วิธก ี ารชัว ่ คราวกอนพิ พากษา ่ ภาคสอง สมัยที่ ๖๗ โดย อาจารยนริ ตัง้ ศรีไพโรจน์ ์ นทร วันอาทิตยที ์ ่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๗

Download Report

Transcript วิธก ี ารชัว ่ คราวกอนพิ พากษา ่ ภาคสอง สมัยที่ ๖๗ โดย อาจารยนริ ตัง้ ศรีไพโรจน์ ์ นทร วันอาทิตยที ์ ่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๗

วิธก
ี ารชัว
่ คราวกอนพิ
พากษา
่
ภาคสอง สมัยที่ ๖๗
โดย
อาจารยนริ
ตัง้ ศรีไพโรจน์
์ นทร
วันอาทิตยที
์ ่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๗
วิธีการคุ้มครองโจทก์
๑) บทกฎหมาย
๒) ประเภทของคาพิพากษาคดีแพง่
๓) เหตุทต
ี่ องให
้
้การคุมครอง
้
๔) บุคคลทีจ
่ ะขอความคุมครอง
้
๕) วิธก
ี ารทีจ
่ ะนามาใช้
๖) เงือ
่ นไขทีจ
่ ะไดรั
้ บอนุ ญาต
๗) หลักเกณฑการร
องขอ
์
้
๖ พ.ย. ๕๘
2
๘) ศาลทีท
่ าการไตสวนและพิ
จารณาสั่ ง
่
๙) คาสั่ งของศาล
๑๐) บทคุมครองจ
าเลย
้
๖ พ.ย. ๕๘
3
บทกฎหมาย
มาตรา ๒๕๔ คดีอื่นๆ นอกจาก คดี มโนสาเร่
โจทก์ชอบทีจ่ ะยืน่ ตอศาลพร
่
้อมกับคาฟ้องหรือใน
เวลาใดๆ ก่ อ นพิ พ ากษา ซึ่ ง ค าขอฝ่ ายเดี ย ว
่ นไขซึ่ง
ร้องขอให้ศาลมีคาสั่ งภายในบังคับแห่งเงือ
จะ ก ล่ าว ต่ อ ไ ป เ พื่ อ จั ด ใ ห้ มี ว ิ ธ ี คุ้ ม ค ร อ ง ใ ด ๆ
ดังตอไปนี
้
่
(๑) ให้ ยึ ด หรื อ อายัด ทรัพ ย ์สิ น ที่ พิ พ าท หรื อ
ทรัพยสิ์ น ของจาเลย ทัง้ หมดหรือบางส่วนไว้ก่อน
พิพ ากษา รวมทั้ง จานวน เงิน หรือ ทรัพ ย์สิน ของ
๖ พ.ย. ๕๘
4
อื่นใดในอันที่จะบรรเทาความเดือดร้อนเสียหาย
ทีโ่ จทก อาจได
์
้รับ ต่อไปเนื่ อ งจากการกระท าของ
ิ ให้จาเลยโอน
จาเลย หรือมีคาสังห้
่ ามชัวคราวม
่
ขาย ยักย้ า ยหรือ จ าหน่ า ย ซึ่ง ทรัพ ย สิ์ นที่พิพ าท
หรือ ทรัพ ย สิ
์ นของจ าเลย หรือ มี ค าสัง่ ให้ ห ยุ ด
หรื อ ป้ องกัน การเปลื อ งไปเปล่ า หรื อ การบุ บ
สลายซึ่งทรัพยสิ์ นดังกลาว
ทัง้ นี้ จนกว่าคดีจะ
่
ถึงทีส
่ ุดหรือศาลจะมีคาสั่ งเป็ นอยางอื
น
่
่
(๓) ให้ศาลมีคาสั่ งให้นายทะเบียน พนักงาน
๖ พ.ย. ๕๘
5
(๔) ให้จับกุมและกักขังจาเลยไว้ชัว
่ คราว
ในระหวางระยะเวลานั
บแตศาลชั
้นต้นหรือศาล
่
่
อุทธรณได
าพิพากษา หรือคาสั่ งชี้ขาดคดี
์ ้อานค
่
หรือชีข
้ าดอุทธรณไปจนถึ
งเวลาทีศ
่ าลชัน
้ ต้นไดส
์
้ ่ง
สานวนความทีอ
่ ุทธรณหรื
์ อฎีกาไปยังศาลอุทธรณ ์
หรือศาลฎีก า แล้วแต่กรณี คาขอตามมาตรานี้
ให้ยื่นต่อศาลชัน้ ต้น ให้ศาลชัน้ ต้นมีอานาจที่ จะ
สัง่ อนุญาตหรือยกคาขอเช่นวานี
่ ้
ข้ อ พิ จ ารณา นอกจากนี้ ย ัง มีม าตรา ๒๕๕
ถึง ๒๖๓ และมาตรา ๒๖๕ ถึง ๒๗๐ เข้า
๖ พ.ย. ๕๘
6
ประเภทของคาพิพากษาคดีแพ่ง
๑) บังคับให้ใช้เงิน
๒) บังคับให้กระทาการหรืองดเวนกระท
าการ
้
๓) บังคับให้ขับไลหรื
้ ถอน
่ อรือ
๔) บังคับให้ส่งมอบทรัพยสิ์ น
๕) บังคับให้ถือคาพิพากษาแทนการแสดงเจตนา
ทานิตก
ิ รรม
ข้อพิจารณา
ทัง้ นี้ขน
ึ้ อยูกั
่ บคาขอท้ายฟ้องของ
โจทกหรื
าเลย
์ อคาขอทายฟ
้
้ องแยงของจ
้
๖ พ.ย. ๕๘
7
เหตุที่ต้องให้การคุ้มครอง
ในระหว่างการพิจ ารณาคดีก่อนที่ศ าลจะมีค า
พิพ ากษาหรือ ค าสั่ งให้ โจทก ชนะคดี
เ ป็ นเจ้ าหนี้
์
ตามคาพิพากษา จาเลยอาจดาเนินการอย่างใด
อย่างหนึ่ ง ในระหว่างพิจ ารณา เพื่อ มิใ ห้ โจทก ์
บังคับคดีให้เป็ นไปตามคาพิพากษาหรือคาสั่ งทีจ
่ ะ
มีขึ้น ได้ หรือ แม้ จะบัง คับ คดีไ ด้ แต่ ท าให้ โจทก ์
ไดรั
้ บความเสี ยหาย
วัต ถุประสงคของมาตรา
๒๕๔ เพือ
่ ให้ โจทก ์
์
สามารถบัง คับ คดีไ ด้ เมื่อ ศาลพิพ ากษาให้ โจทก ์
๖ พ.ย. ๕๘
8
บุคคลที่จะขอความคุ้มครอง
๑) โจทก ์
๒) จาเลยในส่วนทีเ่ กีย
่ วกับคาฟ้องแยง้
๓) ผูร
ไมมี
่ ก
ี ารคัดค้าน
้ องในคดี
้
่ ขอพิ
้ พาททีม
(ฎ.
๓๒๖๐-๓๒๖๑/๒๕๕๔, ๔๖๕๙/๒๕๕๕)
๔) เจ้ าหนี้ ต ามค าพิพ ากษากรณีจ าเลยขาดนัด
ต่ อ ม า ลู ก ห นี้ ต า ม
คาพิพากษายืน
่ คาขอให้พิจารณาใหม่ แล้วศาล
ได้ส่ งคาสั่ งให้ งดการบัง คับคดีไ ปยัง เจ้าพนัก งาน
บังคับคดี (ม.๒๙๒ (๑))
๖ พ.ย. ๕๘
9
ข้อพิจารณา
๑. คาขอในชั้นอุทธรณหรื
์ อฎีกา ผู้ขอต้องเป็ น
โ จ ท ก ์ ต า ม ค า ฟ้ อ ง ข อ ง
ศาลชัน
้ ต้นเทานั
่ ้น
๒. จาเลยยืน
่ คาร้องขอให้ศาลมีคาสั่ งตามมาตรา
นี้ไมได
่ ้ (ฎ.๒๒๓๘-๒๒๔๐/๒๕๔๘)
๓ . จ า เ ล ย ผู้ อุ ท ธ ร ณ ์ ห รื อ ฎี ก า ร้ อ ง ( โ จ ท ก ์
อุ ท ธรณ ์หรือ โจทก ฎี
์ ก า) ขอความคุ้ มครองตาม
มาตรา ๒๕๔ ไมได
่ ้ (คร.๕๘๗/๒๕๑๓ (ญ))
๔. บุคคลภายนอกคดีรองขอความคุ
มครองไม
ได
้
้
่ ้
แ ม้ จ ะ เ ป็ น เ จ้ า ห นี้ ต า ม
คาพิพากษาของจาเลยในคดีอน
ื่ (ฎ.๓๒๒/๒๕๐๒)
๖ พ.ย. ๕๘
10
วิธีการที่จะนามาใช้
๑) ยึดหรืออายัดทรัพยสิ์ นไวก
พากษา
้ อนพิ
่
๒) ห้ามจาเลยกระทาการจนกวาคดี
จะถึงทีส
่ ุด
่
๓) ระงับการเปลีย
่ นแปลงทางทะเบียนจนกวาคดี
่
จะถึงทีส
่ ุด
๔) ให้จับกุมและกักขังจาเลยไวชั
่ คราว
้ ว
๖ พ.ย. ๕๘
11
๑) ยึดหรืออายัดทรัพยสิ์ นไว้กอนพิ
พากษา
่
๒๕๔ (๑))
(ม.
๑.๑) ทรัพยสิ์ นทีจ
่ ะยึด ไดแก
้ ่
๑. ทรัพยสิ์ นทีพ
่ พ
ิ าท
๒. ทรัพ ย ์สิ นของจ าเลยทั้ง หมดหรือ
บางส่วน
๑.๒) ทรัพยสิ์ นทีอ
่ ายัด ไดแก
้ ่
จ า น ว น เ งิ น ห รื อ ท รั พ ย ์ สิ น ข อ ง
บุคคลภายนอก ซึง่ ถึงกาหนดชาระแกจ
่ าเลย
ข้ อพิจ ารณา วิธ ีก ารนี้ ใ ช้ ส าหรับ ค าฟ้ องที่
ขอให้บังคับจาเลยชาระเงิน
๖ พ.ย. ๕๘
12
ฎีก าที่ ๒๓๘๑/๒๕๓๐ โจทก ฟ
์ ้ องขอให้ จ าเลย
ร่ วมกั น ช า ระเงิ น ค่ ารั บ เหมา ก่ อสร้ างค่ าสิ นจ้ า งแล ะ
ค่าเสี ยหาย ก่อนศาลชั้น ต้ นพิพ ากษาคดี โจทก ยื
์ ่น ค า
ร้ องขอให้ สั่ งเจ้ าพนัก งานบัง คับ คดีต รวจสอบบัญ ชีผู้ พัก
และรายไดโรงแรมของจ
าเลยที่ ๑ และนาผลประโยชน์
้
รายวัน ของโรงแรมมาเก็ บ รัก ษา โดยอ้ างว่ าจ าเลยมี
หนี้สินและเจ้าหนี้จานวนมาก หากโจทกชนะคดี
ก็ยากจะ
์
บังคับคดีแกจ
่ าเลยที่ ๑ ได้ ดังนี้ คาขอของโจทกหา
์
ใช่ขอให้ยึดหรืออายัดทรัพยสิ์ นของจาเลย หรือเงินหรือ
ทรัพยสิ์ นของบุคคลภายนอกซึ่งถึงกาหนดชาระแกจ
่ าเลย
ตาม ๒๕๔ (๑) ไม่ จึ ง ไม่ อาจยกเอาบทกฎหมาย
ดังกลาวมาปรั
บสั่ งคดีโจทกตามที
โ่ จทกร์ องขอได
่
้
้
์
๖ พ.ย. ๕๘
13
๒) ห้ ามจ าเลยกระท าการจนกว่าคดีจ ะถึง ที่สุ ด
หรือศาลจะมีคาสั่ งเป็ นอยางอื
น
่
(ม.๒๕๔ (๒)) แบง
่
่
ออกเป็ น ๔ กรณี
๒.๑) ห้ามชั่วคราวมิให้จาเลยกระทาซ้าหรือ
กระทาตอไป
ซึง่
่
๑. การละเมิด
๒. การผิดสั ญญา หรือ
๓. การกระทาทีถ
่ ูกฟ้องร้อง
ฎีก าที่ ๒๗๐๘/๒๕๒๒ โจทก ฟ
์ ้ องขอให้
จ าเลยท าหนัง สื อมอบอ านาจให้ แก่โจทก เพื
์ ่อ ให้ โจทก มี
์
สิ ท ธิแ ละอ านาจด าเนิ น การขุ ด แร่หรือ โอนขายประทาน
บัตรและอืน
่ ๆ ไดทั
้ ง้ สิ้ นตามสั ญญาขายสิ ทธิการทาเหมือง
แร่ เช่นดังทีจ
่ าเลยไดเคยท
าหนังสื อมอบอานาจให้โจทก ์
้
ไว้แต่เดิมและขอให้เพิกถอนหนังสื อมอบอานาจทีจ
่ าเลย
มอบอ
านาจไห้ ว.มาเปิ ดท าการขุ ด หาแร่ในที่ป ระทาน14
๖ พ.ย. ๕๘
บัต รที่ข ายใหโจทก อัน เป็ นคดีท ี่ม ีค าขอใหปลดเปลือ
้ ง
หรือเหมืองแรที
่ โ่ จทกขอให
้ ศาลมีคาสั่ งคุ้มครองสิ ทธิของ
์
โจทก เลย
และโจทก มิ
์
์ ไ ด้ ฟ้ องเรีย กค่ าเสี ยหายมาด้ วย
เหมืองแรที
่ พ
ิ าทในคดีนี้
่ ่ ว. เข้าไปทาจึงมิใช่ตัวทรัพยที
์ พ
การทีโ่ จทก มายื
่น ค าร้ องขอให้ ศาลมีค าสั่ งคุ้ มครองสิ ท ธิ
์
ของโจทกดั
จึงไม่ตรงกับการกระทาที่ จาเลยถูก
่
์ งกลาว
ฟ้ อง ซึ่ง ไม่เกี่ยวกับ ตัวทรัพย หรื
์ อ เหมือ งแร่ หากการ
กระทาของ ว. และจาเลยอาจเกิดความเสี ยหายแกโจทก
่
์
ในเวลาตอมา
ก็ เป็ นเรือ
