างไหม เห็นรั ฐพูดถึงแต่ ข้อดี”
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“มีข้อเสียบ้ างไหม เห็นรัฐพูดถึงแต่ ข้อดี”:
1) เอฟทีเอไทย-ญี่ปุ่นทาให้ ไทยขาดดุล รายได้ จาก
ภาษีศุลกากรจะลดลง
• ไทยขาดดุลกับญี่ปุ่นอย่ างต่ อเนื่องมาตลอด เพราะโครงสร้ างเศรษฐกิจ
ที่ญ่ ีปุ่นเป็ นผู้ลงทุนรายใหญ่ นาเข้ าเครื่ องจักร วัตถุดบิ มาใช้ เพื่อการผลิต
• ความตกลงนี ้ จะทาให้ ไทยส่ งสินค้ าเกษตรและอุตสาหกรรมไปญี่ปุ่นได้
มากขึน้ แต่ เพราะญี่ปุ่นจะลงทุนมากยิ่งขึน้ ดังนัน้ การขาดดุลคงไม่
ลดลงอย่ างฮวบฮาบ
• การขาดดุลเป็ นเพียงเสีย้ วหนึ่งของการพิจารณาผลจากการทาเอฟทีเอ
เพราะดุลการค้ าต้ องมองภาพทั่วโลก อีกทัง้ เอฟทีเอมีผลโยงถึงเม็ดเงิน
ลงทุนและ welfare gain ของครั วเรื อนทัง้ หมด
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
รายได้ ภาษีศุลกากรของไทย:
• มีหรื อไม่ มีเอฟทีเอ โครงสร้ างภาษีต้องลดตามแนวโน้ มการเจรจาการค้ า
ในกรอบพหุภาคี และนโยบายรั ฐบาลที่ต้องการลดต้ นทุนการผลิต
• Welfare gains ส่ วนรวมเพิ่มขึน้
• การเก็บภาษีนิตบิ ุคคล VAT สรรพสามิต ฯลฯ จะเพิ่ม
• ขาดดุลญี่ปุ่นเพื่อเพิ่มดุลกับประเทศอื่น จึงต้ องมองภาพรวมก่ อนวิจารณ์
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“มีข้อเสียบ้ างไหม เห็นรั ฐพูดถึงแต่ ข้อดี” :
2) อุตสาหกรรมไทยจะถูกกระทบ?
• เป็ นการเตรี ยมตัวรองรั บแนวโน้ มของ WTO
• รั ฐบาลต้ องมองผลประโยชน์ ส่วนรวม มิใช่
คานึงถึงผลประโยชน์ ของเจ้ าของกิจการไม่ ก่ ี
ครอบครั ว
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“มีข้อเสียบ้ างไหม เห็นรั ฐพูดถึงแต่ ข้อดี” :
อุตสาหกรรมไทยต้ องปรั บตัว
เหล็กและชิน้ ส่ วน
•
ขาดดุลเพิ่มกับญี่ปนุ่ แต่ ได้ ดุลเพิ่มกับประเทศอื่น
•
มีระยะเวลาให้ เอกชนปรั บตัว (5-10 ปี )
•
เสริมสร้ างความสามารถในการแข่ งขัน
รถยนต์ สาเร็จรู ป (CBU)
เปิ ดตลาดน้ อยมากเมื่อเทียบกับมาเลเซียและฟิ ลิปปิ นส์ เพราะ
ต่ างกับเหล็กและชิน้ ส่ วน
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“มีข้อเสียบ้ างไหม เห็นรั ฐพูดถึงแต่ ข้อดี” :
3) เอฟทีเอที่ผ่านมา ภาคเกษตรไทย
เสียหายทุกที
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
EPA ไทย-ญี่ปนุ่ ภาคเกษตรไทยมีแต่ ยมิ ้ กับยิม้
ความร่ วมมือด้ านเกษตร
เน้ นมาตรฐานสุขอนามัย (SPS)
ความร่ วมมือระหว่ างสหกรณ์
การเกษตรญี่ปุ่นและไทยโดยตรง
เพื่อนาไปสู่การยกระดับความ
เป็ นอยู่ของเกษตรกร
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ตัวอย่ างสินค้ าที่ญ่ ีปุ่นยกเลิกภาษีให้ ไทยทันที:
กุ้งสด กุ้งต้ ม กุ้งแช่ เย็น แช่ แข็งและกุ้งแปรรู ป ลดภาษี
จาก 5% ปั จจุบนั มีมลู ค่าการส่งออก 13,000 ล้ านบาท
ผลไม้ เมืองร้ อน เช่ น ทุเรียน มะละกอ มะม่ วง มังคุด
มะพร้ าว ผลไม้ แช่ เย็น แช่ แข็งหรือแช่ ในนา้ ตาล (ลดจาก
ประมาณ 10-12%) มูลค่าส่งออกปั จจุบนั 370 ล้ านบาท
ผักและผลไม้ แปรรูป ผลไม้ กระป๋อง (ลดจากประมาณ
15%) มูลค่าส่งออกปั จจุบนั คือ 5,000 ล้ านบาท
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ตัวอย่ างสินค้ าที่ญ่ ีปุ่นลดภาษีให้ ไทยแต่ อัตราภาษีสุดท้ ายไม่
เป็ นศูนย์ หรือไม่ ได้ ลดเหลือศูนย์ ทนั ที:
ไก่ ปรุ งสุก ลดจาก 6% เป็ น 3% ใน 5 ปี ปั จจุบนั มีมลู ค่าการ
ส่งออกประมาณ 10,000 ล้ านบาท
อาหารทะเลสาเร็จรูป ลดจาก 9.6% เป็ น 0 ใน 5 ปี มูลค่า
การส่งออกในปั จจุบนั 8,000 ล้ านบาท
ปลาหมึกกล้ วยแช่ เย็น แช่ แข็ง ลดจาก 3.5% เป็ น 0 ใน 5
ปี มูลค่าการส่งออกในปั จจุบนั 8,000 ล้ านบาท
อาหารสุนัขและแมว ลดจากประมาณ 36-60 เยนต่อ กก.
