วิธก ี ารชัว ่ คราวกอนพิ พากษา ่ ภาคสอง สมัยที่ ๖๗ โดย อาจารยนริ ตัง้ ศรีไพโรจน์ ์ นทร วันอาทิตยที ์ ่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๘

Download Report

Transcript วิธก ี ารชัว ่ คราวกอนพิ พากษา ่ ภาคสอง สมัยที่ ๖๗ โดย อาจารยนริ ตัง้ ศรีไพโรจน์ ์ นทร วันอาทิตยที ์ ่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๘

วิธก
ี ารชัว
่ คราวกอนพิ
พากษา
่
ภาคสอง สมัยที่ ๖๗
โดย
อาจารยนริ
ตัง้ ศรีไพโรจน์
์ นทร
วันอาทิตยที
์ ่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๘
วิธีการคุ้มครองโจทก์
๗) หลักเกณฑการร
องขอ
์
้
๘) ศาลทีท
่ าการไตสวนและพิ
จารณาสั่ ง
่
๙) คาสั่ งของศาล
๑๐) บทคุมครองจ
าเลย
้
๑๑) คาขอในเหตุฉุกเฉิน
๗ พ.ย. ๕๘
2
หลักเกณฑ์การร้องขอ
๑) ต้ องยื่น ค าขอฝ่ ายเดี ย ว โดยท าเป็ นค าร้ อง
(ม.๒๕๔ ว.๑)
๒) ต้ องยื่น พร้ อ มกับ ค าฟ้
อง หรือ ในเวลาใด
ก่ อ น ศ า ล ใ น แ ต่ ล ะ ชั ้ น มี
คาพิพากษา (ม.๒๕๔ ว.๑ ประกอบ ม.๑ (๓))
ข้อพิจารณา
๑. กรณีศาลมีคาสั่ งให้จาหน่ ายคดี ชวคราว
ั่
โจทก ์ขอคุ้ มครองชั่ ว คราวก่ อนพิ พ ากษาตาม
มาตรา ๒๕๔ ได้ (ฎ.๔๒๑/๒๕๒๔)
๗ พ.ย. ๕๘
3
๓) ลักษณะของคาขอ
๓.๑) กรณีเป็ นคาขอฝ่ายเดียวโดยเครงครั
ด
่
ตามมาตรา ๒๑ (๓)
๑. คาขอให้ยึด หรือ อายัด ทรัพ ย สิ์ นไว้
กอนพิ
พากษา และ
่
๒. คาขอให้ จับกุม และกัก ขัง จาเลยไว้
ชัว
่ คราวกอนพิ
พากษา
่
๓ . ๒ ) ก ร ณี ไ ม่ เ ป็ น ค า ข อ ฝ า ย เ ดี ย ว โ ด ย
เครงครั
ดตามมาตรา ๒๑ (๓)
่
๑. คาขอห้ามจาเลยกระทาการจนกวา่
คดีจะถึงทีส
่ ุด และ
๗ พ.ย. ๕๘
4
ในกรณีท ย
ี่ น
ื่ คาขอให้ ศาลมีคาสั่ งตาม
มาตรา ๒๕๔ (๒) หรื อ (๓) ถ้ าศาลเห็ นว่ า
หากให้โอกาสจาเลยคัดค้านกอนจะไม
เสี
่
่ ยหายแก่
โจทก ์ ให้ ศาลแจ้งก าหนดวันนั่ง พิจารณาพร้ อม
ทั้ ง ส่ ง ส า เ น า ค า ข อ ใ ห้ แ ก่ จ า เ ล ย โ ด ย ท า ง เ จ้ า
พนักงานศาล
จ าเลยจะเสนอข้ อคัด ค้ านของตนใน
ก า ร ที่ ศ า ล นั่ ง พิ จ า ร ณ า
คาขอนั้นก็ได้ (ม.๒๕๖)
ฎีก าที่ ๖๙๙/๒๕๐๘ การที่โ จทก ยื
์ ่น ค า
ร้องขอให้ศาลเปิ ดทางเดินในระหวางคดี
ยงั ไมถึ
่ ุดเป็ น
่
่ งทีส
คาขอฝ่ ายเดีย ว กฎหมายไม่ได้บัง คับ ว่าต้ องให้คู่ความ
อีก ฝ่ ายหนึ่ ง มีโ อกาสคัด ค้ านก่ อน กฎหมายให้ อยู่ ใน
๗
พ.ย. ๕๘
อานาจหรื
อดุลพินิจของศาลทีจ
่ ะฟังคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ งก็5
ศาลที่ทาการไต่สวนและพิจารณา
สัง่
๑) ระหวางพิ
จารณาของศาลชัน
้ ต้น
่
ให้ยืน
่ ตอศาลชั
น
้ ตนและศาลชั
น
้ ตนเป็
นผูไต
่
้
้
้ ่
สวนและพิจารณาสั่ ง
๒) ระหวางพิ
จารณาของศาลอุทธรณ์ หรือศาล
่
ฎีกา
๒.๑) ศาลชัน
้ ตน
้ ยังไม่ได้ส่งสานวนความไป
ยังศาลอุทธรณหรื
์ อศาลฎีกา
๗ พ.ย. ๕๘
ใหยื่ น ต อศ าลชั้ น ต น
และ ให ศาล
6
๒.๒) ศาลชั้น ต้ นส่ งส านวนความไปยัง ศาล
อุทธรณหรื
้
์ อศาลฎีกาแลว
้ (ม.๒๕๔ ว.ทาย)
๑. ยื่น คาร้ องต่อศาลอุ ท ธรณ์หรือ ศาล
ฎีกา แล้วแตกรณี
ในทางปฏิบต
ั จ
ิ ะยืน
่ คาร้องตอ
่
่
ศาลชัน
้ ตน
้
๒. ศาลอุ ท ธรณ ์ หรื อ ศาลฎี ก าเป็ นผู้
พิจ ารณาสั่ งในแต่ละชั้น ศาล โดยศาลอุ ท ธรณ ์
หรือ ศาลฎีก าอาจส่ งส านวนไปให้ ศาลชั้น ต้ นท า
ก
า
ร
ไต่สวนก่อนพิจารณาสั่ งอนุ ญาตหรือยกคาขอนี้ก็
ได้
๗ พ.ย. ๕๘
7
ข้อพิจารณา
๑. การขอให้ ยึ ด ทรัพ ย ์ก่ อนพิพ ากษาตาม
ม า ต ร า
๒ ๕ ๔
จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร
ไต่สวนตามมาตรา ๒๕๕ ก่อน จึง จะอนุ ญ าต
ได้ แม้จาเลยจะเคยถูกยึดทรัพยก
์ ่อนศาลชั้นต้น
พิพ ากษามาแล้ วต่ อมามีก ารถอนการยึ ด ทรัพ ย ์
ดัง กล่าว เมือ
่ มาขอยึด ทรัพ ยในชั
้น อุท ธรณ์อีก ก็
์
จะต้องมีการไตสวนตามมาตรา
๒๕๕ กอน
จึง
่
่
จะมีคาสั่ งอนุ ญาตได้ (ฎ.๔๔๔/๒๔๙๐)
๒. ศาลจะมีคาสั่ งอนุ ญาตตามมาตรา ๒๕๔
โดยเพียงแตสอบถามโจทก
จ
่
์ าเลยและบันทึกไว้ใน
รายงานกระบวนพิจ ารณา ทั้ง ที่ ย ัง ไม่ ปรากฏ
ข้อเท็จจริงเพียงพอตามมาตรา ๒๕๕ ไมได
่ ้ (ฎ.