่ งนอกคาขอท้ายฟ้องคดีนี้ และ
่
ศาลจะมีคาสั่ งคุ้มครองสิ ทธิของโจทกให
์ ้ กระทบกระเทือน
ถึง ว. ซึ่งเป็ นบุคคลภายนอกและไม่มีโอกาสต่อสู้คดีหา
ไดไม
บคารองของโจทก
ไว
้ ่ ศาลจึงไมจ
่ าตองรั
้
้
้ จารณา
์ พิ
๒.๒) มีคาสั่ งอืน
่ ใดในอันทีจ
่ ะบรรเทาความ
เดื อ ดร้ อ นเสี ย หาย ที่ โ จ ท ก ์ อาจได้ ร ับ ต่ อ ไป
เนื่องจากการกระทาของจาเลย
๖ พ.ย. ๕๘
15
๒.๓) มีค าสั่ งห้ ามชั่ว คราวมิใ ห้ จ าเลยโอน
ขาย ยักย้าย หรือจาหน่ายซึง่
๑. ทรัพยสิ์ นทีพ
่ พ
ิ าท หรือ
๒. ทรัพยสิ์ นของจาเลย
๒.๔) มีคาสั่ งให้ หยุด หรือป้องกันการเปลือง
ไปเปลาหรื
อการบุบสลายซึง่
่
๑. ทรัพยสิ์ นทีพ
่ พ
ิ าท หรือ
๒. ทรัพยสิ์ นของจาเลย
ข้อพิจารณา สองวิธก
ี ารนี้ใช้สาหรับคาฟ้อง
ทีข
่ อให้บังคับจาเลยชาระเงินหรือส่งมอบทรัพยสิ์ น
๖ พ.ย. ๕๘
16
ฎี กาที่ ๑๓๑๒๔ /๒๕๕๓ การขอคุ้มครองชั่วคราว
ตามมาตรา ๒๕๔ (๒) จะต้องเป็ นการห้ามมิใ ห้กระทา
ซา้ ซึ่งการละเมิดหรือการผิดสั ญญา หรือการกระทาทีถ
่ ูก
ฟ้ องร้ อง หรื อ มี ค าสั่ งอื่ น ใดในอัน ที่ จ ะบรรเทาความ
เดือ ดร้ อนเสี ยหายที่โ จทก อาจได
้รับ ต่อไปเนื่ อ งจากการ
์
กระท าของจ าเลย หากกรณี ไ ม่ ใช่ เรื่อ งดัง กล่ าวแล้ ว
จะต้องเป็ นการห้ามชั่วคราวมิให้จาเลยโอนขาย ยักย้าย
หรือ จ าหน่ ายทรัพ ย สิ์ นทีพ
่ พ
ิ าทหรือ ทรัพ ย สิ์ นของจ าเลย
หรือมีคาสั่ งให้หยุดหรือป้องกันการเปลืองไปเปลาหรื
อบุบ
่
สลายซึง่ ทรัพยสิ์ นดังกลาว
แตกรณี
ตามคาร้องของโจทก ์
่
่
ที่ข อให้ ศ าลมี ค าสังห้
่ ามจาเลยที่ ๑ ดาเนินการต่ างๆ
เพื่อให้ ได้มาซึ่งกรรมสิทธ์ ิ ในที่ ดินพิพาทจนกว่าศาลจะ
พิ พ ากษาคดี ถึ ง ที่ สุ ด นี้ ไม่ เข้ าเหตุ ด ัง กล่ าวข้ างต้ น
๖ พ.ย. ๕๘
17
๓) ระงับการเปลีย
่ นแปลงทางทะเบียนจนกว่า
คดีจะถึงทีส
่ ุด (ม.๒๕๔ (๓))
ให้ ศาลมีค าสั่ งให้ นายทะเบีย น พนั ก งาน
เจ้ าหน้ าที่ ห รื อ บุ ค คลอื่ น ผู้ มี อ านาจหน้ าที่ ต าม
กฎหมาย ระงั บ การจดทะเบี ย น การแก้ ไข
เปลีย
่ นแปลงทางทะเบียน หรือ การเพิกถอนการ
จดทะเบี ย น ไว้ ชั่ ว คราวจนกว่ าคดี จ ะถึ ง ที่ สุ ด
หรือ ศาลจะมีค าสั่ งเป็ นอย่างอื่น ทั้ง นี้ เท่าที่ไ ม่
ขัดหรือแย้งตอบทบั
ญญัตแ
ิ ห่งกฎหมายทีเ่ กีย
่ วข้อง
่
ทีเ่ กีย
่ วกับ
๑. ทรัพยสิ์ นทีพ
่ พ
ิ าท หรือ
๒. ทรัพยสิ์ นของจาเลย หรือ
๖ พ.ย. ๕๘
18
เงื่อนไขที่จะได้รบั อนุญาต
 หลักเกณฑ์ที่ศาลจะพิจารณา (ม.๒๕๔
ประกอบ ม.
๒๕๕)
๑) ตองไม
ใช
้
่ ่ คดีมโนสาเร่
๒) คาฟ้องตอง
ู
้ มีมล
๓) ตอง
่ ะนาวิธค
ี ุมครองตามที
่
้ มีเหตุเพียงพอทีจ
้
ขอนั้นมาใช้
๔) ตอง
งคับคดี
้ เป็ นประโยชน์ ตอการบั
่
๖ พ.ย. ๕๘
19
๑) ต้องไมใช
่ ่ คดีมโนสาเร่ (ม.๒๕๔ ว.๑)
ลักษณะของคดีมโนสาเร่ (ม.๑๘๙)
๑. คดีท ี่ม ีค าขอให้ ปลดเปลื้อ งทุ ก ข อั
์ น อาจ
คานวณเป็ นราคาเงินได้หรือคดีทม
ี่ ท
ี ุนทรัพยหรื
์ อ
ราคาทรัพยสิ์ น ทีพ
่ พ
ิ าทไมเกิ
่ น ๓๐๐,๐๐๐ บาท
่ าหนดในพระราชกฤษฎีกา
หรือไมเกิ
่ นจานวนทีก
๒ . ค ดี ฟ้ อ ง ขั บ ไ ล่ บุ ค ค ล ใ ด ๆ อ อ ก จ า ก
อสั งหาริม ทรัพ ย ์อัน มี ค่ าเช่ าหรือ อาจให้ เช่ าได้
ในขณะยื่ น ค าฟ้ องไม่ เกิ น เดื อ นละ ๓๐,๐๐๐
บาท หรือ ไม่ เกิน จ านวนที่ก าหนดในพระราช
กฤษฎีกา
๖ พ.ย. ๕๘
20
๒) คาฟ้องตองมี
มล
ู (ม.๒๕๕ ว.๑)
้
๒.๑) คาว่า “มีมูล ” หมายถึง มีมูล ทีจ
่ ะน า
คดีมาฟ้องร้องจาเลยตอศาลได
้ พิจารณาจากคา
่
ฟ้ องของโจทก ์เท่ านั้ น ไม่ ต้ องไปพิจ ารณาถึ ง
พยานหลักฐานในสานวน
๒.๒) โจทกฟ
์ ้ องขอให้เพิกถอนคาพิพากษา
หรือขอให้สั่ งงดการบังคับคดี ถือวาเป็
่ นคาฟ้องที่
ไมมี
่ มูล (ฎ.๑๙๔๗/๒๕๓๙)
๒.๓) โจทกฟ
์ ้ องโดยอาศั ยสิ ทธิเรียกร้องตาม
สั ญ ญ า
ถื อ ว่ า เ ป็ น
ค า ฟ้ อ ง ที่ มี มู ล โ ด ย โ จ ท ก ์ ไ ม่ ต้ อ ง น า สื บ
พยานหลักฐานจนสิ้ นกระแสความ (ฎ.๑๗๘/๒๕๕๑)
๖ พ.ย. ๕๘
21
๓) ต้องมีเหตุเพียงพอทีจ
่ ะนาวิธก
ี ารคุมครอง
้
ตามทีข
่ อนั้นมาใช้ (ม.๒๕๕)
๓.๑) กรณี โ จทก ขอให
้ ศาลมีค าสั่ งยึด หรือ
์
อายัดทรัพยสิ์ นไว้กอนพิ
พากษาตามมาตรา ๒๕๔
่
(๑) ต้ องให้ เป็ นที่พ อใจของศาลใน ๒ กรณี
ดังนี้
๑. จาเลยตัง้ ใจจะยักย้าย โอน ขาย
หรือจาหน่ายทรัพยสิ์ นทีพ
่ พ
ิ าทหรือทรัพยสิ์ นของ
ตนทั้ง หมดหรือ แต่บางส่ วนไปให้ พ้ นจากอ านาจ
ศาล เพือ
่
๑.๑ ประวิงหรือขัดขวางตอการ
่
บั
ง
คั
บ
ต
า
ม
๖ พ.ย. ๕๘
22
ฎีก าที่ ๗๕๓/๒๕๔๑ โจทก ฟ
์ ้ องว่า
ระหวางเจ
ิ ได้มอบหมายให้จาเลยซึ่งเป็ น
่
้ ามรดกยังมีชีวต
บุ ต รคนหนึ่ ง ดู แ ลทรัพ ย สิ
์ นและจัด หาผลประโยชน์ จาก
ทรัพ ย สิ์ นแทนเจ้ ามรดกมีท รัพ ย สิ์ นเป็ นเงิน สดและที่ด ิน
พ ร้ อ ม สิ่ ง ป ลู ก ส ร้ า ง เ จ้ า ม ร ด ก
ลงชื่ อ จ าเลยในบัญ ชี เ งิน ฝากและในโฉนดที่ด ิน โดย
แสดงเจตนาว่าทรัพ ย สิ์ น ของเจ้ ามรดกนั้น จ าเลยมีชื่อ
เพียงในฐานะผู้ครอบครองแทน เจ้ามรดกมีเจตนาทีจ
่ ะ
แบงทรั
พยสิ์ นของตนให้บุตรทุกคนเทากั
่ เจ้ามรดกถึง
่
่ นเมือ
แก่ความตาย โจทกในฐานะผู
้ จัดการมรดกและทายาท
์
คนอืน
่ เรียกให้จาเลยส่งมอบทรัพยสิ์ นทีจ
่ าเลยครอบครอง
อยู่เข้ ากองมรดกเพื่อ แบ่งปันแก่ทายาทแต่จ าเลยปฏิเ สธ
คาฟ้องดังกลาวย
ม
่ ช
ี ื่อ
่
่อมครอบคลุมรวมทัง้ ทรัพยมรดกที
์
และไม่มีชื่อ เจ้ามรดก มิไ ด้จ ากัดแต่เฉพาะทรัพ ยที
่ ช
ี ื่อ
์ ม
เจ้ามรดกปรากฏอยูเท
่ นชั้นพิจารณามี
่ านั
่ ้ น และโดยทีใ
๖
พ.ย. ๕๘ น ต องวินิ จ ฉั ย ว าเงิน ฝากในธนาคารเป็ นเงิน ทีเ
ประเด็
่ จ้ า23
้
่
ดังกลาวไปให
่ ขัดขวางการบัง คับ
่
้ พ้นจากอานาจศาลเพือ
คดี เนื่องจากเมือ
่ เจ้ามรดกถึงแกความตายแล
่
้ว จาเลย
นาใบถอนเงินซึ่งมีลายมือชือ
่ เจ้ามรดกลงชือ
่ รวมกั
บจาเลย
่
ในช่องเจ้ าของบัญชีและในช่ องผู้รับ เงินมาถอนเงินและ
ปิ ดบัญชี อีกทัง้ ภายหลังโจทกฟ
์ ้ องคดีนี้แล้ว จาเลยยัง
ได้ถอนเงินออกจากบัญชีของจาเลย โจทกย
สิทธิท ี่
่
์ อมมี
จะยืน
่ คาร้องขอให้อายัดเงินฝากดังกลาว
อันเป็ นวิธก
ี าร
่
ขอคุ้ มครองชั่ว คราวก่ อนพิพ ากษาตามมาตรา ๒๕๕
(๑) (ก) ได้ (เทียบเคียงกับ คร.๕๘๗/๒๕๑๓)
๖ พ.ย. ๕๘
24
ฎี กาที่ ๖๙๒/๒๕๔๔ เมือ่ ศาลชั้นต้นมี
คาสั่ งเกีย
่ วกับวิธก
ี ารชั่วคราวกอนพิ
พากษาครัง้ แรกแล้ว
่
จ าเลยที่ ๑ มิไ ด้ ยื่น ค าขอให้ ยกเลิก ค าสั่ งตามมาตรา
๒๖๗ วรรค ๒ หรือ ใช้ สิ ทธิอุ ท ธรณ ์ภายในก าหนด
ตามมาตรา ๒๒๘ วรรค ๒ คาสั่ งดังกลาวจึ
งถึงทีส
่ ุด
่
ทีด
่ น
ิ ทีศ
่ าลชัน
้ ต้นมีคาสั่ งอายัดชั่วคราวจึงเป็ นหลักประกัน
เบือ
้ งต้นในการทีโ่ จทกจะบั
งคับคดีได้ เมือ
่ ตอมาปรากฏ
่
์
ว่ าข้ อเท็ จ จริ ง ที่ เ กี่ ย วกับ ตัว ทรัพ ย ์ได้ เปลี่ ย นแปลงไป
เนื่ อ งจากเจ้ าพนั ก งานบัง คับ คดีต ามค าพิ พ ากษาของ
จาเลยที่ ๑ ได้ใช้สิ ทธิบงั คับคดีแก่ทีด
่ น
ิ ดังกลาวจนท
า
่
ให้คาสั่ งอายัดทีด
่ น
ิ ชั่วคราวไร้ผล และทาให้จาเลยที่ ๑
มีสิทธิทจ
ี่ ะได้รับเงินจากการบังคับคดีของเจ้าหนี้ จึงถือ
เสมือ นว่ าเงิน จ านวนดัง กล่ าวเป็ นทรัพ ย ที
์ ่จ าเลยที่ ๑
๖ พ.ย. ๕๘
ได้ มา แทนที่ ที่ ดิ นที่ ศ าลชั น
้ ต้ น มี ค าสั ง่ ให้ อ ายัด ไว้25
๒. มี เ หตุ จ าเป็ นอื่ น ใดตามที่ ศ าลจะ
พิเคราะหเห็
ิ รรมและสมควร (ม.๒๕๕
์ นเป็ นการยุต ธ
(๑) (ข))
ฎี ก า ที่ ๑ ๗ ๘ / ๒ ๕ ๕ ๑ จ า เ ล ย ตั้ ง
โจทก ์เป็ นตัว แทนประสานงานเพื่ อ ผลประโยชน์ ของ
จ าเลยในการได้ รับ จ้ างงานในโครงการท่าอากาศยาน
สุ ว รรณภู ม ิ ต่อมาจ าเลยได้ เข้ าเป็ นคู่สั ญ ญากับ กิจ การ