เหลือ 0 ใน 10 ปี มูลค่าการส่งออกในปั จจุบนั 7,600 ล้ านบาท
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ตัวอย่ างสินค้ าที่ญ่ ีปุ่นให้ โควตา:
กล้ วย ญี่ปนให้
ุ่ โควตาปลอดภาษี 4,000 ตันในปี แรก และ
ทยอยเพิ่มเป็ น 8,000 ตันในปี ที่ 5
แป้งมันสาปะหลังแปรรูปที่ใช้ ในอุตสาหกรรม ญี่ปนให้
ุ่
โควตาปลอดภาษีแก่ไทย 200,000 ตัน ปั จจุบนั มีมลู ค่าการ
ส่งออกประมาณ 3,600 ล้ านบาท
กากนา้ ตาล ญี่ปนให้
ุ่ โควตา 4,000 ตันในปี ที่ 3 และเพิ่มเป็ น
5,000 ตันในปี ที่ 4 (ลดภาษีในโควตาจาก 15.3 เยน/กก. เหลือ
7.65 เยน/กก.)
สับปะรดสด 100 ตันในปี แรก และเพิ่มเป็ น 300 ตันในปี ที่ 5
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
การเจรจาเรื่องกฎว่ าด้ วยแหล่ งกาเนิดสินค้ า
(Rules of Origin, ROO)
• ในปี 2547 ไทยส่ งสินค้ าเกษตรไปญี่ปุ่น มูลค่ า 93,317 ล้ านบาท
• ในจานวนนี ้ สินค้ าเกษตรไทยที่ไม่ ตดิ ล็อค ROO และได้ ประโยชน์ จากการ
ลดภาษีภายใต้ JTEPA อยู่แล้ ว คิดเป็ นมูลค่ า 41,907 ล้ านบาท
• อีก 229 รายการ (ในพิกัด 4 หลัก) ที่ญ่ ีปุ่นได้ ยอมลดภาษีให้ ไทยแล้ ว
มูลค่ ารวม 42,000 ล้ านบาท
เดิม ช่ วงก่ อนเดือน ก.ย. 48 ยังติดปั ญหาเรื่ อง ROO
แต่ ขณะนี ้ ผลจากการเจรจา ROO ระหว่ างเดือน ก.ย. 48-3 ก.พ. 49 ทาให้
ไทยสามารถปลดล็อค ROO สาหรั บสินค้ าส่ วนนี ้ (เช่ น ปลาทูน่า สคิปแจ๊ ค
และโบนิโตแปรรู ป กุ้งแปรรู ป นาผลไม้ ผัก ผลไม้ และถั่วแปรรู ป ปรุ งแต่ ง
หรื อทาไว้ ไม่ ให้ เสีย) ได้ คิดเป็ นมูลค่ า 32,887 ล้ านบาท
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“มีข้อเสียบ้ างไหม เห็นรั ฐพูดถึงแต่ ข้อดี” :
4) คนธรรมดาไม่ เห็นได้ อะไรเลย?