๗ พ.ย. ๕๘
8
๓. หากศาลพิจารณาคาขอคุ้มครองชั่วคราว
กอนพิ
พากษาของโจทกแล
่
์ วเห็
้ นวา่ คดีโจทกไม
์ มี
่
มู ล หรื อ ไม่ มี เ หตุ เ พี ย งพอ ศาลมี อ านาจสั่ งยก
คาขอโดยไมต
่ ้องทาการไตสวนได
้ (ฎ.๒๑๔๙/๒๕๑๖)
่
๔. การทีโ่ จทกทั
บยืน
่
์ ง้ สามฟ้องจาเลยพรอมกั
้
ค าร้ องขอคุ้ มครองชั่ว คราวก่อนพิพ ากษา ศาล
ชั้น ต้ นมีค าสั่ งห้ ามจ าเลยจ าหน่ ายจ่ ายโอนที่ด ิน
พร้อมสิ่ งปลูกสร้าง และให้อายัดเงินในบัญชีเงิน
ฝากประจาหลายบัญชี แต่ก่อนทีศ
่ าลชั้นต้นจะมี
ค าสั่ งอายัด เงิน ในบัญ ชี เ งิน ฝากไปยัง ธนาคาร
จ าเลยถอนเงิน จากบัญ ชี แ ละปิ ดบัญ ชี ด ัง กล่ าว
ทั้ง หมด อีก ทั้ง น าเงิน ฝากไปเปิ ดบัญ ชีเ งิน ฝาก
๗ พ.ย. ๕๘
9
คาสังของศาล
่
๑) ยกคาร้อง
๑.๑) โจทก มี
์ สิท ธิอุท ธรณ ์หรือฎีก าคาสั่ งได้
(ม.๒๒๘ (๒) และ ม.๒๔๗)
๑. การที่โ จทก อุ
์ ท ธรณ ์หรือ ฎีก าค าสั่ ง
ศาลทีย
่ กคาร้องขอคุ้มครองชัว
่ คราวกอนพิ
พากษา
่
หลังจากที่ ศาลชัน้ ต้ นพิพากษายกฟ้ องคดี โจทก์
แล้ว จึงไมมี่ ประโยชนที์ ศ่ าลอุทธรณหรื
์ อศาลฎีกา
จะวินิ จ ฉั ย อุ ท ธรณ ์หรือ ฎีก าค าสั่ งดัง กล่าวต่อไป
เนื่ องจากการขอคุ้มครองชัวคราวก่
่
อนพิพากษา
๗ พ.ย. ๕๘
10
๒. ในระหวางที
โ่ จทกอุ
่
์ ทธรณหรื
์ อฎีกา
ค าสั่ งศาลที่ย กค าร้ องขอคุ้ มครองชั่ว คราวก่ อน
พิพากษา ศาลมีคาพิพากษาถึงทีส
่ ุดให้โจทกชนะ
์
คดี จึงไมอาจด
าเนินกระบวนพิจารณาวาด
่
่ วยการ
้
ขอคุ้ มครองชั่ว คราวก่อนพิพ ากษาได้ (ฏ.๑๑๑๖/
๒๕๐๓ และ ๖๑๑๒/๒๕๒๗)
๑.๒) โจทก ยื
์ ่น ค าขอใหม่ได้ แต่ต้ องอ้ าง
เหตุใหม่ (ฎ.๙๗๐/๒๕๑๙)
๗ พ.ย. ๕๘
11
๒) อนุ ญาตตามคารอง
้
๒.๑) ขอบเขตหรือเงือ
่ นไขเป็ นดุลพินิจของ
ศาล
แลวแต
ศาลจะเห็
นสมควร (ม.๒๕๗ ว.๑)
้
่
๒.๒) การแจ้งคาสั่ ง
๑. ค าขอตามมาตรา ๒๕๔ (๑) ให้
ศาลแจ้งคาสั่ งให้จาเลยทราบโดยไมชั
่ กช้า (ม.๒๕๘
ว.๑)
๒. ค าขอตามมาตรา ๒๕๔ (๒) ให้
ศาลแจ้งคาสั่ งให้จาเลยทราบ (ม.๒๕๗ ว.๒)
๓. กรณีทศ
ี่ าลมีคาสั่ งห้ามชั่วคราวมิให้
จ า เ ล ย โ อ น
ข า ย
๗ พ.ย. ๕๘
12
กาหนดไว้ให้จดทะเบียนตามมาตรา ๒๕๔ (๒)
หรื อ ค าขอตามมาตรา ๒๕๔ (๓) ที่ เ กี่ ย วกับ
ทรัพยสิ์ นดังกลาว
หรือทีเ่ กีย
่ วกับการกระทาทีถ
่ ูก
่
ฟ้ องร้ อง ให้ ศาลแจ้ งค าสั่ งนั้ น ให้ นายทะเบีย น
พนั ก งานเจ้ าหน้ าที่ หรื อ บุ ค คลอื่ น ผู้ มี อ านาจ
หน้าทีต
่ ามกฎหมายทราบ และให้บุคคลดังกลาว
่
บันทึกคาสั่ งของศาลไว้ในทะเบียน และต้องแจ้ง
ให้ จ าเลยทราบด้วย (ม.๒๕๗ ว.๒ ประกอบด้ วย ม.
๒๕๗ ว.๔)
๒.๓) การกาหนดวิธก
ี ารโฆษณา
กรณี ศ าลมี ค าสั่ งห้ ามชั่ ว คราวมิ ใ ห้
จ า เ ล ย โ อ น ข า ย ยั ก ย้ า ย ห รื อ จ า ห น่ า ย ซึ่ ง
๗ พ.ย. ๕๘
13
๒.๔) การวางเงินหรือหาประกันเพือ
่ ประกัน
ประกันความเสี ยหาย (ม.๒๕๗ ว.ทาย)
้
ก่ อนที่ ศ าลจะออกหมายยึ ด หมาย
อายัด หมายห้ามชั่วคราว หมายจับ หรือคาสั่ ง
ใดๆ ศาลจะสั่ งให้ผู้ขอนาเงินหรือหาประกันตาม
จานวนทีเ่ ห็ นสมควรมาวางศาล เพือ
่ การชาระคา่
สิ นไหมทดแทนซึ่ ง จ าเลยอาจได้ รับ ตามมาตรา
๒๖๓ ก็ได้
ข้อพิจารณา
๑. จ าเลยอุ ท ธรณ ์หรือ ฎีก าค าสั่ งศาล
เกีย
่ วกับ จานวนเงิน ทีศ
่ าลเห็ นสมควรให้ โจทก มา
์
วางศาล เพื่ อ การช าระค่ าสิ นไหมทดแทนซึ่ ง
จ าเลยอาจได้รับ ตามมาตรา ๒๖๓ นี้ ไ ด้ว่า ที่
๗ พ.ย. ๕๘
14
ฎี ก า ที่ ๗ ๐ ๔ / ๒ ๕ ๔ ๕
โ จ ท ก ์ ฟ้ อ ง อ้ า ง
วา่ จาเลยที่ ๑ ถึงที่ ๒๐ และ จ. ตัวแทนเชิดของจาเลย
ที่ ๑ ถึง ที่ ๒๐ ได้ ตกลงซื้ อ ขายที่ด ิน พร้ อมสิ่ งปลู ก สร้ าง
ร ว ม ๒ ๗ ๒ โ ฉ น ด เ นื้ อ ที่ ๔ ๙ ไ ร่ ใ ห้ แ ก่ โ จ ท ก ์ ใ น
ราคา ๙๐ ล้ า นบาท โจทก ช