ร่วมค้ าไอทีโ อโดยเป็ นผลจากการด าเนิ น การของโจทก ์
ตามสั ญ ญาตัง้ ตัว แทน โจทก มี
์ สิ ทธิเ รีย กร้ องอัน เป็ นมูล
หนี้ ต ามสั ญ ญาดัง กล่าวทีจ
่ ะฟ้ องร้ องจ าเลยได้ คดีข อง
โจทกจึ
่ ะฟ้องร้อง ส่วนปัญหาวาโจทก
ไม
ั ิ
่
่ บต
์ งมีมูลทีจ
์ ปฏิ
หน้ าทีต
่ ามสั ญ ญาตั้ง ตัว แทน หรือ จ าเลยได้รับ การจ้ าง
เหมาช
วงงานดังกลาวโดยไม
ได
ั ต
ิ าม26
่
่ เป็
้ นผลจากการปฏิบต
๖ พ.ย. ๕๘ ่
จาเลยแลว
้ ๗ งวด
ตรง
โดยชาระเข้าบัญชีของจาเลยโดย
ที่ ป ร ะ เ ท ศ ส า ธ า ร ณ รั ฐ อิ ต า ลี
ก็ เป็ นการปฏิบต
ั ต
ิ ามสั ญญาจ้างเหมาช่วง
จาเลยมิได้มี
เจตนาจะยักย้ายเงินค่าจ้างตามมาตรา ๒๕๕ (๑) (ก)
แต่ การที่ จ าเลย ไม่ มี ภ ู มิ ล าเนาในประเทศไทยไม่ มี
สานักงานสาขาในประเทศไทย แม้เคยมีก็ปิดสานักงาน
สาขาไปแล้วเพราะใบอนุ ญาตประกอบกิจการของคนตาง
่
ด้ าวไม่ ถู ก ต้ อง และการที่ จ าเลยไม่ มี ท รัพ ย ์สิ นใดใน
ประเทศไทย ทัง้ มิได้นาสื บให้เห็ นวา่ จาเลยมี ทรัพย์สิน
อยู่ใ นประเทศไทยพอที่ โจทก์จ ะบัง คับคดี ใ นประเทศ
ไทยได้ ยอม
่ เป็ นเหตุจาเป็ นอื่ นที่ เป็ นการยุติธรรมและ
๖ พ.ย. ๕๘
27
๓.๒) กรณีโจทกขอให
์
้ศาลมีคาสั่ งห้ามจาเลย
กระทาการจนกวาคดี
จะถึงทีส
่ ุดตามมาตรา ๒๕๔
่
(๒) ต้ องให้ เป็ นที่พ อใจของศาลใน ๔ กรณี
ดังนี้
๑. จาเลยตัง้ ใจจะกระทาซา้ หรือกระทา
ต่อไปซึ่ ง การละเมิด การผิด สั ญ ญา หรือ การ
กระทาทีถ
่ ูกฟ้องร้อง (ม.๒๕๕ (๒) (ก))
๑.๑ กรณีการละเมิด
ฎีกาที่ ๖๔๒๔/๒๕๕๐ โจทก ์
ฟ้ องขอให้ บัง คับ จ าเลยขนย้ ายทรัพ ย สิ์ น และสิ่ งก่อสร้ าง
ออกจากที่ด ิน พิพ าท และคื น ที่ด ิน พิพ าทแก่ โจทก ์ใน
สภาพไม่มีส่ิ งปลู ก สร้ างและวัส ดุ อุ ป กรณ ์ก่อสร้ าง ห้ าม
๖ พ.ย. ๕๘
28
จ าเลยและบริว ารเขาเกี่ย วของกับ ที่ด ิน พิพ าท การที่
ชนะคดี กรณี จึ ง มีเ หตุ ส มควรและเพี ย งพอที่จ ะน าวิธ ี
คุ้ มครองชั่ว คราวก่อนพิพ ากษาตามมาตรา ๒๕๔ (๒)
มาใช้ โดยห้ามชัว
่ คราวมิให้จาเลยและบริวารดาเนินการ
กอสร
างอาคารในที
ด
่ น
ิ พิพาทจนกวาคดี
จะถึงทีส
่ ุดได้
่
้
่
๑.๒ กรณีการผิดสั ญญา
ฎีกาที่ ๑๘๖๘/๒๕๔๘ โจทก ์
ฟ้
อ ง ขั บ ไ ล่ จ า เ ล ย
ทัง้ สิ บเจ็ดและบริวารออกไปจากทีด
่ น
ิ และสิ่ งปลูกสร้างของ
โจทกซึ
่ าเลยทัง้ สิ บ
์ ่งจาเลยทัง้ สิ บเจ็ ดเช่าจากโจทก ์ แตจ
เจ็ดผิดสั ญญาเช่าเพราะนาทรัพยสิ์ นของโจทกดั
่
์ งกลาวไป
ให้ผู้อืน
่ เช่าช่วง และยังปลูกสร้างอาคารหรือยินยอมให้
ผู้ อื่ น ปลู ก สร้ างอาคารในที่ด ิน ของโจทก ์โดยไม่ ได้ รับ
อนุ ญาต โจทก ์จึ ง ยื่ น ค าร้ องขอคุ้ มครองชั่ ว คราวใน
ระหวางพิ
จารณา ศาลชัน
้ ต้นมีคาสั่ งห้ามจาเลยทัง้ สิ บเจ็ด
่
น
าทรัพยสิ์ นของโจทกตามฟ
่ เช่าช่วง29
๖ พ.ย. ๕๘
้ องออกให้บุคคลอืน
์
๒ . โ จ ท ก ์ จ ะ ไ ด้ รั บ ค ว า ม เ ดื อ ด ร้ อ น
เสี ยหายตอไปเนื
่องจากการกระทาของจาเลย (ม.
่
๒๕๕ (๒) (ข))
ฎีก าที่ ๗๒๒๑/๒๕๔๔ โจทก ฟ
์ ้ อง
ขอให้จาเลยรือ
้ ถอนกาแพงพิพาท ซึ่งจาเลยได้กอสร
่
้าง
ปิ ดทางภารจายอมอันเป็ นการละเมิดตอสิ
่ ทธิของโจทกใน
์
การใช้ ทางภารจ ายอมเข้ าสู่ ทีด
่ น
ิ ของโจทก ์ การทีโ่ จทก ์
ยืน
่ ค าร้ องขอคุ้ มครองประโยชน์ของโจทก ชั
์ ่ว คราวก่อน
พิพ ากษาโดยให้ จ าเลยรื้ อ ถอนก าแพงพิ พ าทออกไป
กอน
เพือ
่ โจทกจะได
่
้ใช้ทางภารจายอมได้นั้น จึงเป็ นการ
์
ขอให้ ศาลมีค าสั่ งในอัน ที่จ ะบรรเทาความเดือ ดร้ อนที่
โจทกได
่ ูกฟ้องร้อง
์ ้รับเนื่ องจากการกระทาของจาเลยทีถ
ฟ
๒๕๔ (๒) กรณีตามคาร้องมี
้ องร้องดังกลาวตามมาตรา
่
๖ พ.ย. ๕๘
30
๓. กรณีมค
ี าสั่ งห้ามชัว
่ คราวมิให้จาเลย
โอน ขาย ยัก ย้ ายหรือ จ าหน่ ายซึ่ง ทรัพ ย สิ์ นที่
พิ พ า ท ห รื อ ท รั พ ย ์ สิ น ข อ ง จ า เ ล ย โ ด ย มี เ ห ตุ
ดังตอไปนี
้ (ม.๒๕๕ (๒) (ง))
่
๓ . ๑ จ า เ ล ย ตั้ ง ใ จ จ ะ ยั ก ย้ า ย
โอน ขายหรือ จ าหน่ ายทรัพ ย สิ
์ นที่พ ิพ าทหรือ
ทรัพยสิ์ นของตนทัง้ หมดหรือแตบางส
่
่ วนไปให้พ้น
จากอานาจศาล เพือ
่
(๑) ประวิง หรือ ขัด ขวาง
ต่ อการบัง คับ ตามค าบัง คับ ใดๆ ซึ่ ง อาจจะออก
บังคับเอาแกจ
่ าเลย หรือ
( ๒ ) จ ะ ท า ใ ห้ โ จ ท ก ์
เสี ยเปรียบ
๖ พ.ย. ๕๘
31
ฎีก าที่ ๒๐๐/๒๕๓๙ โจทก ์
ขอคุ้ มครองประโยชน์ของโจทก ์ โดยห้ ามจ าเลยที่ ๑
โอนทีด
่ น
ิ ตามสั ญญาจะซือ
้ ขายฉบับพิพาทให้แกจ
่ าเลยที่
๒ ในคดีทจ
ี่ าเลยที่ ๒ ฟ้องจาเลยที่ ๑ ซึ่งไมผู
่ กพัน
โจทกในคดี
นี้ ยอมมี
ผลเป็ นการให้งดการบังคับคดีในคดี
่
์
ซึ่ ง ได้ ถึ ง ที่ สุ ด แล้ ว จ าเลยที่ ๒ ซึ่ ง เป็ นเจ้ าหนี้ ต าม
ค าพิพ ากษาย่ อมมีสิ ทธิท ี่จ ะบัง คับ คดีใ ห้ เป็ นไปตามค า
พิ พ ากษาได้ หากจ าเลยที่ ๒ บั ง คั บ คดี ใ ห้ เป็ นที่
เสี ยหายแกโจทก
ซึ
ก็เป็ น
่
่
์ ง่ เป็ นบุคคลภายนอกคดีอยางไร
เรือ
่ งทีจ
่ ะต้องไปวากล
าวกั
นระหวางโจทก
กั
่
่
่
์ บจาเลยที่ ๒
ต่อไป โจทก หามี
สิ ทธิม ายื่น ขอใช้ วิธ ีก ารชั่ว คราวก่อน
์
พิพ ากษาเพื่อ ให้ มีผ ลห้ ามมิใ ห้ จ าเลยที่ ๒ ด าเนิ น การ
บังคับคดีในคดีดงั กลาวได
ไม
่
้ ่
แต่การที่โ จทก ฟ
๖ พ.ย. ๕๘
์ ้ องขอให้ เพิก32
โดยห้ามมิให้จาเลยที่ ๒ โอนทีด
่ น
ิ ดังกลาวให
่
้แกบุ
่ คคล
อื่น แม้ โจทก จะเป็
นสามีจ าเลยที่ ๑ ซึ่ ง มีสิ ทธิข อกัน
์
ส่ วนของโจทก ได
์ ้ตามมาตรา ๒๘๗ ก็ ตาม แต่ก็ หามี
บทกฎหมายใดบัง คับ ให้โจทก จ
์ าต้ องใช้ สิ ทธิข อกัน ส่ วน
แตอย
ยวไม่
่ างเดี
่
๔. ทรัพยสิ์ นทีพ
่ พ
ิ าทหรือทรัพยสิ์ นของ
จาเลยนั้นมีพฤติการณว
การกระทาให้เปลือง
์ าจะมี
่
ไปเปลาหรื
อบุบสลายหรือโอนไปยังผู้อืน
่
(ม.๒๕๕
่
(๒) (ค))
ฎีกาที่ ๑๓๖๖/๒๕๕๓ ออกข้อสอบ
เนติฯ สมัยที่ ๖๓ ปี การศึ กษา ๒๕๕๓
๖ พ.ย. ๕๘
33
๓.๓) กรณีโจทกขอให
์
้ ศาลมีคาสั่ งระงับการ
เปลีย
่ นแปลงทางทะเบียนจนกวาคดี
จะถึงทีส
่ ุดตาม
่
มาตรา ๒๕๔ (๓) ต้ องให้ เป็ นที่พ อใจของศาล
ใน ๒ กรณี ดังนี้
๑. เป็ นทีเ่ กรงวาจ
่ าเลยจะดาเนินการให้
มีการจดทะเบียน แก้ไขเปลีย
่ นแปลงทางทะเบียน
หรือเพิกถอนการจดทะเบียนเกีย
่ วกับ
๑.๑ ทรัพยสิ์ นทีพ
่ พ
ิ าท หรือ
๑.๒ ทรัพยสิ์ นของจาเลย
หรือ
๑.๓ ทีเ่ กีย
่ วกับการกระทา
ทีถ
่ ูกฟ้องร้อง
ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ดั ง ก ล่ า ว จ ะ
๖ พ.ย. ๕๘
34
ฎีก าที่ ๖๙๐๘/๒๕๕๒ โจทก ฟ
์ ้ อง
ขอให้ จ าเลยทั้ง สามแบ่งปั น ทรัพ ย มรดกของ
จ. ให้ แก่
์
โจทกตามพิ
นย
ั กรรม โดยมีทรัพยมรดกเป็
นทีด
่ น
ิ และหุ้ น
์
์
ของบริษัทสามแห่ง ซึ่งทีด
่ น
ิ และหุ้นดังกลาวเจ
่
้ามรดกได้
ใส่ ชื่ อ จ าเลยที่ ๑ ไว้ ระหว่างพิจ ารณาจ าเลยที่ ๑
ถึง แก่ความตาย ต่อมาจ าเลยที่ ๒ แถลงต่อทีป
่ ระชุ ม
บริ ษั ท แห่ งหนึ่ งขอโอนหุ้ นของบริ ษั ท ดัง กล่ าวให้ แก่
ทายาทตามพินั ย กรรมของจ าเลยที่ ๑ ซึ่ ง ที่ป ระชุ ม
บริ ษั ท มี ม ติ อ นุ มัต ิ โจทก ์จึ ง ยื่ น ค าร้ องขอให้ ก าหนด
วิธ ีก ารชั่ว คราวก่ อนพิพ ากษาต่ อศาล ค าร้ องขอของ
โจทก เป็
์ นกรณี ท ี่ต้ องด้ วยมาตรา ๒๕๔ (๓) ซึ่ง โจทก ์
ก
ล่
า
ว
อ้
า
ง
ม
า
ใ
น
ค าร้ องแล้ วว่ า จ า เลยที่ ๒ และที่ ๓ ในฐา นะ
ผู้จัดการมรดกของจาเลยที่ ๑ จะดาเนินการให้มีการจด
ทะเบียนแก้ไขเปลีย
่ นแปลงทางทะเบียนเกีย
่ วกับทรัพยสิ์ น
๖ พ.ย. ๕๘
ที่พ ิพ าทให้ แก่ ทายาทจ าเลยที่ ๑ ซึ่ ง การด าเนิ น การ35
มาใช้ ได้ ตามหลัก เกณฑ ที
์ ่บ ัญ ญัต ิไ ว้ ในมาตรา ๒๕๕
(๓) (ก) การทีศ
่ าลชัน
้ ต้นยกคาร้องของโจทกโดยไม
ได
่ ไต
้ ่
์
สวนให้ ได้ ความจริง ว่าเป็ นเช่ นไรก่อน จึ ง เป็ นการไม่