เห็นช่ วยแต่ บริษัทใหญ่ ๆ
การเปิ ดเสรี กลุ่มที่ได้ ประโยชน์ ท่ สี ุด แต่ ไม่ มีการ
กล่ าวถึงและไม่ มีตัวแทนที่ชัดเจน คือ กลุ่มผู้บริโภค
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“คนธรรมดาไม่ เห็นได้ อะไร” :
สาขาอาชีพที่ญ่ ีปุ่นรั บที่จะผูกพันเปิ ดเสรี ให้ บริษัทไทยเข้ าไปตัง้ กิจการ/ให้ บริการ
และ/หรื อให้ คนไทยทางาน/ให้ บริการในญี่ปุ่นได้ (เพิ่มหรื อปรั บปรุ งจากข้ อผูกพันที่
WTO ประมาณ 130 สาขาย่ อย)
ตัวอย่ าง:
บริการสปา
บริการโรงแรม
บริการร้ านอาหาร
บริการจัดเลีย้ ง
บริการจัดการประชุม
บริการออกแบบพิเศษ
บริการจัดงานแสดงสินค้ าและนิทรรศการ
บริการโฆษณา
บริการอสังหาริมทรั พย์
บริการวิศวกรรมโยธา
บริการล่ ามและแปล
บริการที่ปรึกษากฎหมายระหว่ างประเทศ
บริการซ่ อมบารุ งอุปกรณ์ การขนส่ งทางถนน (อู่ซ่อมรถ)
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
“คนธรรมดาไม่ เห็นได้ อะไร”:
อัญมณี สิ่งทอและเครื่ องนุ่งห่ ม ญี่ปุ่นยอมลดภาษีเป็ น 0
ทันที (ยกเว้ นไข่ มุกเทียม ซึ่งญี่ปุ่นจะยกเลิกภาษีให้ ไทยใน
7 ปี )
• อัญมณี ปี 2547 ไทยส่งอัญมณีไปญี่ปนคิ
ุ่ ดเป็ นมูลค่าประมาณ 7,843
ล้ านบาท และส่งสิ่งทอและเครื่ องนุ่งห่มไปญี่ปนคิ
ุ่ ดเป็ นมูลค่ารวมประมาณ
17,577 ล้ านบาท
• เครื่องนุ่งห่ ม ผู้ผลิตเครื่ องนุ่งห่มรายย่อย เช่น กลุม่ ชาวบ้ าน OTOP ผ้ า
ไหม และกลุม่ โบ๊ เบ๊ จะได้ รับประโยชน์ทนั ที
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ข้ อวิพากษ์ :
5. “คนญี่ปุ่นจะมาแย่ งหมอไทยจากคนจน”
• มี หรื อไม่ มี JTEPA ก็มีชาวญี่ปนกว่
ุ่ า 160,000 คนต่ อปี เข้ ามารั บบริการทาง
การแพทย์ ในโรงพยาบาลเอกชนไทยอยู่แล้ ว
• ไม่ มีการเปิ ดเสรี ให้ แพทย์ ญ่ ปี นเข้
ุ่ ามารั กษาคนญี่ปนในไทยโดยไม่
ุ่
มีใบ
ประกอบโรคศิลป์ของไทย
• JTEPA เพียงป้องกันไม่ ให้ รัฐบาลญี่ปนกี
ุ่ ดกันคนญี่ปนมารั
ุ่
บบริการในไทย
• บริการรั กษาพยาบาลมิได้ เกี่ยวข้ องกับแพทย์ พยาบาลเพียงกลุ่มเดียว แต่ มี
อุตสาหกรรมต่ อเนื่องที่คนไทยทั่วไปจะได้ รับประโยชน์ อย่ างกว้ างขวาง
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ตารางเวลากว่ า JTEP จะมีผลบังคับใช้ :
•
ผู้เชี่ยวชาญด้ านกฎหมายนาสิ่งที่ตกลงกันในห้ องเจรจาฯ มา
แปลงเป็ นภาษากฎหมาย (ก.ย. 2548-มี.ค. 2549)
•
พิธีลงนามในความตกลงหุ้นส่ วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่นอย่ าง
เป็ นทางการที่กรุ งโตเกียว (3 เม.ย. 2549)
•
•
ความตกลงมีผลบังคับใช้ (ประมาณเดือน ต.ค. 2549)
ความตกลงมีกลไกและกระบวนการทบทวน แก้ ไข เพิ่มเติม
อีกทัง้ สามารถยกเลิกความตกลงทัง้ ฉบับได้
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
การทางานขัน้ ต่ อไปของฝ่ ายไทย:
• การประชาสัมพันธ์ ให้ ผ้ ูได้ เสียผลประโยชน์ และ
ประชาชนทั่วไปเข้ าใจและใช้ ประโยชน์ จากเอฟทีเอ
ไทย-ญี่ปุ่น
• หน่ วยงานที่เกี่ยวข้ องมีการเตรี ยมพร้ อมภายหลัง
การเจรจา
• บทบาทและหน้ าที่ของ “สานักงานยุทธศาสตร์
การค้ าระหว่ างประเทศ” กระทรวงพาณิชย์
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
สรุ ป ไทยได้ หรือเสีย:
 ทัง้ ไทยและญี่ปุ่นได้
 GDP สูงขึน้
 การค้ า การลงทุน ความร่ วมมือ เศรษฐกิจ ความสัมพันธ์
ระหว่ างประชาชนมากขึน้
 เกษตรกรไทย ได้ทงั ้ ตลาดและยกระดับคุณภาพสินค้ าเกษตร
 ธุรกิจไทยได้
 ประชาชนไทยได้
 เป็ นการส่ งเสริมยุทธศาสตร์ สาคัญของไทยในเวทีโลก
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
กระบวนการ:
• โปร่ งใส รับฟั ง เปิ ดกว้ าง
• มองภาพรวม อธิบายได้
ผลการเจรจา:
• ไม่ เสียเปรียบ จบแล้ วยิม้ ได้ ทงั ้ คู่
• ได้ กับได้ มากหรือน้ อยขึน้ อยู่กับการใช้ ประโยชน์
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat
ขอบคุณ
Copyright © 2006 Mr. Pisan Manawapat