ิ และสิ่ งปลู ก
์ าระเงิน ค่าที่ด น
ส ร้ า ง บ า ง ส่ ว น แ ล ะ เ ข้ า ค ร อ บ ค ร อ ง เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง
ทรัพยสิ์ น ตอมาจ
าเลยที่ ๑ ถึงที่ ๒๐ สมรู้รวมคิ
ดกับจาเลย
่
่
ที่ ๒๑ แสดงเจตนาลวงบุคคลภายนอกทานิตก
ิ รรมซือ
้ ขาย
แ ล ะ จ ด ท ะ เ บี ย น โ อ น ก ร ร ม สิ ท ธิ ์ท ี่ ด ิ น ทั้ ง ห ม ด ไ ป เ ป็ น
กรรมสิ ทธิข
์ องจาเลยที่ ๒๑ จึงเห็ นได้ว่าตามค าฟ้องของ
โจทก ์ หากจ าเลยที่ ๒๑ โอนที่ด ิน พิพ าททั้ง หมดให้ แก่
บุ ค คลอื่น ในระหว่างพิจ ารณาย่อมจะท าให้ โจทก ได
์ ้ รับ
ความเสี ยหาย เพราะแม้ โจทก ชนะคดี
ก็ ไ ม่อาจโอนทีด
่ น
ิ
์
พิพ าทกลับ มาเป็ นของโจทก ได
์ ้ กรณี นับ ว่ามีเ หตุ จ าเป็ น
๗
พ.ย. ๕๘
และสมควรเพี
ย งพอที่ โ จทก ์จะขอให้ ศาลมี ค าสั่ งตาม15
จึงไมเหมาะสม
เพราะจาเลยที่ ๒๑ ก็ตอสู
ไม
่
่ ้ คดีวาโจทก
่
่
์ มี
อ านาจฟ้ อง ไม่มีสิ ทธิใ ดๆ ในที่ด น
ิ พิพ าทและฟ้ องโจทก ์
เป็ นเท็ จ ซึ่ ง หากทางพิจ ารณาได้ ความในภายหลัง ว่ า
โจทกน
่ มูลแล้ว เงินจานวนดังกลาว
่
์ าคดีมาสู่ศาลโดยไมมี
ย่อมไม่อาจชดเชยความเสี ยหายทีเ่ กิด ขึ้น แก่คู่ความอีก
ฝ่ ายหนึ่ งได้ จึ ง เห็ นสมควรให้ โจทก ์ วางเงิ น ประกั น
จานวน ๒๐ ล้านบาท
๒. ศาลไม่สั่ งให้ โจทก น
์ าเงิ น หรือ หา
ประกันตามจานวนทีเ่ ห็ นสมควรมาวางศาล เพื่อ
การชาระ ค่ าสิน ไหมทดแทน ซึ่ง จาเลยอาจได้รับ
ตามมาตรา ๒๖๓ นี้ ได้
๗ พ.ย. ๕๘
ฎีกาที่ ๖๔๒๔/๒๕๕๐ โจทกฟ์ ้ องขอให้บังคับ
16
การกระท าซ้ า หรื อ กระท าต่ อไป ซึ่ ง การละเมิ ด ที่ ถู ก
ฟ้องร้อง อาจกอให
ได
่
้ เกิดความเสี ยหายแกโจทก
่
์ ้ หาก
ศาลพิพ ากษาให้ โจทก เป็
์ นฝ่ ายชนะคดี กรณี จึ ง มีเ หตุ
สมควรและเพี ย งพอที่ จ ะน าวิ ธ ี คุ้ มครองชั่ ว คราวก่ อน
พิพากษาตามมาตรา ๒๕๔ (๒) มาใช้โดยห้ามชั่วคราว
มิให้จาเลยและบริวารดาเนินการก่อสร้างอาคารในทีด
่ น
ิ
พิพาทจนกวาจะถึ
งทีส
่ ุดได้
่
ตามคาขอของโจทกมี
์ เหตุสมควรและ
เพีย งพอทีจ
่ ะน าวิธค
ี ุ้ มครองชั่ว คราวก่อนพิพ ากษามาใช้
หากจาเลยได้รับความเสี ยหายจาเลยก็มส
ี ิ ทธิทจ
ี่ ะวากล
าว
่
่
เอาแกโจทก
ได
่ โจทก์เป็ นผู้มี ชื่อ
่
์ ้ตามมาตรา ๒๖๓ เมือ
ถือกรรมสิทธ์ ิ ในโฉนดทีด่ นิ ย่อมได้รับประโยชน์จากข้อ
สั
นนิ ษ ฐานว่ าเป็ นผู้ มี สิ ทธิ ค รอบครองตาม
๗ พ.ย. ๕๘
ป.พ.พ.17
๓) ผลของคาสั่ งศาลทีอ
่ นุ ญาตตามคารอง
้
๒๕๘ และ ม.๒๕๘ ทวิ)
(ม.
๓.๑) คาขอให้ยึดหรืออายัดทรัพยสิ์ นไว้กอน
่
พิพากษา
ให้บังคับจาเลยไดทั
้ นที
ผลของการฝ่าฝื นคาสั่ ง
พากษา
๑. กรณียด
ึ ทรัพยสิ์ นไว้กอนพิ
่
จ าเลยก่ อให้ เกิ ด โอน หรื อ
เปลีย
่ นแปลงซึง่ สิ ทธิในทรัพยสิ์ นทีถ
่ ก
ู ยึดภายหลังที่
ได้ทาการยึดไว้แล้วนั้น หาอาจใช้ยันแก่เจ้าหนี้
ตามค าพิพ ากษาหรือเจ้ าพนัก งานบัง คับ คดีได้ไม่
ถึงแม้ราคาแห่งทรัพยสิ์ นนั้นจะเกินกวาจ
่ านวนหนี้
ตามค าพิพ ากษาและค่ าฤชาธรรมเนี ย มในการ
๗ พ.ย. ๕๘
18
พิพากษา
๒ . ก ร ณี อ า ยั ด ท รั พ ย ์ สิ น ไ ว้ ก่ อ น
จ าเลยก่ อให้ เกิ ด โอน หรื อ
เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ซึ่ ง สิ ท ธิ เ รี ย ก ร้ อ ง ที่ ไ ด้ ถู ก อ า ยั ด
ภายหลังทีไ
่ ด้ทาการอายัดไว้แล้วนั้น หาอาจใช้
ยัน แก่เจ้ าหนี้ ต ามค าพิพ ากษาหรือ เจ้ าพนั ก งาน
บังคับคดีได้ไม่ ถึงแม้ราคาแห่งสิ ทธิเรียกร้องนั้น
จะเกินกวาจ
่ านวนหนี้ตามคาพิพากษาและคาฤชา
่
ธรรมเนียมในการฟ้องร้องและการบังคับคดี และ
จาเลยไดจ
้ าหน่ายสิ ทธิเรียกร้องนั้นเพียงส่วนทีเ่ กิน
จานวนนั้นก็ ต าม (ม.๒๕๙ ประกอบ ม.๓๑๔ (๑)) (ฎ.