ชอบ
๒. มี เ หตุ จ าเป็ นอื่ น ใดตามที่ ศ าลจะ
พิ เ ค ร า ะ ห ์ เ ห็ น เ ป็ น
การยุตธ
ิ รรมและสมควร (ม.๒๕๕ (๓) (ข))
๖ พ.ย. ๕๘
36
๓.๔) กรณีโจทกขอให
์
้ศาลมีคาสั่ งจับกุมและ
กักขังจาเลยไว้ชั่วคราวตามมาตรา
๒๕๔ (๔)
ต้ องให้ เป็ นที่พ อใจของศาลว่า เพื่อ ที่จ ะประวิง
หรือ ขัด ขวางต่อการพิจ ารณาคดีห รือ การบัง คับ
ตามค าบัง คับ ใด ซึ่ ง อาจจะออกบัง คับ เอาแก่
จาเลย หรือเพือ
่ จะทาให้โจทกเสี
์ ยเปรียบ
( ก ) จ า เ ล ย ซ่ อ น ตั ว เ พื่ อ จ ะ ไ ม่ รั บ
หมายเรียกหรือคาสั่ งของศาล
(ข) จ าเลยได้ยัก ย้ายไปให้ พ้นอานาจ
ศาลหรือซุ กซ่อนเอกสารใดๆ ซึ่งพอจะเห็ นได้วา่
จะใช้ เป็ นพยานหลัก ฐานยันจ าเลยในคดีท อ
ี่ ยู่ใน
๖ พ.ย. ๕๘
37
(ค) ปรากฏตามกิร ิย าหรือ ตามวิธ ีท ี่จ าเลย
ประกอบการงานหรือการค้าของตนวา่ จาเลยจะ
หลี ก หนี ห รื อ พอเห็ นได้ ว่ าจะหลี ก หนี ไ ปให้ พ้ น
อานาจศาล
๖ พ.ย. ๕๘
38
๔) ต้องเป็ นประโยชนต
งคับคดี
์ อการบั
่
ต้ องเกี่ ย วเนื่ อ งกับ ค าขอท้ ายฟ้ องและไม่
กระทบตอบุ
่ คคลภายนอกคดี
ฎีก าที่ ๓๗๓๐/๒๕๕๒ โจทก ฟ
์ ้ องจ าเลยที่ ๑
และที่ ๒ ว่ าผิ ด สั ญญาจะซื้ อ ขายที่ด ิน พิพ าท โดย
หลังจากจาเลยทัง้ สองทาสั ญญาจะซื้อขายทีด
่ น
ิ ให้โจทก ์
แล้ วกลับ ไปท าสั ญ ญาจะซื้อ ขายและโอนกรรมสิ ทธิใ์ น
ที่ ด ิน พิ พ าทให้ แก่ จ าเลยที่ ๓ โดยมี ค าขอท้ ายฟ้ อง
ขอให้เพิกถอนสั ญญาจะซือ
้ ขายทีด
่ น
ิ ระหวางจ
าเลยที่ ๑
่
ที่ ๒ กับ จ าเลยที่ ๓ แต่โจทก ไม
์ ่มีค าขอให้ จ าเลยที่
๑ ที่ ๒ โอนกรรมสิ ทธิใ์ นทีด
่ น
ิ พิพาทให้แกโจทก
และ
่
์
รับ เงิ น ค่ าที่ ด ิ น ส่ วนที่ เ หลื อ จากโจทก ์ไป ค าร้ องขอ
คุ้มครองชั่วคราวของโจทกที
่ อห้ามมิให้จาเลยที่ ๑ ที่
์ ข
๒ และที่ ๓ ทานิ ต ก
ิ รรมใดเกีย
่ วกับทีด
่ น
ิ พิพาทและมี
๖
พ.ย. ๕๘
คาสั
่ งอายัดทีด
่ น
ิ พิพาทไว้ชั่วคราวกอนมี
คาพิพากษา จึ39ง
่
ฎี กาที่ ๔๖๕๙ / ๒๕๕๕ ผู้ ร้ อ ง ยื่ น ค า ร้ อ ง เป็ น
ผู้จดั การมรดกของผู้ตาย เนื่องจากการจัดการมรดกมี
เหตุ ขด
ั ข้อง ผู้คัดค้ านยืน
่ ค าคัดค้านว่า ผู้ค ด
ั ค้านเป็ น
ทายาทผู้รบั พินัยกรรมของผู้ตาย ผู้ตายทาพินัยกรรม
ตัดทายาทโดยธรรม มิให้รับมรดก ผู้ร้องไม่ใช่ผู้มีสิทธิ
รับมรดกของผู้ตาย ขอให้ยกคาร้องและตัง้ ผู้คัดค้านเป็ น
ผู้จัด การมรดก คดี จึ ง มี ป ระเด็น ข้ อ พิ พ าทเพี ย งว่า ผู้
ร้ องหรือ ผู้ คัด ค้ านคนใดสมควรเป็ นผู้ จัด การมรดกของ
ผู้ตาย ซึ่ง หากผู้ ร้ องชนะคดีศ าลก็ เ พีย งมีค าสั่ งตัง้ ผู้ร้ อง
เป็ นผู้จัดการมรดกของผู้ตาย ไมมี
่ ผลบังคับไปถึงรายได้
หรือดอกผลจากกองมรดกของผู้ตาย ซึ่งผู้คัดค้านเป็ นผู้
ค ร อ บ ค ร อ ง ต า ม ที่
ผู
้ ร้ องยื่น ค าร้ องขอคุ้ มครองชั่ว คราวก่อนพิพ ากษาด้ วย40
๖ พ.ย. ๕๘
๕) ต้องมีเหตุผลอันสมควร
ต้องยืน
่ คารองต
อศาลภายในระยะเวลาอั
น
้
่
สมควรและไมก
่ อให
่
้เกิดความเสี ยหายแกจ
่ าเลย
ฎีก าที่ ๒๔/๒๕๔๐ คดีมป
ี ระเด็ น พิพ าทว่า ทีด
่ น
ิ
พิพ าทเป็ นสาธารณสมบัตข
ิ องแผ่นดินส าหรับ ประชาชน
ใช้ประโยชน์รวมกั
นหรือไม่ และโจทกมี
่
์ สิทธิครอบครอง
ทีด
่ น
ิ พิพาทหรือไม่ คดีอยูในระหว
างพิ
จารณา ซึ่งตามคา
่
่
ฟ้องคาให้การและฟ้องแย้งของจาเลยฟังไดว
เป็
้ าโจทก
่
์ นผู้
เ ข้ า ค ร อ บ ค ร อ ง ที่ ดิ น พิ พ า ท ห า ก จ า เ ล ย ไ ด้ ใ ช้ ใ ห้
ผู้ รับ เหมาก่อสร้ างเข้ าไปปัก ป้ ายโฆษณา ไถปรับ พื้น ดิน
และท าการก่ อสร้ างในที่ด ิน พิพ าท ซึ่ ง แม้ จะเป็ นการ
กระทาทีเ่ กิดขึ้นใหม่หลัง จากฟ้องคดี แตก็
่ อาจก่อให้เกิด
ความเสี ยหายแกโจทก
ได
่
์ ้ หากศาลพิพากษาให้โจทกเป็
์ น
ฝ่ายชนะคดี แม้โจทกจะร
์ ้องขอให้ห้ามจาเลยทัง้ สามมิให้
ให้กระทาการใดในทีด
่ น
ิ พิพาทตามค าร้ องของโจทก ได
์ 41้
๖ พ.ย. ๕๘
ตามมาตรา ๒๕๔ (๒) (เดิม) ก็ตาม แตเมื
่ ปรากฏตามคา
่ อ
มาใช้ แก่จ าเลยในคดีนี้ ย่ อมก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หาย
แก่ จาเลยเช่นเดียวกัน ตามพฤติการณในกรณี
เช่ นนี้ จึง
์
ยังไมสมควรที
ศ
่ าลจะนาวิธก
ี ารชัว
่ คราวกอนพิ
พากษาตาม
่
่
มาตรา ๒๕๔ (๒) มาใช้แกจ
่ าเลยตามคาขอของโจทกได
์ ้
(ฎ.๖๗๙๓/๒๕๔๓ และ ๕๒๗๓/๒๕๔๖ วินจ
ิ ฉัยยืนตาม)
๖ พ.ย. ๕๘
42
หลักเกณฑ์การร้องขอ
๑) ต้ องยื่น ค าขอฝ่ ายเดี ย ว โดยท าเป็ นค าร้ อง
(ม.๒๕๔ ว.๑)
๒) ต้ องยื่น พร้ อ มกับ ค าฟ้
อง หรือ ในเวลาใด
ก่ อ น ศ า ล ใ น แ ต่ ล ะ ชั ้ น มี
คาพิพากษา (ม.๒๕๔ ว.๑ ประกอบ ม.๑ (๓))
ข้อพิจารณา
๑. กรณีศาลมีคาสั่ งให้จาหน่ ายคดี ชวคราว
ั่
โจทก ์ขอคุ้ มครองชั่ ว คราวก่ อนพิ พ ากษาตาม
มาตรา ๒๕๔ ได้ (ฎ.๔๒๑/๒๕๒๔)
๖ พ.ย. ๕๘
43
๓) ลักษณะของคาขอ
๓.๑) กรณีเป็ นคาขอฝ่ายเดียวโดยเครงครั
ด
่
ตามมาตรา ๒๑ (๓)
๑. คาขอให้ยึด หรือ อายัด ทรัพ ย สิ์ นไว้
กอนพิ
พากษา และ
่
๒. คาขอให้ จับกุม และกัก ขัง จาเลยไว้
ชัว
่ คราวกอนพิ
พากษา
่
๓ . ๒ ) ก ร ณี ไ ม่ เ ป็ น ค า ข อ ฝ า ย เ ดี ย ว โ ด ย
เครงครั
ดตามมาตรา ๒๑ (๓)
่
๑. คาขอห้ามจาเลยกระทาการจนกวา่
คดีจะถึงทีส
่ ุด และ
๖ พ.ย. ๕๘
44
ในกรณีท ย
ี่ น
ื่ คาขอให้ ศาลมีคาสั่ งตาม
มาตรา ๒๕๔ (๒) หรื อ (๓) ถ้ าศาลเห็ นว่ า
หากให้โอกาสจาเลยคัดค้านกอนจะไม
เสี
่
่ ยหายแก่
โจทก ์ ให้ ศาลแจ้งก าหนดวันนั่ง พิจารณาพร้ อม
ทั้ ง ส่ ง ส า เ น า ค า ข อ ใ ห้ แ ก่ จ า เ ล ย โ ด ย ท า ง เ จ้ า
พนักงานศาล
จ าเลยจะเสนอข้ อคัด ค้ านของตนใน
ก า ร ที่ ศ า ล นั่ ง พิ จ า ร ณ า
คาขอนั้นก็ได้ (ม.๒๕๖)
ฎีก าที่ ๖๙๙/๒๕๐๘ การที่โ จทก ยื
์ ่น ค า
ร้องขอให้ศาลเปิ ดทางเดินในระหวางคดี
ยงั ไมถึ
่ ุดเป็ น
่
่ งทีส
คาขอฝ่ ายเดีย ว กฎหมายไม่ได้บัง คับ ว่าต้ องให้คู่ความ
อีก ฝ่ ายหนึ่ ง มีโ อกาสคัด ค้ านก่ อน กฎหมายให้ อยู่ ใน
๖
พ.ย. ๕๘
อานาจหรื
อดุลพินิจของศาลทีจ
่ ะฟังคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ งก็45
ศาลที่ทาการไต่สวนและพิจารณา
สัง่
๑) ระหวางพิ
จารณาของศาลชัน
้ ต้น
่
ให้ยืน
่ ตอศาลชั
น
้ ตนและศาลชั
น
้ ตนเป็
นผูไต
่
้
้
้ ่
สวนและพิจารณาสั่ ง
๒) ระหวางพิ
จารณาของศาลอุทธรณ์ หรือศาล
่
ฎีกา
๒.๑) ศาลชัน
้ ตน
้ ยังไม่ได้ส่งสานวนความไป
ยังศาลอุทธรณหรื
์ อศาลฎีกา
๖ พ.ย. ๕๘
ใหยื่ น ต อศ าลชั้ น ต น
และ ให ศาล
46
๒.๒) ศาลชั้น ต้ นส่ งส านวนความไปยัง ศาล
อุทธรณหรื
้
์ อศาลฎีกาแลว
้ (ม.๒๕๔ ว.ทาย)
๑. ยื่น คาร้ องต่อศาลอุ ท ธรณ์หรือ ศาล
ฎีกา แล้วแตกรณี
ในทางปฏิบต
ั จ
ิ ะยืน
่ คาร้องตอ
่
่
ศาลชัน
้ ตน
้
๒. ศาลอุ ท ธรณ ์ หรื อ ศาลฎี ก าเป็ นผู้
พิจ ารณาสั่ งในแต่ละชั้น ศาล โดยศาลอุ ท ธรณ ์
หรือ ศาลฎีก าอาจส่ งส านวนไปให้ ศาลชั้น ต้ นท า
ก
า
ร
ไต่สวนก่อนพิจารณาสั่ งอนุ ญาตหรือยกคาขอนี้ก็
ได้
๖ พ.ย. ๕๘
47
ข้อพิจารณา
๑. การขอให้ ยึ ด ทรัพ ย ์ก่ อนพิพ ากษาตาม
ม า ต ร า
๒ ๕ ๔
จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร
ไต่สวนตามมาตรา ๒๕๕ ก่อน จึง จะอนุ ญ าต
ได้ แม้จาเลยจะเคยถูกยึดทรัพยก
์ ่อนศาลชั้นต้น
พิพ ากษามาแล้ วต่ อมามีก ารถอนการยึ ด ทรัพ ย ์
ดัง กล่าว เมือ
่ มาขอยึด ทรัพ ยในชั
้น อุท ธรณ์อีก ก็
์
จะต้องมีการไตสวนตามมาตรา
๒๕๕ กอน
จึง
่
่
จะมีคาสั่ งอนุ ญาตได้ (ฎ.๔๔๔/๒๔๙๐)
๒. ศาลจะมีคาสั่ งอนุ ญาตตามมาตรา ๒๕๔
โดยเพียงแตสอบถามโจทก
จ
่
์ าเลยและบันทึกไว้ใน
รายงานกระบวนพิจ ารณา ทั้ง ที่ ย ัง ไม่ ปรากฏ
ข้อเท็จจริงเพียงพอตามมาตรา ๒๕๕ ไมได
่ ้ (ฎ.
๖ พ.ย. ๕๘
48
๓. หากศาลพิจารณาคาขอคุ้มครองชั่วคราว
กอนพิ
พากษาของโจทกแล
่
์ วเห็
้ นวา่ คดีโจทกไม
์ มี
่
มู ล หรื อ ไม่ มี เ หตุ เ พี ย งพอ ศาลมี อ านาจสั่ งยก
คาขอโดยไมต
าการไตสวนได
่ องท
้
่
้ (ฎ.๒๑๔๙/๒๕๑๖)
๔. การทีโ่ จทกทั
บยืน
่
์ ง้ สามฟ้องจาเลยพรอมกั
้
ค าร้ องขอคุ้ มครองชั่ว คราวก่อนพิพ ากษา ศาล
ชั้น ต้ นมีค าสั่ งห้ ามจ าเลยจ าหน่ ายจ่ ายโอนที่ด ิน
พร้อมสิ่ งปลูกสร้าง และให้อายัดเงินในบัญชีเงิน
ฝากประจาหลายบัญชี แต่ก่อนทีศ
่ าลชั้นต้นจะมี
ค าสั่ งอายัด เงิน ในบัญ ชี เ งิน ฝากไปยัง ธนาคาร
จ าเลยถอนเงิน จากบัญ ชี แ ละปิ ดบัญ ชี ด ัง กล่ าว
ทั้ง หมด อีก ทั้ง น าเงิน ฝากไปเปิ ดบัญ ชีเ งิน ฝาก
๖ พ.ย. ๕๘
49
คาสังของศาล
่
๑) ยกคาร้อง
๑.๑) โจทก มี
์ สิท ธิอุท ธรณ ์หรือฎีก าคาสั่ งได้
(ม.๒๒๘ (๒) และ ม.๒๔๗)
๑. การที่โ จทก อุ
์ ท ธรณ ์หรือ ฎีก าค าสั่ ง
ศาลทีย
่ กคาร้องขอคุ้มครองชัว
่ คราวกอนพิ
พากษา
่
หลังจากที่ ศาลชัน้ ต้ นพิพากษายกฟ้ องคดี โจทก์
แล้ว จึงไมมี่ ประโยชนที์ ศ่ าลอุทธรณหรื
์ อศาลฎีกา
จะวินิ จ ฉั ย อุ ท ธรณ ์หรือ ฎีก าค าสั่ งดัง กล่าวต่อไป
เนื่ องจากการขอคุ้มครองชัวคราวก่
่
อนพิพากษา
๖ พ.ย. ๕๘
50
๒. ในระหวางที
โ่ จทกอุ
่
์ ทธรณหรื
์ อฎีกา
ค าสั่ งศาลที่ย กค าร้ องขอคุ้ มครองชั่ว คราวก่ อน
พิพากษา ศาลมีคาพิพากษาถึงทีส
่ ุดให้โจทกชนะ
์
คดี จึงไมอาจด
าเนินกระบวนพิจารณาวาด
่
่ วยการ
้
ขอคุ้ มครองชั่ว คราวก่อนพิพ ากษาได้ (ฏ.๑๑๑๖/
๒๕๐๓ และ ๖๑๑๒/๒๕๒๗)
๑.๒) โจทก ยื
์ ่น ค าขอใหม่ได้ แต่ต้ องอ้ าง
เหตุใหม่ (ฎ.๙๗๐/๒๕๑๙)
๖ พ.ย. ๕๘
51
๒) อนุ ญาตตามคารอง
้
๒.๑) ขอบเขตหรือเงือ
่ นไขเป็ นดุลพินิจของ
ศาล
แลวแต
ศาลจะเห็
นสมควร (ม.๒๕๗ ว.๑)
้
่
๒.๒) การแจ้งคาสั่ ง
๑. ค าขอตามมาตรา ๒๕๔ (๑) ให้
ศาลแจ้งคาสั่ งให้จาเลยทราบโดยไมชั
่ กช้า (ม.๒๕๘
ว.๑)
๒. ค าขอตามมาตรา ๒๕๔ (๒) ให้
ศาลแจ้งคาสั่ งให้จาเลยทราบ (ม.๒๕๗ ว.๒)
๓. กรณีทศ
ี่ าลมีคาสั่ งห้ามชั่วคราวมิให้
จ า เ ล ย โ อ น
ข า ย
๖ พ.ย. ๕๘
52
กาหนดไว้ให้จดทะเบียนตามมาตรา ๒๕๔ (๒)
หรื อ ค าขอตามมาตรา ๒๕๔ (๓) ที่ เ กี่ ย วกับ
ทรัพยสิ์ นดังกลาว
หรือทีเ่ กีย
่ วกับการกระทาทีถ
่ ูก
่
ฟ้ องร้ อง ให้ ศาลแจ้ งค าสั่ งนั้ น ให้ นายทะเบีย น
พนั ก งานเจ้ าหน้ าที่ หรื อ บุ ค คลอื่ น ผู้ มี อ านาจ
หน้าทีต
่ ามกฎหมายทราบ และให้บุคคลดังกลาว
่
บันทึกคาสั่ งของศาลไว้ในทะเบียน และต้องแจ้ง
ให้ จ าเลยทราบด้วย (ม.๒๕๗ ว.๒ ประกอบด้ วย ม.
๒๕๗ ว.๔)
๒.๓) การกาหนดวิธก
ี ารโฆษณา
กรณี ศ าลมี ค าสั่ งห้ ามชั่ ว คราวมิ ใ ห้
จ า เ ล ย โ อ น ข า ย ยั ก ย้ า ย ห รื อ จ า ห น่ า ย ซึ่ ง
๖ พ.ย. ๕๘
53
๒.๔) การวางเงินหรือหาประกันเพือ
่ ประกัน
ประกันความเสี ยหาย (ม.๒๕๗ ว.ทาย)
้
ก่ อนที่ ศ าลจะออกหมายยึ ด หมาย
อายัด หมายห้ามชั่วคราว หมายจับ หรือคาสั่ ง
ใดๆ ศาลจะสั่ งให้ผู้ขอนาเงินหรือหาประกันตาม
จานวนทีเ่ ห็ นสมควรมาวางศาล เพือ
่ การชาระคา่
สิ นไหมทดแทนซึ่ ง จ าเลยอาจได้ รับ ตามมาตรา
๒๖๓ ก็ได้
ข้อพิจารณา
๑. จ าเลยอุ ท ธรณ ์หรือ ฎีก าค าสั่ งศาล
เกีย
่ วกับ จานวนเงิน ทีศ
่ าลเห็ นสมควรให้ โจทก มา
์
วางศาล เพื่ อ การช าระค่ าสิ นไหมทดแทนซึ่ ง
จ าเลยอาจได้รับ ตามมาตรา ๒๖๓ นี้ ไ ด้ว่า ที่
๖ พ.ย. ๕๘
54
ฎี ก า ที่ ๗ ๐ ๔ / ๒ ๕ ๔ ๕
โ จ ท ก ์ ฟ้ อ ง อ้ า ง
วา่ จาเลยที่ ๑ ถึงที่ ๒๐ และ จ. ตัวแทนเชิดของจาเลย
ที่ ๑ ถึง ที่ ๒๐ ได้ ตกลงซื้ อ ขายที่ด ิน พร้ อมสิ่ งปลู ก สร้ าง
ร ว ม ๒ ๗ ๒ โ ฉ น ด เ นื้ อ ที่ ๔ ๙ ไ ร่ ใ ห้ แ ก่ โ จ ท ก ์ ใ น
ราคา ๙๐ ล้ า นบาท โจทก ช
ิ และสิ่ งปลู ก
์ าระเงิน ค่าที่ด น
ส ร้ า ง บ า ง ส่ ว น แ ล ะ เ ข้ า ค ร อ บ ค ร อ ง เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง
ทรัพยสิ์ น ตอมาจ
าเลยที่ ๑ ถึงที่ ๒๐ สมรู้รวมคิ
ดกับจาเลย
่
่
ที่ ๒๑ แสดงเจตนาลวงบุคคลภายนอกทานิตก
ิ รรมซือ
้ ขาย
แ ล ะ จ ด ท ะ เ บี ย น โ อ น ก ร ร ม สิ ท ธิ ์ท ี่ ด ิ น ทั้ ง ห ม ด ไ ป เ ป็ น
กรรมสิ ทธิข
์ องจาเลยที่ ๒๑ จึงเห็ นได้ว่าตามค าฟ้องของ
โจทก ์ หากจ าเลยที่ ๒๑ โอนที่ด ิน พิพ าททั้ง หมดให้ แก่
บุ ค คลอื่น ในระหว่างพิจ ารณาย่อมจะท าให้ โจทก ได
์ ้ รับ
ความเสี ยหาย เพราะแม้ โจทก ชนะคดี
ก็ ไ ม่อาจโอนทีด
่ น
ิ
์
พิพ าทกลับ มาเป็ นของโจทก ได
์ ้ กรณี นับ ว่ามีเ หตุ จ าเป็ น
๖
พ.ย. ๕๘
และสมควรเพี
ย งพอที่ โ จทก ์จะขอให้ ศาลมี ค าสั่ งตาม55
โจทก วางเงิ
น ประกัน ค่าเสี ยหายเพีย ง ๑ แสนบาทจึง ไม่
์
เหมาะสม เพราะจ าเลยที่ ๒๑ ก็ ต่ อสู้ คดี ว่ าโจทก ์ไม่ มี
อ านาจฟ้ อง ไม่มีสิ ทธิใ ดๆ ในทีด
่ น
ิ พิพาท และฟ้ องโจทก ์
เป็ นเท็ จ ซึ่ ง หากทางพิจ ารณาได้ ความในภายหลัง ว่ า
โจทกน
่ มูลแล้ว เงินจานวนดังกลาว
่
์ าคดีมาสู่ศาลโดยไมมี
ย่อมไม่อาจชดเชยความเสี ยหายทีเ่ กิด ขึ้น แก่คู่ความอีก
ฝ่ ายหนึ่ งได้ จึ ง เห็ นสมควรให้ โจทก ์ วางเงิ น ประกั น
จานวน ๒๐ ล้านบาท
๒. ศาลไม่สั่ งให้ โจทก น
์ าเงิ น หรือ หา
ประกันตามจานวนทีเ่ ห็ นสมควรมาวางศาล เพื่อ
การชาระ ค่ าสิน ไหมทดแทน ซึ่ง จาเลยอาจได้รับ
ตามมาตรา ๒๖๓ นี้ ได้
๖ พ.ย. ๕๘
56
การกระท าซ้ า หรื อ กระท าต่ อไป ซึ่ ง การละเมิ ด ที่ ถู ก
ฟ้องร้อง อาจกอให
ได
่
้ เกิดความเสี ยหายแกโจทก
่
์ ้ หาก
ศาลพิพ ากษาให้ โจทก เป็
์ นฝ่ ายชนะคดี กรณี จึ ง มีเ หตุ
สมควรและเพี ย งพอที่ จ ะน าวิ ธ ี คุ้ มครองชั่ ว คราวก่ อน
พิพากษาตามมาตรา ๒๕๔ (๒) มาใช้โดยห้ามชั่วคราว
มิให้จาเลยและบริวารดาเนินการก่อสร้างอาคารในทีด
่ น
ิ
พิพาทจนกวาจะถึ
งทีส
่ ุดได้
่
ตามคาขอของโจทกมี
์ เหตุสมควรและ
เพีย งพอทีจ
่ ะน าวิธค
ี ุ้ มครองชั่ว คราวก่อนพิพ ากษามาใช้
หากจาเลยได้รับความเสี ยหายจาเลยก็มส
ี ิ ทธิทจ
ี่ ะวากล
าว
่
่
เอาแก่โจทกได
่ โจทกเป็
์ ้ตามมาตรา ๒๖๓ เมือ
์ นผู้มีชื่อ
ถือ กรรมสิ ท ธิใ์ นโฉนดทีด
่ น
ิ ย่อมได้ รับ ประโยชน์จากข้ อ
สั นนิ ษ ฐานว่ าเป็ นผู้ มี สิ ทธิ ค รอบครองตาม ป.พ.พ.