๑๑๓๒/๒๕๑๕)
๗ พ.ย. ๕๘
19
ข้อพิจารณา
๑. หากมีก ารยึด หรือ อายัด ทรัพ ย สิ
์ น
ของจาเลยไว้กอนพิ
พากษาแล้ว โจทกในคดี
อน
ื่
่
์
ของจ าเลยคนเดี ย วกัน จะขอให้ ยึ ด หรื อ อายัด
ทรัพยสิ์ นของจาเลยไว้กอนพิ
พากษาในทรัพยสิ์ น
่
เดียวกันนั้นอีกไมได
่ ้ตามมาตรา ๒๕๙ ประกอบ
มาตรา ๒๙๐
๒. หากมีก ารยึด หรือ อายัด ทรัพ ย สิ
์ น
ของจ าเลยไว้ ก่อนพิพ ากษาแล้ ว เจ้ าหนี้ ต ามค า
พิพากษาของจาเลยคนเดียวกันในคดีอน
ื่ จะขอให้
ยึ ด หรื อ อายัด ทรัพ ย ์สิ นของจ าเลยในทรัพ ย ์สิ น
เดียวกันนั้นได้ แต่จะมายืน
่ คาร้องต่อศาลทีอ
่ อก
๗ พ.ย. ๕๘
20
๓.๒) คาขอให้ห้ามจาเลยกระทาการจนกวา่
คดีจะถึงทีส
่ ุด
ให้ บั ง คั บ จ า เล ย ได้ ทั น ที ถึ ง แม้ ว่ า
จ า เ ล ย ยั ง มิ ไ ด้ รั บ แ จ้ ง ค า สั่ ง เ ว้ น แ ต่ ศ า ล
พิเคราะหพฤติ
การณแห
์
์ ่งคดีแล้ว เห็ นสมควรให้
คาสั่ งมีผลบังคับเมือ
่ จาเลยได้รับแจ้งคาสั่ ง (ม.๒๕๘
ว.๒)
ผลของการฝ่าฝื นคาสั่ ง
๑. กรณี ม ี ค าสั่ งห้ ามมิใ ห้ จ าเลยโอน
ขาย ยัก ย้ าย หรือ จ าหน่ ายทรัพ ย สิ
์ นที่พ ิพ าท
หรือทรัพยสิ์ นของจาเลย หาอาจใช้ยันแก่โจทก ์
หรือ เจ้ าพนัก งานบัง คับ คดีไ ด้ไม่ ถึง แม้ ว่าราคา
แห่งทรัพยสิ์ นนั้นจะเกินกวาจ
่ านวนหนี้และคาฤชา
่
ธรรมเนียมในการฟองรองและการบังคับคดี และ
๗ พ.ย. ๕๘
21
๒. กรณี อ ื่ น นอกจากข้ อ ๑. โจทก ์
ขอให้จับและกักขังจาเลยเพือ
่ ให้ปฏิบต
ั ต
ิ ามคาสั่ ง
ของศาลได้ (ม.๒๕๙ ประกอบ ม.๒๙๗ ดู ฎ.๒๐๗/
๒๕๐๕)
ข้ อพิจ ารณา มาตรา ๒๕๘ วรรค
๒ ไม่ มี บ ทคุ้ มครองบุ ค คลภายนอกผู้ สุ จ ริ ต ไว้
ดังเช่นมาตรา ๒๕๘ วรรค ๑
๓.๓) ค าขอให้ ระงับ การเปลี่ย นแปลงทาง
ทะเบียนจนกวาคดี
จะถึงทีส
่ ุดทีเ่ กีย
่ วกับทรัพยสิ์ นที่
่
พิพาทหรือทรัพยสิ์ นของจาเลย
ให้ มี ผ ลใช้ บัง คับ ได้ ทัน ที ถึ ง แม้ ว่ า
บุคคลตามทีร่ ะบุไว้จะยังมิได้รับแจ้งคาสั่ ง เว้นแต่
๗ พ.ย. ๕๘
22
ผลของการฝ่าฝื นคาสั่ ง
หาอาจใช้ยันแกโจทก
หรื
่
์ อเจ้าพนักงาน
บั
ง
คั
บ
ค
ดี
ไ
ด้
ไ
ม่
เว้ นแต่ ผู้ รับ โอนจะพิสู จ น์ ได้ ว่าได้ รับ โอนโดย
สุจริตและเสี ยคาตอบแทนก
อนที
บ
่ ุคคลดังกลาวจะ
่
่
่
ไดรั
้ บแจ้งคาสั่ ง (ม.๒๕๘ ทวิ ว.๒)
ฎีก าที่ ๓๐๔๓/๒๕๕๒ พนั ก งานอัย การ
เป็ นโจทก ์ฟ้ องจ าเลยซึ่ ง เป็ นบิด าของ ว. ขอให้ โอน
กรรมสิ ทธิท
์ ี่ด น
ิ แก่ ว. การที่ผู้ คัด ค้ านรับ โอนที่ด น
ิ จาก
จ าเลยภาย หลั ง ที่ เ จ้ า พนั ก งา นที่ ด ิ น ได้ รั บ แจ้ งค าสั่ ง
คุ้มครองชัว
่ คราวกอนพิ
พากษา โดยห้ามโอน ขาย ยัก
่
ย้ าย หรือ จ าหน่ ายที่ด ิน แล้ ว ผู้ คัด ค้ านจึ ง ไม่ อาจอ้ าง
๗
๕๘
เรืพ.ย.
อ
่ งการรั
บโอนโดยสุจริตและเสี ยคาตอบแทนใช
่
้ ยัน ว.23
๓.๔) ค าขอให้ ระงับ การเปลี่ย นแปลงทาง
ทะเบียนจนกวาคดี
จะถึงทีส
่ ุดทีเ่ กีย
่ วกับการกระทา
่
ทีถ
่ ูกฟ้องร้อง
ให้มีผลใช้บังคับแกบุ
่ คคลตามทีร่ ะบุไว้
ตอเมื
่ บุคคลดังกลาวได
รั
่ อ
่
้ บแจ้งคาสั่ ง (ม.๒๕๘ ว.๔)
ผลของการฝ่าฝื นคาสั่ ง
ยัง ไม่ มี ผ ลใช้ บัง คับ ตามกฎหมายใน
ระหว่างใช้วิธก
ี ารชั่วคราวกอนพิ
พากษา (ม.๒๕๘
่
ทวิ ว.ทาย)
้
๓.๕) หมายจับจาเลย
ให้บังคับไดทั
้ ว่ ราชอาณาจักร แตห
่ ้าม
มิให้ กักขังเกิน ๖ เดือน นับแต่วันจับ (ม.๒๕๘
๗ พ.ย. ๕๘
24
๔) การสิ้ นผลของคาสั่ งศาลทีอ
่ นุ ญาตตามคารอง
้
๔.๑) คาพิพากษาหรือคาสั่ งชี้ขาดตัดสิ นคดี
ไดกล
งวิธก
ี ารชัว
่ คราวกอนพิ
พากษาไว้
้ าวถึ
่
่
เ ป็ น ไ ป ต า ม ที่ ศ า ล มี ค า สั่ ง ไ ว้ ใ น ค า
พิพากษาหรือคาสั่ ง
๔.๒) คาพิพากษาหรือคาสั่ งชีข
้ าดตัดสิ นคดี
มิไดกล
งวิธก
ี ารชัว
่ คราวกอนพิ
พากษาไว้
้ าวถึ
่
่
๑. ศาลตัดสิ นให้จาเลยเป็ นฝ่ายชนะคดี
เต็มตามขอหาหรื
อบางส่วน (ม.๒๖๐ (๑))
้
ค าสั่ งของศาลเกี่ ย วกับ วิ ธ ี ก าร
ชั่วคราวในส่วนทีจ
่ าเลยชนะคดีน้น
ั ให้ถือวาเป็
่ น
อัน ยกเลิก เมื่อ พ้ นก าหนด ๗ วัน นับ แต่วัน ที่
ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่ ง
๗ พ.ย. ๕๘
25
ทางแก้ของโจทก ์
(๑) โจทกต
่ คาขอฝ่ายเดียว
์ ้องยืน
ต่อศาลชั้นต้นภายในก าหนดเวลา ๗ วัน นับ
แตวั
่ าลมีคาพิพากษาหรือคาสั่ ง
่ นทีศ
(๒) คาขอของโจทกต
์ ้องแสดงวา่
ตนประสงคจะยื
น
่ อุทธรณหรื
์
์ อฎีกาคาพิพากษาหรือ
คาสั่ งนั้น และมีเหตุอน
ั สมควรทีศ
่ าลจะมีคาสั่ งให้
วิธก
ี ารชัว
่ คราวเช่นวานั
่ ้นยังคงมีผลใช้บังคับตอไป
่
๗ พ.ย. ๕๘
26
โจทก ์
ค าสั่ งของศาลกรณี ค าขอของ
(๑) ศาลชั้น ต้ นมีค าสั่ งให้ ยกค า
ขอของโจทก ์ คาสั่ งของศาลดังกลาวให
่ ุด
่
้เป็ นทีส
(๒) ศาลชั้นต้นมีคาสั่ งให้วิธก
ี าร
ชั่วคราวยังคงมีผลใช้บังคับตอไป
คาสั่ งของศาล
่
ชัน
้ ตนให
า่
้
้มีผลใช้บังคับตอไปจนกว
่
( ๒ . ๑ ) ค ร บ ก า ห น ด ยื่ น
อุทธรณหรื
์ อฎีกา
(๒.๒) ศาลมีค าสั่ งถึง ที่สุ ด
ไมรั
กรณี
่ บอุทธรณหรื
์ อฎีกา แลวแต
้
่
(๒.๓) หากมีก ารอุ ท ธรณ ์
หรือ ฎีก าแล้ ว ค าสั่ งของศาลชั้น ต้ นให้ มีผ ลใช้
บัง คับต่อไปจนกว่าศาลอุทธรณหรื
์ อศาลฎีกาจะมี
็
๗ พ.ย. ๕๘
27
๒. ศาลตัดสิ นให้โจทกเป็
์ นฝ่ายชนะคดี
(ม.๒๖๐ (๒))
ค าสั่ งของศาลเกี่ ย วกับ วิ ธ ี ก าร
ชั่ว คราวยัง คงมี ผ ลใช้ บัง คับ ต่ อไปเท่ าที่ จ าเป็ น
เพือ
่ ปฏิบต
ั ต
ิ ามคาพิพากษาหรือคาสั่ งของศาล (ม.