๖
พ.ย. ๕๘
มาตรา
๑๓๗๓ ที่ศ าลชั้น ต้ นอนุ ญ าตตามค าขอของ57
๓) ผลของคาสั่ งศาลทีอ
่ นุ ญาตตามคารอง
้
(ม.
๒๕๘ และ ม.๒๕๘ ทวิ)
๓.๑) คาขอให้ยึดหรืออายัดทรัพยสิ์ นไว้กอน
่
พิพากษา
ให้บังคับจาเลยไดทั
้ นที
ผลของการฝ่าฝื นคาสั่ ง
๑. กรณียึด ทรัพ ย สิ์ น ไว้ก่อนพิพ ากษา
จาเลยกอให
่ นแปลงซึ่งสิ ทธิ
่
้ เกิด โอน หรือเปลีย
ในทรัพยสิ์ นทีถ
่ ูกยึดภายหลังทีไ่ ดท
้ าการยึดไว้แลว
้
นั้น หาอาจใช้ยันแกเจ
่ ้าหนี้ตามคาพิพากษาหรือ
เจ้ าพนั ก งานบัง คับ คดี ไ ด้ ไม่ ถึ ง แม้ ราคาแห่ ง
ทรัพยสิ์ นนั้นจะเกินกวาจ
่ านวนหนี้ตามคาพิพากษา
๖ พ.ย. ๕๘
58
๒ . ก ร ณี อ า ยั ด ท รั พ ย ์ สิ น ไ ว้ ก่ อ น
พิ พ า ก ษ า จ า เ ล ย ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด โ อ น ห รื อ
เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ซึ่ ง สิ ท ธิ เ รี ย ก ร้ อ ง ที่ ไ ด้ ถู ก อ า ยั ด
ภายหลังทีไ
่ ด้ทาการอายัดไว้แล้วนั้น หาอาจใช้
ยัน แก่เจ้ าหนี้ ต ามค าพิพ ากษาหรือ เจ้ าพนั ก งาน
บังคับคดีได้ไม่ ถึงแม้ราคาแห่งสิ ทธิเรียกร้องนั้น
จะเกินกวาจ
่
่ านวนหนี้ตามคาพิพากษาและคาฤชา
ธรรมเนียมในการฟ้องร้องและการบังคับคดี และ
จาเลยไดจ
้ าหน่ายสิ ทธิเรียกร้องนั้นเพียงส่วนทีเ่ กิน
จานวนนั้นก็ ต าม (ม.๒๕๙ ประกอบ ม.๓๑๔ (๑)) (ฎ.
๑๑๓๒/๒๕๑๕)
๓. จะใช้ บัง คับ บุ ค คลภายนอก ซึ่ ง
พิสูจ นไดวาไดรับ โอนสุ จ ริต และเสี ยคาตอบแทน
๖ พ.ย. ๕๘
59
ข้อพิจารณา
๑. หากมีก ารยึด หรือ อายัด ทรัพ ย สิ
์ น
ของจาเลยไว้กอนพิ
พากษาแล้ว โจทกในคดี
อน
ื่
่
์
ของจ าเลยคนเดี ย วกัน จะขอให้ ยึ ด หรื อ อายัด
ทรัพยสิ์ นของจาเลยไว้กอนพิ
พากษาในทรัพยสิ์ น
่
เดียวกันนั้นอีกไมได
่ ้ตามมาตรา ๒๕๙ ประกอบ
มาตรา ๒๙๐
๒. หากมีก ารยึด หรือ อายัด ทรัพ ย สิ
์ น
ของจ าเลยไว้ ก่อนพิพ ากษาแล้ ว เจ้ าหนี้ ต ามค า
พิพากษาของจาเลยคนเดียวกันในคดีอน
ื่ จะขอให้
ยึ ด หรื อ อายัด ทรัพ ย ์สิ นของจ าเลยในทรัพ ย ์สิ น
เดียวกันนั้นได้ แต่จะมายืน
่ คาร้องต่อศาลทีอ
่ อก
๖ พ.ย. ๕๘
60
๓.๒) คาขอให้ห้ามจาเลยกระทาการจนกวา่
คดีจะถึงทีส
่ ุด
ให้ บั ง คั บ จ า เล ย ได้ ทั น ที ถึ ง แม้ ว่ า
จ า เ ล ย ยั ง มิ ไ ด้ รั บ แ จ้ ง ค า สั่ ง เ ว้ น แ ต่ ศ า ล
พิเคราะหพฤติ
การณแห
์
์ ่งคดีแล้ว เห็ นสมควรให้
คาสั่ งมีผลบังคับเมือ
่ จาเลยได้รับแจ้งคาสั่ ง (ม.๒๕๘
ว.๒)
ผลของการฝ่าฝื นคาสั่ ง
๑. กรณี ม ี ค าสั่ งห้ ามมิใ ห้ จ าเลยโอน
ขาย ยัก ย้ าย หรือ จ าหน่ ายทรัพ ย สิ
์ นที่พ ิพ าท
หรือทรัพยสิ์ นของจาเลย หาอาจใช้ยันแก่โจทก ์
หรือ เจ้ าพนัก งานบัง คับ คดีไ ด้ไม่ ถึง แม้ ว่าราคา
แห่งทรัพยสิ์ นนั้นจะเกินกวาจ
่ านวนหนี้และคาฤชา
่
ธรรมเนียมในการฟองรองและการบังคับคดี และ
๖ พ.ย. ๕๘
61
๒. กรณี อ ื่ น นอกจากข้ อ ๑. โจทก ์
ขอให้จับและกักขังจาเลยเพือ
่ ให้ปฏิบต
ั ต
ิ ามคาสั่ ง
ของศาลได้ (ม.๒๕๙ ประกอบ ม.๒๙๗ ดู ฎ.๒๐๗/
๒๕๐๕)
ข้ อ พิ จ า ร ณ า ม า ต ร า ๒ ๕ ๘
วรรค ๒ ไมมี
่ บทคุ้มครองบุคคลภายนอกผู้สุจริต
ไว้ดังเช่นมาตรา ๒๕๘ วรรค ๑
๓.๓) ค าขอให้ ระงับ การเปลี่ย นแปลงทาง
ทะเบียนจนกวาคดี
จะถึงทีส
่ ุดทีเ่ กีย
่ วกับทรัพยสิ์ นที่
่
พิพาทหรือทรัพยสิ์ นของจาเลย
ให้ มี ผ ลใช้ บัง คับ ได้ ทัน ที ถึ ง แม้ ว่ า
บุคคลตามทีร่ ะบุไว้จะยังมิได้รับแจ้งคาสั่ ง เว้นแต่
๖ พ.ย. ๕๘
62
ผลของการฝ่าฝื นคาสั่ ง
หาอาจใช้ยันแกโจทก
หรื
่
์ อเจ้าพนักงาน
บั
ง
คั
บ
ค
ดี
ไ
ด้
ไ
ม่
เว้นแตผู
รั
่ ้รับโอนจะพิสูจนได
์ ว
้ าได
่
้ บโอนโดยสุจริต
และเสี ยคาตอบแทนก
อนที
บ
่ ุคคลดังกลาวจะได
่
่
่
้รับ
แจ้งคาสั่ ง (ม.๒๕๘ ทวิ ว.๒)
ฎีก าที่ ๓๐๔๓/๒๕๕๒ พนั ก งานอัย การ
เป็ นโจทก ์ฟ้ องจ าเลยซึ่ ง เป็ นบิด าของ ว. ขอให้ โอน
กรรมสิ ทธิท
์ ี่ด น
ิ แก่ ว. การที่ผู้ คัด ค้ านรับ โอนที่ด น
ิ จาก
จ าเลยภาย หลั ง ที่ เ จ้ า พนั ก งา นที่ ด ิ น ได้ รั บ แจ้ งค าสั่ ง
คุ้มครองชัว
่ คราวกอนพิ
พากษา โดยห้ามโอน ขาย ยัก
่
ย้ าย หรือ จ าหน่ ายที่ด ิน แล้ ว ผู้ คัด ค้ านจึ ง ไม่ อาจอ้ าง
๖
๕๘
เรืพ.ย.
อ
่ งการรั
บโอนโดยสุจริตและเสี ยคาตอบแทนใช
่
้ ยัน ว.63
๓.๔) ค าขอให้ ระงับ การเปลี่ย นแปลงทาง
ทะเบียนจนกวาคดี
จะถึงทีส
่ ุดทีเ่ กีย
่ วกับการกระทา
่
ทีถ
่ ูกฟ้องร้อง
ให้มีผลใช้บังคับแกบุ
่ คคลตามทีร่ ะบุไว้
ตอเมื
่ บุคคลดังกลาวได
รั
่ อ
่
้ บแจ้งคาสั่ ง (ม.๒๕๘ ว.๔)
ผลของการฝ่าฝื นคาสั่ ง
ยัง ไม่ มี ผ ลใช้ บัง คับ ตามกฎหมายใน
ระหว่างใช้วิธก
ี ารชั่วคราวกอนพิ
พากษา (ม.๒๕๘
่
ทวิ ว.ทาย)
้
๓.๕) หมายจับจาเลย
ให้บังคับไดทั
้ ว่ ราชอาณาจักร แตห
่ ้าม
มิให้ กักขังเกิน ๖ เดือน นับแต่วันจับ (ม.๒๕๘
๖ พ.ย. ๕๘
64
๔) การสิ้ นผลของคาสั่ งศาลทีอ
่ นุ ญาตตามคารอง
้
๔.๑) คาพิพากษาหรือคาสั่ งชี้ขาดตัดสิ นคดี
ไดกล
งวิธก
ี ารชัว
่ คราวกอนพิ
พากษาไว้
้ าวถึ
่
่
เ ป็ น ไ ป ต า ม ที่ ศ า ล มี ค า สั่ ง ไ ว้ ใ น ค า
พิพากษาหรือคาสั่ ง
๔.๒) คาพิพากษาหรือคาสั่ งชีข
้ าดตัดสิ นคดี
มิไดกล
งวิธก
ี ารชัว
่ คราวกอนพิ
พากษาไว้
้ าวถึ
่
่
๑. ศาลตัดสิ นให้จาเลยเป็ นฝ่ายชนะคดี
เต็มตามขอหาหรื
อบางส่วน (ม.๒๖๐(๑))
้
ค าสั่ งของศาลเกี่ ย วกับ วิ ธ ี ก าร
ชั่วคราวในส่วนทีจ
่ าเลยชนะคดีน้น
ั ให้ถือวาเป็
่ น
อัน ยกเลิก เมื่อ พ้ นก าหนด ๗ วัน นับ แต่วัน ที่
ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่ ง
๖ พ.ย. ๕๘
65
ทางแก้ของโจทก ์
(๑) โจทกต
่ คาขอฝ่ายเดียว
์ ้องยืน
ต่อศาลชั้นต้นภายในก าหนดเวลา ๗ วัน นับ
แตวั
่ าลมีคาพิพากษาหรือคาสั่ ง
่ นทีศ
(๒) คาขอของโจทกต
์ ้องแสดงวา่
ตนประสงคจะยื
น
่ อุทธรณหรื
์
์ อฎีกาคาพิพากษาหรือ
คาสั่ งนั้น และมีเหตุอน
ั สมควรทีศ
่ าลจะมีคาสั่ งให้
วิธก
ี ารชัว
่ คราวเช่นวานั
่ ้นยังคงมีผลใช้บังคับตอไป
่
๖ พ.ย. ๕๘
66
โจทก ์
ค าสั่ งของศาลกรณี ค าขอของ
(๑) ศาลชั้น ต้ นมีค าสั่ งให้ ยกค า
ขอของโจทก ์ คาสั่ งของศาลดังกลาวให
่ ุด
่
้เป็ นทีส
(๒) ศาลชั้นต้นมีคาสั่ งให้วิธก
ี าร
ชั่วคราวยังคงมีผลใช้บังคับตอไป
คาสั่ งของศาล
่
ชัน
้ ตนให
า่
้
้มีผลใช้บังคับตอไปจนกว
่
( ๒ . ๑ ) ค ร บ ก า ห น ด ยื่ น
อุทธรณหรื
์ อฎีกา
(๒.๒) ศาลมีค าสั่ งถึง ที่สุ ด
ไมรั
กรณี
่ บอุทธรณหรื
์ อฎีกา แลวแต
้
่
(๒.๓) หากมีก ารอุ ท ธรณ ์
หรือ ฎีก าแล้ ว ค าสั่ งของศาลชั้น ต้ นให้ มีผ ลใช้
บัง คับต่อไปจนกว่าศาลอุทธรณหรื
์ อศาลฎีกาจะมี
็
๖ พ.ย. ๕๘
67
๒. ศาลตัดสิ นให้โจทกเป็
์ นฝ่ายชนะคดี
(ม.๒๖๐ (๒))
ค าสั่ งของศาลเกี่ ย วกับ วิ ธ ี ก าร
ชั่ว คราวยัง คงมี ผ ลใช้ บัง คับ ต่ อไปเท่ าที่ จ าเป็ น
เพือ
่ ปฏิบต
ั ต
ิ ามคาพิพากษาหรือคาสั่ งของศาล (ม.
๒๖๐ (๒))
ในปี
ตาม
ฎ.๙๘๔๖/๒๕๔๔ ออกข้ อสอบเนติฯ
๒๕๔๓ แล้ ว ฎ.๑๐๖๙๓/๒๕๕๑ วินิ จ ฉั ย เดิน
ฎ.๙๒๗๐/๒๕๔๗ ออกข้อสอบเนติฯ
ในปี ๒๕๕๐ แลว
้
๖ พ.ย. ๕๘
68
ข้อพิจารณา
๑. การที่ ศ าลชั้น ต้ นอนุ ญาตให้ ผู้ ค้ า
ประกันซึ่งรับผิดอยางลู
กหนี้รวมน
าหนังสื อรับรอง
่
่
การทาประโยชนมาเป็
นหลักประกันแทนทีด
่ น
ิ ของ
์
จาเลย ทีศ
่ าลมีคาสั่ งห้ามกระทานิตก
ิ รรมชั่วคราว
ในระหวางพิ
จารณา หากศาลชัน
้ ต้นพิพากษาให้
่
จาเลยชนะคดีโดยไมกล
งวิธก
ี ารชั่วคราวกอน
่ าวถึ
่
่
พิพ ากษา และโจทก ไม
์ ่ยื่น ค าขอต่อศาลชั้น ต้ น
ภายในก าหนด ๗ วัน นั บ แต่ วัน ที่ ศ าลมีค า
พิ พ า ก ษ า แ ส ด ง ว่ า ป ร ะ ส ง ค ์ จ ะ ยื่ น อุ ท ธ ร ณ ์ ค า
พิพ ากษาและมีเ หตุ ส มควรที่ศ าลจะมีค าสั่ งให้ ใช้
วิธก
ี ารชั่วคราวเช่นนั้นมีผลใช้บังคับตอไป
ผู้คา้
่
๖ พ.ย. ๕๘
69
ฎี ก าที่ ๓๕๐๔ / ๒๕๔๑ ค าสั่ งศาลชั้น ต้ นที่
อ นุ ญ า ต ใ ห้ ผู้ ค้ า ป ร ะ กั น
ทั้ง สามน า น.ส.๓ มาเป็ นหลัก ประกั น แทนที่ ด ิ น ของ
จาเลย หลัง จากทีศ
่ าลมีค าสั่ งห้ามจ าเลยกระทานิ ตก
ิ รรม
ชั่วคราวในระหวางพิ
จารณาตามมาตรา ๒๖๕ มาตรา
่
๒๕๙ ประกอบมาตรา ๒๗๔ นั้นเป็ นคาสังที
่ ่ กาหนดใช้
วิธีการชัวคราวก่
่
อนศาลชัน้ ต้นพิพากษาวิธกี ารหนึ่ง เมือ่
ศาลชั้น ต้ นพิพ ากษา ให้ จ าเลยชนะคดี โดยมิ ได้ ก ล่ า วถึง
วิธีการชัวคราวก่
่
อนพิพากษา และโจทกมิ์ ไดยื้ น่ คาขอตอ่
ศาลชั้ น ต้ นภายในก าหนด ๗ วัน นั บ แต่ วัน ที่ ศ าลมี ค า
พิ พ า ก ษ า แสดงว่ า โจ ทก ์ ประสงค์ จ ะยื่ น อุ ท ธรณ์ ค า
พิพ ากษา และมี เ หตุสมควรที่ ศ าลจะมี ค าสังให้
่ วิ ธี การ
ชัว่ คราวเช่ น ว่ า นั ้น มี ผ ลบัง คับ ต่ อ ไป ค าสั่ งของศาล
๖ พ.ย. ๕๘
70
๒. หากไม่ ใช่ ค าสั่ งเกี่ ย วกับ วิ ธ ี ก าร
ชั่ว คราวก่อนพิพ ากษา จะไม่มีผ ลยกเลิก ไปเมื่อ
ศาลชั้ น ต้ นพิ พ ากษาให้ โจทก ์ แพ้ คดี โ ดยมิ ไ ด้
กล่าวถึงวิธีการชัวคราวก่
่
อนพิพากษา
ฎี ก าที่ ๖๖๑๙ / ๒๕๔๕
โจทก ์ทั้ง สองและ
จาเลยตกลงกันให้ศาลชัน
้ ต้นถอนคาสั่ งอันเกีย
่ วกับวิธก
ี าร
ชั่ ว ค ร า ว ก่ อ น พิ พ า ก ษ า โ ด ย จ า เ ล ย เ ส น อ ห นั ง สื อ
คา้ ประกันของธนาคารซึ่งเป็ นบุคคลภายนอกยอมผูกพัน
เ พื่ อ ก า ร ช า ร ะ ห นี้ ต า ม
คาพิพากษา โดยเงื่อนไขว่าหากคดีถึงทีส่ ุดแล้ว จาเลย
เป็ นฝ่ ายแพ้ คดี ธนาคารจึ ง ต้ องผู ก พัน ตามข้ อความใน
หนังสื อคา้ ประกันดังกลาวตามมาตรา
๒๗๔ กรณี ไม่อาจ
่
ถือว่าการเข้าคา้ ประกันของธนาคารตอศาลเพื
อ
่ ชาระหนี้
่
ตามค
่ ของศาลชัน้ ต้ น เกี่ ย วกับ71
๖
พ.ย. ๕๘ าพิ พ ากษา เป็ นค าสั ง
๔.๓) มีก ารบัง คับ คดีเ กี่ย วกับ ทรัพ ย สิ์ น ของ
จ าเลยที่ถู ก โจทก ยึ
์ ด หรือ อายัด ไว้ ก่อนพิพ ากษา
โดยเจ้าหนี้ตามคาพิพากษาในคดีอน
ื่ แลว
้
ฎีก าที่ ๙๕๒/๒๕๔๑ แม้ ศาลชั้น ต้ นจะมี
คาสั่ งอายัดเงิน ของจ าเลยไว้ ชั่ว คราวก่อนมีค าพิพากษา
ตามคารองของโจทก
่งเป็ นเจ้าหนี้ตามคาพิพากษา
้
้
์ ผู้รองซึ
ของจ าเลยในคดีอ ื่น ก็ ม ีสิ ทธิท ี่จ ะขออายัด ทรัพ ย นั
์ ้ น เพื่อ
บัง คับ คดีต ามค าพิพ ากษาในคดีข องตน เพราะกรณี ไ ม่
ต้องดวยข
้
้อห้ามมิให้อายัดทรัพยซ
์ า้ ตามมาตรา ๒๙๐ และ
เมือ
่ บุคคลภายนอกซึ่งเป็ นผู้ครอบครองเงินของจาเลยได้
จัด ส่ งเงิน ดัง กล่ าว ซึ่ ง ศาลชั้น ต้ นมี ค าสั่ งให้ อายัด ไว้
ชั่วคราวมาแล้ว เมือ
่ ผู้ร้องซึ่งเป็ นเจ้าหนี้ตามคาพิพากษา
ในคดี
อ ื่น ได้ ขอบัง คับ คดีแ ละเจ้ าพนั ก งานบัง คับ คดีไ ด72้
๖ พ.ย. ๕๘
บัง คั บ คดี โ ดยมี ห นั ง สื อขออายั ด เงิ น จ านวนดัง กลาว
บทคุ้มครองจาเลย
๑) วิธก
ี ารทีศ
่ าลกาหนดไว้ไมมี
่ เหตุเพียงพอหรือ
มีเหตุอน
ั สมควรประการอืน
่
(ศาลสั่ งอนุ ญ าตไปโดยไม่
ชอบ)
๒) ข้ อเท็ จ จริง หรือ พฤติก ารณ์ที่ศ าลอาศั ย เป็ น
หลักในการมีคาสั่ งอนุ ญาตเปลีย
่ นแปลงไป (ศาลสั่ ง
อนุ ญาตไปโดยชอบแตข
จจริงเปลีย
่ นไป)
่ อเท็
้
๓) ขอให้โจทกใช
์ ้คาสิ
่ นไหมทดแทนแกจ
่ าเลย
๔) ฟ้องเป็ นคดีละเมิด
๖ พ.ย. ๕๘
73
๑) วิธก
ี ารทีศ
่ าลกาหนดไว้ไมมี
่ เหตุเพียงพอหรือ
มีเหตุอน
ั สมควรประการอืน
่ (ม.๒๖๑)
๑.๑) หลักเกณฑ ์
๑. จ าเลยซึ่ ง ได้ รับ หมายยึ ด หมาย
อายัด หรือ ค าสั่ งตามมาตรา ๒๕๔ (๑) (๒)
หรือ (๓) หรือ จะต้ องเสี ยหายเพราะหมายยึ ด
หมายอายัด หรือ ค าสั่ งดัง กล่าว ขอต่อศาลให้
ถ อ น ห ม า ย เ พิ ก ถ อ น ค า สั่ ง ห รื อ แ ก้ ไ ข
เปลีย
่ นแปลงคาสั่ ง หมายยึด หรือหมายอายัดซึ่ง
ออกตามค าสั่ งดัง กล่าว (ขอให้ เพิก ถอนหรือ แก้ ไข
เปลีย
่ นแปลง)
๒. จ าเลยซึ่ ง ถู ก ศาลออกค าสั่ งจับ กุ ม
ตามมาตรา ๒๕๔ (๔) ขอต่อศาลให้ เพิก ถอน
คาสั่ ง ถอนหมาย หรือ ให้ ปล่อยตัว ไปโดยไม่มี
เ งื่ อ น ไ ข ห รื อ ใ ห้ ป ล่ อ ย ตั ว ไ ป ชั่ ว ค ร า ว โ ด ย มี
06/11/58
74
๑.๒) ลักษณะของคาขอ
๑. อยูภายใต
บั
่
้ งคับมาตรา ๒๑ (๒)
๒. คาขอต้องระบุวา่ คาสั่ งของศาลที่
ให้ ใช้ วิธ ีก ารชั่ว คราวก่อนพิพ ากษานั้น ไม่มีเ หตุ
เพีย งพอหรือ ไม่มีเ หตุ ส มควร และต้ องระบุ ว่ามี
เหตุ ท ี่จ ะขอให้ เพิก ถอนหรือ แก้ ไขเปลี่ย นแปลง
คาสั่ งดวย
้
ข้อพิจารณา
๑. หากคาร้ องของจ าเลยระบุ ว่า ฟ้ องของ
โจทก ไม
์ ่มีมู ล ที่จ ะชนะคดี หรือ โจทก มี
์ เ จตนาทุ จ ริต ใน
การร้ องขอให้ ศาลมีค าสั่ งยึด ที่ด น
ิ และสิ่ งปลู ก สร้ างของ
จ
าเลย เป็ นการคัดค้านว่าพยานหลักฐานทีโ่ จทกน
์ าสื บ75
06/11/58
๒ . ค า สั่ ง เ กี่ ย ว กั บ วิ ธ ี ก า ร ชั่ ว ค ร า ว ก่ อ น
พิพ ากษาตามมาตรา ๒๕๔ คงมีผ ลบัง คับ เฉพาะกับ
จาเลยทีศ
่ าลมีค าสั่ งเทานั
่ ในคดีทม
ี่ ี
่ ้ น ดังนั้น จาเลยอืน
จาเลยหลายคนจึง ไม่มีสิ ทธิยน
ื่ ค าร้ องตามมาตรา ๒๖๑
นี้ (เทียบเคียงกับ ฎ.๖๙๒/๒๕๔๔)
๓. จ าเลยซึ่ ง ได้ รั บ หมายหรื อ ค าสั่ งตาม
มาตรา ๒๕๔ หากประสงคจะขอให
้ ศาลถอนหมายหรือ
์
ค าสั่ งชอบที่ จ ะยื่ น ค าขอในคดี เ ดิม ตามมาตรา ๒๖๑
วรรค ๑ เท่านั้ น ไม่ อาจฟ้ องขอให้ หมายหรือ ค าสั่ ง
ดัง กล่ าวไม่ มี ผ ลบัง คับ เป็ นคดีใ หม่ ได้ (เที ย บเคี ย ง ฎ.