๒๖๐ (๒))
ในปี
ตาม
ฎ.๙๘๔๖/๒๕๔๔ ออกข้ อสอบเนติฯ
๒๕๔๓ แล้ ว ฎ.๑๐๖๙๓/๒๕๕๑ วินิ จ ฉั ย เดิน
ฎ.๙๒๗๐/๒๕๔๗ ออกข้อสอบเนติฯ
ในปี ๒๕๕๐ แลว
้
๗ พ.ย. ๕๘
28
ข้อพิจารณา
๑. การที่ ศ าลชั้น ต้ นอนุ ญาตให้ ผู้ ค้ า
ประกันซึ่งรับผิดอยางลู
กหนี้รวมน
าหนังสื อรับรอง
่
่
การทาประโยชนมาเป็
นหลักประกันแทนทีด
่ น
ิ ของ
์
จาเลยที่ศาลมีคาสั่ งห้ ามกระท านิต ก
ิ รรมชั่ว คราว
ในระหวางพิ
จารณา หากศาลชัน
้ ต้นพิพากษาให้
่
จาเลยชนะคดีโดยไมกล
งวิธก
ี ารชั่วคราวกอน
่ าวถึ
่
่
พิพ ากษา และโจทก ไม
์ ่ยื่น ค าขอต่อศาลชั้น ต้ น
ภายในก าหนด ๗ วัน นั บ แต่ วัน ที่ ศ าลมีค า
พิ พ า ก ษ า แ ส ด ง ว่ า ป ร ะ ส ง ค ์ จ ะ ยื่ น อุ ท ธ ร ณ ์ ค า
พิพ ากษาและมีเ หตุ ส มควรที่ศ าลจะมีค าสั่ งให้ ใช้
วิธก
ี ารชั่วคราวเช่นนั้นมีผลใช้บังคับตอไป
ผู้คา้
่
๗ พ.ย. ๕๘
29
ฎี ก าที่ ๓๕๐๔ / ๒๕๔๑ ค าสั่ งศาลชั้น ต้ นที่
อ นุ ญ า ต ใ ห้ ผู้ ค้ า ป ร ะ กั น
ทั้ง สามน า น.ส.๓ มาเป็ นหลัก ประกัน แทนที่ ดิ น ของ
จาเลย หลัง จากทีศ
่ าลมีค าสั่ งห้ามจ าเลยกระทานิ ตก
ิ รรม
ชั่วคราวในระหวางพิ
จารณาตามมาตรา ๒๖๕ มาตรา
่
๒๕๙ ประกอบมาตรา ๒๗๔ นั้นเป็ นคาสังที
่ ่ กาหนดใช้
วิธีการชัวคราวก่
่
อนศาลชัน้ ต้นพิพากษาวิธกี ารหนึ่ง เมือ่
ศาลชั้น ต้ นพิพ ากษา ให้ จ าเลยชนะคดี โดยมิ ได้ ก ล่ า วถึง
วิธีการชัวคราวก่
่
อนพิพากษา และโจทกมิ์ ไดยื้ น่ คาขอตอ่
ศาลชั้ น ต้ นภายในก าหนด ๗ วัน นั บ แต่ วัน ที่ ศ าลมี ค า
พิ พ า ก ษ า แสดงว่ า โจ ทก ์ ประสงค์ จ ะยื่ น อุ ท ธรณ์ ค า
พิพ ากษา และมี เ หตุสมควรที่ ศ าลจะมี ค าสังให้
่ วิ ธี การ
ชัว่ คราวเช่ น ว่ า นั ้น มี ผ ลบัง คับ ต่ อ ไป ค าสั่ งของศาล
๗ พ.ย. ๕๘
30
๒. หากไม่ ใช่ ค าสั่ งเกี่ ย วกับ วิ ธ ี ก าร
ชั่ว คราวก่อนพิพ ากษา จะไม่มีผ ลยกเลิก ไปเมื่อ
ศาลชั้ น ต้ นพิ พ ากษาให้ โจทก ์ แพ้ คดี โ ดยมิ ไ ด้
กล่าวถึงวิธีการชัวคราวก่
่
อนพิพากษา
ฎี ก าที่ ๖๖๑๙ / ๒๕๔๕
โจทก ์ทั้ง สองและ
จาเลยตกลงกันให้ศาลชัน
้ ต้นถอนคาสั่ งอันเกีย
่ วกับวิธก
ี าร
ชั่ ว ค ร า ว ก่ อ น พิ พ า ก ษ า โ ด ย จ า เ ล ย เ ส น อ ห นั ง สื อ
คา้ ประกันของธนาคารซึ่งเป็ นบุคคลภายนอกยอมผูกพัน
เ พื่ อ ก า ร ช า ร ะ ห นี้ ต า ม
คาพิพากษา โดยเงือ่ นไขวาหากคดี
ถงึ ทีส
่ ุดแลวจ
่
้ าเลยเป็ น
เป็ นฝ่ ายแพ้ คดี ธนาคารจึ ง ต้ องผู ก พัน ตามข้ อความใน
หนังสื อคา้ ประกันดังกลาวตามมาตรา
๒๗๔ กรณี ไม่อาจ
่
ถือว่าการเข้าคา้ ประกันของธนาคารตอศาลเพื
อ
่ ชาระหนี้
่
ตามค
่ ของศาลชัน้ ต้ น เกี่ ย วกับ31
๗
พ.ย. ๕๘ าพิ พ ากษา เป็ นค าสั ง
๔.๓) มีก ารบัง คับ คดีเ กี่ย วกับ ทรัพ ย สิ์ น ของ
จ าเลยที่ถู ก โจทก ยึ
์ ด หรือ อายัด ไว้ ก่อนพิพ ากษา
โดยเจ้าหนี้ตามคาพิพากษาในคดีอน
ื่ แลว
้
ฎีก าที่ ๙๕๒/๒๕๔๑ แม้ ศาลชั้น ต้ นจะมี
คาสั่ งอายัดเงิน ของจ าเลยไว้ ชั่ว คราวก่อนมีค าพิพากษา
ตามคารองของโจทก
่งเป็ นเจ้าหนี้ตามคาพิพากษา
้
้
์ ผู้รองซึ
ของจ าเลยในคดีอ ื่น ก็ ม ีสิ ทธิท ี่จ ะขออายัด ทรัพ ย นั
์ ้ น เพื่อ
บัง คับ คดีต ามค าพิพ ากษาในคดีข องตน เพราะกรณี ไ ม่
ต้องดวยข
้
้อห้ามมิให้อายัดทรัพยซ
์ า้ ตามมาตรา ๒๙๐ และ
เมื่อ บุ ค คลภายนอกผู้ ครอบครองเงิน ของจ าเลยได้จัด ส่ ง
เงิน ดัง กล่ าวซึ่ ง ศาลชั้น ต้ นมีค าสั่ งให้ อายัด ไว้ ชั่ว คราว
มาแลว
่ ผู้รองซึ
ง่ เป็ นเจ้าหนี้ตามคาพิพากษาในคดีอน
ื่
้ เมือ
้
ได
้ขอบังคับคดีและเจ้าพนักงานบังคับคดีได้บังคับคดีโดย32
๗ พ.ย. ๕๘
มีหนังสื อขออายัดเงินจานวนดังกลาวแลว การอายัดเงิน
บทคุ้มครองจาเลย
๑) วิธก
ี ารทีศ
่ าลกาหนดไว้ไมมี
่ เหตุเพียงพอหรือ
มีเหตุอน
ั สมควรประการอืน
่
๒) ข้ อเท็ จ จริง หรือ พฤติก ารณ ์ที่ศ าลอาศั ย เป็ น
หลักในการมีคาสั่ งอนุ ญาตเปลีย
่ นแปลงไป
๓) ขอให้โจทกใช
์ ้ ค่าสิ นไหมทดแทนแก่จาเลย
(ออกขอสอบเนติ
ฯ สมัยที่ 66 แลว)
้
้
๗ พ.ย. ๕๘
33
๑) วิธก
ี ารทีศ
่ าลกาหนดไว้ไมมี
่ เหตุเพียงพอหรือ
มีเหตุอน
ั สมควรประการอืน
่ (ม.๒๖๑)
๑.๑) หลักเกณฑ ์
๑. จ าเลยซึ่ ง ได้ รับ หมายยึ ด หมาย
อายัด หรือ ค าสั่ งตามมาตรา ๒๕๔ (๑) (๒)
หรือ (๓) หรือ จะต้ องเสี ยหายเพราะหมายยึ ด
หมายอายัด หรือ ค าสั่ งดัง กล่าว ขอต่อศาลให้
ถ อ น ห ม า ย เ พิ ก ถ อ น ค า สั่ ง ห รื อ แ ก้ ไ ข
เปลีย
่ นแปลงคาสั่ ง หมายยึด หรือหมายอายัดซึ่ง
ออกตามค าสั่ งดัง กล่าว (ขอให้ เพิก ถอนหรือ แก้ ไข
เปลีย
่ นแปลง)
๒. จ าเลยซึ่ ง ถู ก ศาลออกค าสั่ งจับ กุ ม
ตามมาตรา ๒๕๔ (๔) ขอต่อศาลให้ เพิก ถอน
คาสั่ ง ถอนหมาย หรือ ให้ ปล่อยตัว ไปโดยไม่มี
เ งื่ อ น ไ ข ห รื อ ใ ห้ ป ล่ อ ย ตั ว ไ ป ชั่ ว ค ร า ว โ ด ย มี
07/11/58
34
๑.๒) ลักษณะของคาขอ
๑. อยูภายใต
บั
่
้ งคับมาตรา ๒๑ (๒)
๒. คาขอต้องระบุวา่ คาสั่ งของศาลที่
ให้ ใช้ วิธ ีก ารชั่ว คราวก่อนพิพ ากษานั้น ไม่มีเ หตุ
เพีย งพอหรือ ไม่มีเ หตุ ส มควร และต้ องระบุ ว่ามี
เหตุ ท ี่จ ะขอให้ เพิก ถอนหรือ แก้ ไขเปลี่ย นแปลง
คาสั่ งดวย
้
ข้อพิจารณา
๑. หากคาร้ องของจ าเลยระบุ ว่า ฟ้ องของ
โจทก ไม
์ ่มีมู ล ที่จ ะชนะคดี หรือ โจทก มี
์ เ จตนาทุ จ ริต ใน
การร้ องขอให้ ศาลมีค าสั่ งยึด ที่ด น
ิ และสิ่ งปลู ก สร้ างของ
จ
าเลย เป็ นการคัดค้านว่าพยานหลักฐานทีโ่ จทกน
์ าสื บ35
07/11/58
๒ . ค า สั่ ง เ กี่ ย ว กั บ วิ ธ ี ก า ร ชั่ ว ค ร า ว ก่ อ น
พิพ ากษาตามมาตรา ๒๕๔ คงมีผ ลบัง คับ เฉพาะกับ
จาเลยทีศ
่ าลมีค าสั่ งเทานั
่ ในคดีทม
ี่ ี
่ ้ น ดังนั้น จาเลยอืน
จาเลยหลายคนจึง ไม่มีสิ ทธิยน
ื่ ค าร้ องตามมาตรา ๒๖๑
นี้ (เทียบเคียงกับ ฎ.๖๙๒/๒๕๔๔)
๓. จ าเลยซึ่ ง ได้ รั บ หมายหรื อ ค าสั่ งตาม
มาตรา ๒๕๔ หากประสงคจะขอให
้ ศาลถอนหมายหรือ
์
ค าสั่ งชอบที่ จ ะยื่ น ค าขอในคดี เ ดิม ตามมาตรา ๒๖๑
วรรค ๑ เท่านั้ น ไม่ อาจฟ้ องขอให้ หมายหรือ ค าสั่ ง
ดัง กล่ าวไม่ มี ผ ลบัง คับ เป็ นคดีใ หม่ ได้ (เที ย บเคี ย ง ฎ.
๒๖๒๔/๒๕๔๓)
๗ พ.ย. ๕๘
36
๑.๓) ศาลทีจ
่ ะยืน
่ คาขอและศาลทีม
่ อ
ี านาจ
พิจารณาสั่ ง
๑. ศาลชั้น ต้ น ศาลอุ ท ธรณ ์หรือ ศาล
ฎีก าที่ม ีค าสั่ งอนุ ญ าตให้ ใช้ วิธ ีก ารชั่ว คราวก่อน
พิ พ า ก ษ า แ ล ะ ศ า ล นั้ น ๆ มี อ า น า จ ใ น ก า ร
พิจารณาสั่ ง
๒ . ก ร ณี ที่ ม ี ก า ร อุ ท ธ ร ณ ์ ห รื อ ฎี ก า
คัด ค้ านค าพิพ ากษาหรื อ ค าสั่ งชี้ ข าดตัด สิ นคดี
แ ล ะ ไ ด้ ยื่ น ค า ข อ ใ ห้ เ พิ ก ถ อ น ห รื อ แ ก้ ไ ข
เปลีย
่ นแปลงคาสั่ งในวิธก
ี ารชัว
่ คราวกอนพิ
พากษา
่
ศ า ล อุ ท ธ ร ณ ์ ห รื อ ศ า ล ฎี ก า
แล้วแตกรณี
และให้ศาลดังกลาวมี
อานาจในการ
่
่
07/11/58
37
๑.๔) การพิจารณาของศาล (ม.๒๖๑ ว.๓)
๑. ถ้าศาลเห็ นวาวิ
ี ารทีก
่ าหนดไว้ไม่
่ ธก
มีเหตุเพียงพอ ศาลจะมีคาสั่ งเพิกถอนวิธก
ี ารทีส
่ ่ั ง
ไวแล
้ วนั
้ ้นเสี ยได้
๒. ถ้ าศาลเห็ น ว่าวิธ ีก ารที่ก าหนดไว้ มี
เหตุอน
ั สมควรประการอืน
่
ศาลจะมีคาสั่ งอืน
่ ใดที่
จะแก้ ไขเปลี่ ย นแปลงค าสั่ งให้ เหมาะสมตามที่
ิ รรมก็ได้
เห็ นสมควรเพือ
่ ประโยชนแห
์ ่งความยุตธ
๓ . ศ า ล มี อ า น า จ ก า ห น ด ใ ห้ จ า เ ล ย
ว า ง เ งิ น ต่ อ ศ า ล ห รื อ
หาประกันมาให้ตามจานวนและภายในระยะเวลาที่
เห็ น สมควร หรือ จะก าหนดเงื่อ นไขใดๆ ตามที่
เห็ นสมควรก็ได้
ยกเว้น การฟ้องเรียกเงิน ห้าม
07/11/58
38
๒) ข้ อเท็ จ จริง หรือ พฤติก ารณ ์ที่ศ าลอาศั ย เป็ น
หลักในการมีคาสั่ งอนุ ญาตเปลีย
่ นแปลงไป (ม.๒๖๒)
๒.๑) หลักเกณฑ ์
๑. เมือ
่ ศาลเห็ นสมควร หรือ
๒. จาเลยตามทีบ
่ ญ
ั ญัตไิ ว้ใน ม. ๒๖๑
มี ค า ข อ ใ ห้ แ ก้ ไ ข ห รื อ ย ก เ ลิ ก วิ ธ ี ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง
ชัว
่ คราวของโจทก ์
๒.๒) ลักษณะของคาขอ
เช่นเดียวกับมาตรา ๒๖๑
07/11/58
39
๒.๓) ศาลที่จ ะยื่น ค าขอและศาลที่ม ีอ านาจ
พิจารณาสั่ ง
๑. ศาลชั้น ต้ น ศาลอุ ท ธรณ ์หรือ ศาล
ฎี ก า ที่ มี ค า สั่ ง อ นุ ญ า ต
ให้ใช้วิธก
ี ารชั่วคราวกอนพิ
พากษา ซึ่งศาลนั้นๆ
่
มีอานาจในการพิจารณาสั่ ง (ม.๒๖๒ ว.๑)