๒๖๒๔/๒๕๔๓)
๖ พ.ย. ๕๘
76
๑.๓) ศาลทีจ
่ ะยืน
่ คาขอและศาลทีม
่ อ
ี านาจ
พิจารณาสั่ ง
๑. ศาลชั้น ต้ น ศาลอุ ท ธรณ ์หรือ ศาล
ฎีก าที่ม ีค าสั่ งอนุ ญ าตให้ ใช้ วิธ ีก ารชั่ว คราวก่อน
พิ พ ากษา และศาลนั้ น ๆ มี อ านาจในการ
พิจารณาสั่ ง
๒ . ก ร ณี ที่ ม ี ก า ร อุ ท ธ ร ณ ์ ห รื อ ฎี ก า
คัด ค้ านค าพิพ ากษาหรื อ ค าสั่ งชี้ ข าดตัด สิ นคดี
แ ล ะ ไ ด้ ยื่ น ค า ข อ ใ ห้ เ พิ ก ถ อ น ห รื อ แ ก้ ไ ข
เปลีย
่ นแปลงคาสั่ งในวิธก
ี ารชัว
่ คราวกอนพิ
พากษา
่
ศ า ล อุ ท ธ ร ณ ์ ห รื อ ศ า ล ฎี ก า
แล้วแตกรณี
และให้ศาลดังกลาวมี
อานาจในการ
่
่
06/11/58
77
๑.๔) การพิจารณาของศาล (ม.๒๖๑ ว.๓)
๑. ถ้าศาลเห็ นวาวิ
ี ารทีก
่ าหนดไว้ไม่
่ ธก
มีเหตุเพียงพอ ศาลจะมีคาสั่ งเพิกถอนวิธก
ี ารทีส
่ ่ั ง
ไวแล
้ วนั
้ ้นเสี ยได้
๒. ถ้ าศาลเห็ น ว่าวิธ ีก ารที่ก าหนดไว้ มี
เหตุอน
ั สมควรประการอืน
่
ศาลจะมีคาสั่ งอืน
่ ใดที่
จะแก้ ไขเปลี่ ย นแปลงค าสั่ งให้ เหมาะสมตามที่
ิ รรมก็ได้
เห็ นสมควรเพือ
่ ประโยชนแห
์ ่งความยุตธ
๓ . ศ า ล มี อ า น า จ ก า ห น ด ใ ห้ จ า เ ล ย
ว า ง เ งิ น ต่ อ ศ า ล ห รื อ
หาประกันมาให้ตามจานวนและภายในระยะเวลาที่
เห็ น สมควร หรือ จะก าหนดเงื่อ นไขใดๆ ตามที่
เห็ นสมควรก็ได้
ยกเว้น การฟ้องเรียกเงิน ห้าม
06/11/58
78
๒) ข้ อเท็ จ จริง หรือ พฤติก ารณ ์ที่ศ าลอาศั ย เป็ น
หลักในการมีคาสั่ งอนุ ญาตเปลีย
่ นแปลงไป (ม.๒๖๒)
๒.๑) หลักเกณฑ ์
๑. เมือ
่ ศาลเห็ นสมควร หรือ
๒. จาเลยตามทีบ
่ ญ
ั ญัตไิ ว้ใน ม. ๒๖๑
มี ค า ข อ ใ ห้ แ ก้ ไ ข ห รื อ ย ก เ ลิ ก วิ ธ ี ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง
ชัว
่ คราวของโจทก ์
๒.๒) ลักษณะของคาขอ
เช่นเดียวกับมาตรา ๒๖๑
06/11/58
79
๒.๓) ศาลที่จ ะยื่น ค าขอและศาลที่ม ีอ านาจ
พิจารณาสั่ ง
๑. ศาลชั้น ต้ น ศาลอุ ท ธรณ ์หรือ ศาล
ฎี ก า ที่ มี ค า สั่ ง อ นุ ญ า ต
ให้ ใช้ วิธ ก
ี ารชั่ว คราวก่อนพิพ ากษา ซึ่ง ศาลนั้น
ๆ มีอานาจในการพิจารณาสั่ ง (ม.๒๖๒ ว.๑)
๒ . ก ร ณี ที่ ม ี ก า ร อุ ท ธ ร ณ ์ ห รื อ ฎี ก า
คัด ค้ านค าพิพ ากษาหรื อ ค าสั่ งชี้ ข าดตัด สิ นคดี
และได้ยื่น ค าขอให้ แก้ ไขหรือ ยกเลิก ค าสั่ งให้ ใช้
วิธก
ี ารชัว
่ คราวกอนพิ
พากษา (ม.๒๖๒ ว.๒)
่
๒ . ๑ ศ า ล ชั้ น ต้ น ยั ง ไ ม่ ไ ด้ ส่ ง
สานวนความไปยังศาลอุทธรณหรื
์ อศาลฎีกา
ให้ ยื่น ค าขอต่อศาลชั้น ต้ น
และให้ ศาลชั้น ต้ นเป็ นผู้ มีอ านาจที่จ ะสั่ งอนุ ญ าต
หรือยกคาขอนี้ได (ต้องจา)
06/11/58
80
๒.๒ ศาลชัน
้ ต้นส่งสานวนความ
ไปยังศาลอุทธรณหรื
์ อศาลฎีกาแลว
้
ให้ยืน
่ คาขอตอศาลอุ
ทธรณ ์
่
หรือ ศาลฎีก าแล้ วแต่กรณี แล้ วให้ ศาลอุ ท ธรณ์
หรือ ศาลฎีก าแล้ วแต่กรณี เ ป็ นผู้ มีอ านาจที่จ ะสั่ ง
อนุ ญาต หรือยกคาขอนี้ได้
๒.๔) การพิจารณาของศาล
ศาลจะมีคาสั่ งแก้ไขหรือยกเลิกวิธก
ี าร
ชัว
่ คราวกอนพิ
พากษานั้นเสี ยก็ได้
่
06/11/58
81
ข้อพิจารณา
๑. กรณี ค าสั่ งคุ้ มครองชั่ว คราวก่อน
พิพากษายังไมสิ่ ้ นผลบังคับ
กรณีจ าเลยยื่นค าร้ องขอให้ เพิก
ถอนค าสั่ งคุ้ มครองชั่ว คราวก่อนพิพ ากษา ศาล
ชั้ น ต้ น ย ก ค า ร้ อ ง ศ า ล อุ ท ธ ร ณ ์ พิ พ า ก ษ า ยื น
จ าเลยฎีก า ในระหว่ างพิจ ารณาของศาลฎีก า
ปรากฏว่าศาลชั้น ต้ นพิพ ากษาให้ โจทก ชนะคดี
์
คาสั่ งดัง กล่าวจึง มีผ ลใช้ บัง คับ ต่อไปเท่าทีจ
่ าเป็ น
เพือ
่ ปฏิบต
ั ต
ิ ามคาพิพากษาหรือคาสั่ งของศาลตาม
มาตรา ๒๖๐ (๒) ค าสั่ งดัง กล่าวจึง มิใ ช่ ค าสั่ ง
พากษาทีศ
่ คราวกอนพิ
คุ้มครองชัว
่ าลจะมีคาสั่ งเพิก
่
ถอนหรือแก้ไขเปลีย
่ นแปลงคาสั่ งหรือยกเลิกตาม
มาต ร า ๒๖๑ ม าต รา ๒ ๖๒ หรื อ มาต ร า
๒๖๗ ได้ (เทียบเคียง ฎ.๗๔๒๑/๒๕๕๑)
06/11/58
82
๒. กรณี ค าสั่ งคุ้ มครองชั่ว คราวก่อน
พิพากษาสิ้ นผลบังคับแลว
้
ไม่ มีค วามจ าเป็ นต้ องพิจ ารณา
เพิกถอนคาสั่ งคุ้มครองชั่วคราวกอนพิ
พากษาของ
่
ศาลชั้น ต้ นตามตามฎี ก าของจ าเลย (ฏ.๗๑๐๕/
๒๕๓๙)
๓. เป็ นดุลพินิจของศาล
ก า ร แ ก้ ไ ข เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ค า สั่ ง
วิธ ีก ารชั่ว คราวก่อนพิพ ากษา ศาลมีอ านาจใช้
ดุลพินิจทีจ
่ ะแก้ไขโดยกาหนดวิธก
ี ารชั่วคราวใหม่
ไดตามที
เ่ ห็ นสมควรเพือ
่ ประโยชนแก
้
์ คู
่ ความฝ
่
่ ายที่
จะชนะคดีต่อไป โดยไม่จาต้องรอให้ คู่ความยืน
่
คาร้องขอเข้ามาอีกหรือต้องทาการไตสวนใหม
่
่ (ฎ.
06/11/58
83
๓) ขอให้ โจทก ใช
์ ้ ค่าสิ นไหมทดแทนแก่จ าเลย
(ม.๒๖๓)
๓.๑) เหตุทจ
ี่ ะยืน
่ คาขอ
กรณีแรก โจทกท
์ าให้ศาลมีคาสั่ งโดย
มีความเห็ นหลงไปวาสิ
่ ท ธิเ รียกร้องของโจทก มี
์ มู ล
(ม.๒๖๓(๑))
๑. โดยความผิดหรือเลินเลอของโจทก
่
์
๒. ศาลตัด สิ นให้ โจทก เป็
์ นฝ่ ายแพ้ คดี
๓. จาเลยได้รับความเสี ยหายเนื่องจาก
คาสั่ งให้ใช้วิธก
ี ารชัว
่ คราว
06/11/58
84
กรณี ท ี่ส อง โจทก ท
์ าให้ ศาลมีค าสั่ ง
โดยมีความเห็ นหลงไปวา่ วิธก
ี ารชั่วคราวทีส
่ ่ ั งไว้
นั้นมีเหตุผลเพียงพอ (ม.๒๖๓(๒))
๑. โดยความผิดหรือเลินเลอของโจทก
่
์
๒. ไม่ว่าคดีน้ัน ศาลจะชี้ข าดตัด สิ นให้
โจทกชนะหรื
อแพคดี
์
้
๓. จาเลยไดรั
้ บความเสี ยหายเนื่องจาก
คาสั่ งให้ใช้วิธก
ี ารชัว
่ คราวกอนพิ
พากษา
่
๓.๒) ลักษณะของคาขอ
๑. อยูภายใต
บั
่
้ งคับมาตรา ๒๑ (๒)
๒. ต้ องระบุ ใ ห้ เข้ าเหตุ ต าม มาตรา
๒๖๓
06/11/58
85
๓.๓) ศาลทีจ
่ ะยืน
่ คาขอและกาหนดเวลาทีจ
่ ะ
ยืน
่ คาขอ
กรณีแรก
จ าเลยซึ่ ง ต้ องถู ก บั ง คั บ โดยวิ ธ ี ก าร
ชั่วคราวอาจยืน
่ คาขอต่อศาลชั้นต้ นภายใน ๓๐
วัน นับแตวั
่ ค
ี าพิพากษาของศาลทีม
่ ค
ี าสั่ งตาม
่ นทีม
วิธก
ี ารชัว
่ คราวนั้น (ม.๒๖๓ (๑)) (ฎ.๓๓๑๙/๒๕๔๒)
กรณีทส
ี่ อง
จ าเลยซึ่ ง ต้ องถู ก บั ง คั บ โดยวิ ธ ี ก าร
ชั่วคราวจะยืน
่ คาขอตอศาลชั
้นต้น กอนศาลมี
คา
่
่
พิพ ากษาหรือ ภายหลัง ที่ศ าลมีค าพิพ ากษาแล้ ว
ก็ได หากยืน
่ ภายหลังทีศ
่ าลมีคาพิพากษาตองอยู
06/11/58
86
๓.๔) ศาลทีม
่ อ
ี านาจพิจารณาสั่ ง
ศ า ล ที่ มี ค า สั่ ง ต า ม วิ ธี ก า ร ชั่ ว ค ร า ว
กล ่าวคือ ถ้ าเป็ นกรณี ท ี่ใ ช้ วิธ ีก ารชั่ว คราวก่ อน
พิพากษาในระหวางพิ
จารณาของศาลใด ศาลนั้น
่
เ
ป็
น
ผูพิ
้ จารณาสั่ ง (ม.๒๖๓ ว.๒)
๓.๕) การพิจารณาของศาล (ม.๒๖๓ ว.๒)
๑ . ศ า ล มี อ า น า จ สั่ ง ใ ห้ แ ย ก ก า ร
พิจารณาเป็ นสานวนตางหากจากคดี
เดิม
่
๒. ศาลทาการไตสวนแล
่
้วเห็ นวา่ คา
ขอของจ าเลยรับ ฟั ง ได้ ให้ ศาลมีค าสั่ งให้ โจทก ์
ชดใช้ ค่ าสิ นไหมทดแทนให้ แก่ จ าเลยได้ ตาม
06/11/58
87
๓.๖) ผลของคาสั่ งศาล
๑. ถ้ าโจทก ์ไม่ ปฏิบ ัต ิ ต ามค าสั่ งศาล
ศาลมีอานาจบังคับโจทกเสมื
์ อนหนึ่ งวาเป็
่ นลูกหนี้
ตามคาพิพากษา
๒. กรณีทศ
ี่ าลมีคาสั่ งให้โจทกชดใช
์
้คา่
สิ นไหมทดแทนในกรณี โ จทก ท
์ าให้ ศาลมีค าสั่ ง
โดยมี ค วามเห็ นหลงไปว่ า สิ ทธิเ รี ย กร้ องของ
โจทกมี
์ มูล ให้งดการบังคับคดีไว้จนกวาศาลจะมี
่
คาพิพากษาถึงทีส
่ ุดให้โจทกแพ
์ ้คดี
๓. ค าสั่ งของศาลชั้ น ต้ นหรื อ ศาล
อุ ท ธรณ ์ ดัง กล่ าว ให้ อุ ท ธรณ ์ หรื อ ฎี ก าได้ ตาม
บทบัญญัตวิ าด
ทธรณหรื
่ วยการอุ
้
์ อฎีกา (ม.๒๖๓ ว.
06/11/58
88
ข้อพิจารณา
๑. นอกจากจ าเลยจะร้ องขอให้ ถอนหมาย
เพิกถอนหรือแก้ไขเปลีย
่ นแปลงคาสั่ งตามมาตรา
๒๖๑ แล้ว จาเลยยังมีสิท ธิขอให้ศาลในคดีน้ัน
สั่ งให้โจทกชดใช
์
้คาสิ
่ นไหมทดแทนแกตนได
่
้ตาม
มาตรา ๒๖๓
๒. หากจ าเลยร้ องขอให้ ศาลแก้ ไขหรื อ
ยกเลิกวิธก
ี ารชั่วคราวตามมาตรา ๒๖๒ จาเลย
ไมมี
่ สิทธิขอให้ศาลในคดีน้ันสั่ งให้โจทกชดใช
์
้ คา่
สิ นไหมทดแทนแกตนได
ตามมาตรา
๒๖๓
่
้
๓. ไมน
่ ามาตรา ๒๖๓ ไปใช้กับกรณีการ
ร้องขอคุ้มครองประโยชนในระหว
างการพิ
จารณา
์
่
06/11/58
89
๔. จาเลยจะใช้สิ ทธิตามมาตรา ๒๖๓ โดย
ก า ร ฟ้ อ ง แ ย้ ง ใ น ค า ใ ห้ ก า ร ข อ ง จ า เ ล ย ไ ม่ ไ ด้
เนื่องจากไมเกี
่ วกับฟ้องเดิม (ฎ.๑๐๐๒/๒๕๒๙ และ
่ ย
๓๓๑๙/๒๕๔๒)
๖ พ.ย. ๕๘
90
ยุติการบรรยาย
ถาม-ตอบ