๒ . ก ร ณี ที่ ม ี ก า ร อุ ท ธ ร ณ ์ ห รื อ ฎี ก า
คัด ค้ านค าพิพ ากษาหรื อ ค าสั่ งชี้ ข าดตัด สิ นคดี
และได้ยื่น ค าขอให้ แก้ ไขหรือ ยกเลิก ค าสั่ งให้ ใช้
วิธก
ี ารชัว
่ คราวกอนพิ
พากษา (ม.๒๖๒ ว.๒)
่
๒ . ๑ ศ า ล ชั้ น ต้ น ยั ง ไ ม่ ไ ด้ ส่ ง
สานวนความไปยังศาลอุทธรณหรื
์ อศาลฎีกา
ให้ ยื่น ค าขอต่อศาลชั้น ต้ น
และให้ ศาลชั้น ต้ นเป็ นผู้ มีอ านาจที่จ ะสั่ งอนุ ญ าต
หรือยกคาขอนี้ได (ต้องจา)
07/11/58
40
๒.๒ ศาลชัน
้ ต้นส่งสานวนความ
ไปยังศาลอุทธรณหรื
์ อศาลฎีกาแลว
้
ให้ยืน
่ คาขอตอศาลอุ
ทธรณ ์
่
หรือ ศาลฎีก าแล้ วแต่กรณี แล้ วให้ ศาลอุ ท ธรณ์
หรือ ศาลฎีก า แล้วแต่กรณี เป็ นผู้ มีอ านาจทีจ
่ ะ
สั่ งอนุ ญาตหรือยกคาขอนี้ได้
๒.๔) การพิจารณาของศาล
ศาลจะมีคาสั่ งแก้ไขหรือยกเลิกวิธก
ี าร
ชัว
่ คราวกอนพิ
พากษานั้นเสี ยก็ได้
่
07/11/58
41
ข้อพิจารณา
๑. กรณี ค าสั่ งคุ้ มครองชั่ว คราวก่อน
พิพากษายังไมสิ่ ้ นผลบังคับ
กรณีจ าเลยยื่นค าร้ องขอให้ เพิก
ถอนค าสั่ งคุ้ มครองชั่ว คราวก่อนพิพ ากษา ศาล
ชั้ น ต้ น ย ก ค า ร้ อ ง ศ า ล อุ ท ธ ร ณ ์ พิ พ า ก ษ า ยื น
จ าเลยฎีก า ในระหว่ างพิจ ารณาของศาลฎีก า
ปรากฏว่าศาลชั้น ต้ นพิพ ากษาให้ โจทก ชนะคดี
์
คาสั่ งดัง กล่าวจึง มีผ ลใช้ บัง คับ ต่อไปเท่าทีจ
่ าเป็ น
เ
พื่
อ
ป
ฏิ
บั
ติ
ต
า
ม
ค าพิ พ ากษาหรื อ ค าสั่ งของศาลตาม มาตรา
๒๖๐ (๒) ค าสั่ งดัง กล่าวจึ ง มิใ ช่ ค าสั่ งคุ้ มครอง
ชั่ว คราวก่อนพิพ ากษาที่ศ าลจะมีค าสั่ งเพิก ถอน
หรื อ แก้ ไขเปลี่ ย นแปลงค าสั่ งหรื อ ยกเลิ ก ตาม
มาต ร า ๒๖๑ ม าต รา ๒ ๖๒ หรื อ มาต ร า
07/11/58
42
๒. กรณี ค าสั่ งคุ้ มครองชั่ว คราวก่อน
พิพากษาสิ้ นผลบังคับแลว
้
ไม่ มีค วามจ าเป็ นต้ องพิจ ารณา
เพิกถอนคาสั่ งคุ้มครองชั่วคราวกอนพิ
พากษาของ
่
ศาลชั้น ต้ นตามตามฎี ก าของจ าเลย (ฏ.๗๑๐๕/
๒๕๓๙)
๓. เป็ นดุลพินิจของศาล
ก า ร แ ก้ ไ ข เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ค า สั่ ง
วิธ ีก ารชั่ว คราวก่อนพิพ ากษา ศาลมีอ านาจใช้
ดุลพินิจทีจ
่ ะแก้ไขโดยกาหนดวิธก
ี ารชั่วคราวใหม่
ไดตามที
เ่ ห็ นสมควรเพือ
่ ประโยชนแก
้
์ คู
่ ความฝ
่
่ ายที่
จะชนะคดีต่อไป โดยไม่จาต้องรอให้ คู่ความยืน
่
คาร้องขอเข้ามาอีกหรือต้องทาการไตสวนใหม
่
่ (ฎ.
07/11/58
43
คาขอในเหตุฉุกเฉิน
๑) กรณี ที่จะยื่นคาขอ (ม.๒๖๖
ว.๑)
๑.๑) เป็ นกรณีตามมาตรา ๒๕๔ และ
มีเหตุฉุกเฉินเพือ่ ให้ ศาลมีคาสัง่ หรือ
ออกหมายตามทีโ่ จทกขอ
ั ช้า
์ โดยไม่ชก
ข้อพิจารณา
๑.๒)
๑. จ าเลยขอคุ้ มครองชั่ว คราวตามมาตรา
๒๕๓ ในเหตุฉุกเฉินไมได
่ ้
๒. คูความขอคุมครองประโยชนตามมาตรา
๗ พ.ย. ๕๘
44
๒) วิธียื่นคาขอและลักษณะของคาขอ
๒.๑) ต้องยื่นคาขอเป็ น ๒ ฉบับ
๑. คาขอตามมาตรา ๒๕๔
๒. คาขอแสดงให้ศาลเห็ นว่าคดีมเี หตุ
ฉุ ก เฉิ น และขอให้ ศาลสั่ งเป็ นกรณี ฉุ ก เฉิ น ด้ วย
(ฎ.๔๔๔/๒๔๙๐)
๒.๒) เป็ นคาขอฝ่ ายเดียวโดยเคร่งครัด
๗ พ.ย. ๕๘
45
๓) วิธีพิจารณาและชี้ขาดคาขอ (ม. ๒๖๖
๓.๑)
ว.๒)
ให้ ศาลพิจารณาคาขอเป็ นการด่ วน
(ม.๒๖๗ ว.๑)
๑. ศาลต้ องไต่ สวนโจทก ์เพี ย งฝ่ าย
เดี ย ว จะให้ จ าเลยน าพยานหลัก ฐานเข้ าสื บ
หักลางไม
ได
้
่ ้
๒. ศาลต้องพิจารณาจากคาแถลงของ
โจทก ์ หรือจากพยานหลักฐาน ทีโ่ จทกได
์ ้นามา
สื บ หรือที่ ศาลได้เรียกมาสืบเอง
07/11/58
๓.๒) เงื่อนไขที่ ศาลจะสังอนุ
่ ญาต
๑. คดีน้น
ั เป็ นคดีมเี หตุฉุกเฉิน โดยให้
46
๓.๓) คาสังอนุ
่ ญาต (ม.๒๖๙)
๑. ให้ ศ าล มี ค าสั ง่ ห รื อ ออกหมาย
ตาม ที่ ข อ ภายใน ขอบเขต และ เงื่ อ นไข ไปตามที่
เห็ นจาเป็ นทันที
(ม.๒๖๗ ว.๑)
ั ญัต ิไ ว้ ใน
๒. ให้ มีผ ลบัง คับ ตามที่บ ญ
มาตรา ๒๕๘ และ ๒๕๘ ทวิ
๓. ศาลจะสั่ งให้โจทกรอการบั
งคับคดี
์
ไวจนกว
า่
้
๓.๑ ศาลจะได้วินิจฉัยชีข
้ าดคา
ขอของจาเลยทีข
่ อให้ยกเลิกคาสัง่ หรือ
07/11/58
47
๓.๔) คาสังให้
่ ยกคาขอในเหตุฉุกเฉิน
๑. ศาลต้ องสั่ ง ยกค าร้ อ งขอฉุ ก เฉิ น
ต า ม ม า ต ร า
๒ ๖ ๖
แ ล ะ
ค าร้ อ งขอให้ ใ ช้ วิ ธี ก ารชัว่ คราวก่ อ นพิ พ ากษา
ตามมาตรา ๒๕๔ โดยไม่ต้องพิจารณาเนื้ อหา
ตามคาร้องขอให้ใช้วิธกี ารชัว่ คราวกอนพิ
พากษา
่
ตามมาตรา ๒๕๔ (ฎ.๗๑๔๐/๒๕๔๗)
๒. ให้ เป็ นที่ สุด ไมว
นคาสั่ งของ
่ าจะเป็
่
ศ า ล ชั้ น ต้ น ห รื อ ศ า ล อุ ท ธ ร ณ ์ ( ม . ๒ ๖ ๗ ว . ๑
ตอนทาย
ฎ.๔๐๗/๒๕๑๙ และ ฎ.๒๗๒๘/๒๕๒๖)
้
07/11/58
๓. ไม่ ตัด สิ ทธิโ จทก ์ที่ จ ะเสนอค าขอ
48
ข้อพิจารณา
๑. โจทกขอใช
ี ารชั่วคราวกอนพิ
พากษา
์
้วิธก
่
โดยอ้ างเหตุ ฉุ กเฉิ น แต่ ศาลด าเนิ น กระบวน
พิ จ ารณา แบบธรรมดา มิ ไ ด้ ด าเนิ น การตาม
มาตรา ๒๖๗ และมาตรา ๒๖๙ ถ้ า ศาลยก
ค าขอ ของโจทก ์ถื อ ว่ า เป็ นการยกค าขอเหตุ
ธรรมดา คาสั่ งดังกลาว
่ ไม่เป็ นที่ สุดตามมาตรา
๒๖๗ วรรค ๑ ตอนทาย
้ (เทียบนัย ฎ.๑๕๐๙/๒๕๑๔)
๒. ศาลมีค าสั่ ง อนุ ญ าต ตามค าขอฉุ กเฉิ น
เพีย ง บางส่ ว น สวน ที่ ศ าลไม่ อ นุ ญ าต นั้ น มีผ ล
07/11/58
49
๓.๕) จาเลยขอให้ยกเลิกคาสังหรื
่ อหมาย
ของศาล (ม.๒๖๗
ว.๒)
๑. จาเลยมีสิทธิยน
ื่ คาขอโดยพลัน ให้
ศาลยกเลิกคาสั่ งหรือหมายตามคาขอของโจทกใน
์
เหตุฉุกเฉินได้
๒. จ าเลยอาจท าเป็ นค าขอฝ่ ายเดี ย ว
โดยไดรั
้ บอนุ ญาตจากศาล (ฎ.๖๑/๒๕๒๕)
๓. ให้ น าบทบัญ ญัต แ
ิ ห่ งวรรคหนึ่ งมา
ใช้บังคับโดยอนุ โลม กลาวคื
อ
่
๓.๑ ศาลต้ องพิจ ารณาค าขอ
เป็ นการดวน
่
07/11/58
50
๔. ศาลมีคาสั่ งยกเลิกคาสังเด
่ ิ มตามคา
ขอ คาสั่ งเช่นวานี
่ ้ให้ เป็ นที่ สุด โจทกอุ
์ ทธรณฎี
์ กา
ไม่ได้
(คร.๗๑๔/๒๕๑๔, ฎ.๔๐๗/๒๕๑๙, ฎ.๑๑๑๒-๑๑๑๕/
๒๕๓๖ และ ฎ.๔๓๔๓/๒๕๓๖)
ฎี กาที่ ๒๘๖๖ /๒๕๕๐ ศาลชั้นต้นสั่ ง
ห้ามชั่ว คราวฉุ ก เฉิ น จ าเลยร้ องขอให้ ยกเลิก โดยพลัน
ตามมาตรา ๒๖๗ วรรค ๒ ศาลชั้น ต้ นยกค าร้ อง
จาเลยอุทธรณ์ ได้ ศาลอุทธรณพิ
์ พากษากลับให้เพิกถอน
คาสั่ งห้ามชั่วคราวทีศ
่ าลชัน
้ ต้นอนุ ญาตไปโดยฉุ กเฉิ นนั้น
เสี ย คาพิพากษาศาลอุทธรณถึ
์ งที่ สุดตามมาตรา ๒๖๗
วรรค ๒ โจทก์ฎีกาไมได้
07/11/58
๕. ศาลมีค าสั่ งยกเลิก ค าสั่ งที่ไ ด้ ออก
51
ข้อพิจารณา
๑. จ าเลยจะฟ้ องแย้ งขอให้ เพิก ถอนหรื อ
ยกเลิก ค าสั่ งในเหตุ ฉุ ก เฉิ น และเรีย กค่าเสี ยหาย
ไมได
่ ้ (ฎ.๑๕๗๔/๒๕๑๙) จาเลยต้องดาเนินการตาม
มาตรา ๒๖๗ และมาตรา ๒๖๓
๒. ค าสั่ งของศาลที่ใ ห้ ยกเลิก ค าสั่ ง ในเหตุ
ฉุ กเฉินให้เป็ นที่ สุด ไม่ว่าจาเลยจะขอโดยอาศั ย
มาตรา ๒๖๗ วรรค ๒ หรือ มาตรา ๒๖๒
และไม่ว่าศาลจะพิจ ารณาค าขอของจ าเลย เป็ น
กรณี ฉุกเฉินตามมาตรา ๒๖๗ วรรค ๒ หรือ
กรณี ธรรมดา หรือพิจารณาฝ่ ายเดี ยวหรือสอง
ฝ่ าย (ฎ.๑๑๔๒/๒๕๒๕
07/11/58
และ ๓๕๒๙/๒๕๓๙)
52
๔. โจทกยื
่ คาร้องขอใช้วิธก
ี ารชัว
่ คราวโดย
์ น
มีคาขอในกรณีมเี หตุฉุกเฉิน ให้ศาลสั่ งห้ามผู้ร้อง
ซึ่ ง เ ป็ น ผู้ อ า วั ล ตั๋ ว สั ญ ญ า ใ ช้ เ งิ น จ่ า ย เ งิ น ต า ม
ตั๋วสั ญญาใช้เงินนั้น ศาลชั้นต้นมีคาสั่ งให้อายัด
การใช้เงินเป็ นการชัว
่ คราว ตอมาผู
ร
น
่ คารอง
่
้ องยื
้
้
ขอให้ ศาลเพิก ถอนค าสั่ งอายัด ดัง กล่ าว ศาล
ชั้น ต้ นมีค าสั่ งยกเลิก ค าสั่ งอายัด จึง เป็ นกรณี ท ี่
บุคคลภายนอก คือผู้ร้องถูกหมายอายัด และขอ
เพิกถอนคาสั่ ง ไม่ใช่กรณี ที่จาเลยเป็ นผู้ถูกหมาย
อ
า
ยั
ด
แ
ล
ะ
เ
ป็
น
ผู้ขอให้ยกเลิกตามมาตรา ๒๖๗ จึงต้ องอาศัย
บทบัญญัตม
ิ าตรา ๒๕๙ นามาตรา ๓๑๒ ซึ่ ง
07/11/58
53
๕. โจทกยื
่ คาร้องขอคุ้มครองชั่วคราวกอน
์ น
่
พิพากษาและยืน
่ คาขอในเหตุฉุกเฉิ น ศาลชัน
้ ต้ น
นัด ไต่สวนค าร้ องของโจทก หลั
์ ง วัน ยื่น ค าร้ องถึง
๘ วัน จึง มิ ใ ช่ เ ป็ นการพิ จ ารณาเป็ นการด่ ว น
ตามมาตรา ๒๖๗ ถือว่าศาลชั้นต้นดาเนินการ
ไต่สวนคาร้องของโจทกอย่
์ างวิธีธ รรมดา ศาล
ชั้น ต้ นไต่ สวนแล้ วมีค าสั่ งอนุ ญาตให้ ใช้ วิธ ีก าร
ชั่ ว ค ร า ว ก่ อ น พิ พ า ก ษ า ต า ม ค า ข อ ข อ ง โ จ ท ก ์
จาเลยขอให้ยกเลิกคาสั่ ง ศาลชัน
้ ต้ นยกคาร้อง
จ าเลยอุ ท ธรณ ์ค าสั่ ง ศาลอุ ท ธรณ ์พิพ ากษายก
คาสั่ งศาลชัน
้ ตน
้ คาสั่ งของศาลอุทธรณจึ
์ งไม่เป็ น
07/11/58
54
ยุติการบรรยาย
ถาม-ตอบ