วิชาว่าความและการถามพยาน โดย ศ. พิเศษ สุชาติ ธรรมาพิทกั ษ์ กลุ ประกอบการบรรยายภาคสอง สมัยที่ 67 ปี 2557 สานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบณ ั ฑิตยสภา.

Download Report

Transcript วิชาว่าความและการถามพยาน โดย ศ. พิเศษ สุชาติ ธรรมาพิทกั ษ์ กลุ ประกอบการบรรยายภาคสอง สมัยที่ 67 ปี 2557 สานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบณ ั ฑิตยสภา.

วิชาว่าความและการถามพยาน
โดย
ศ. พิเศษ สุชาติ ธรรมาพิทกั ษ์ กลุ
ประกอบการบรรยายภาคสอง สมัยที่ 67 ปี 2557
สานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบณ
ั ฑิตยสภา
ลักษณะของคดีความและบุคคลที่เกี่ยวข้ อง
คดีแพ่ง
 ทนายความ—ศาล--เจ้ าพนักงานบังคับคดี
คดีอาญา
 ตารวจ—พนักงานอัยการ—ศาล—ทนายความ--ราชทัณฑ์
เหตุใดจึงต้ องให้ มีทนายความแก้ ตา่ งให้ จาเลย
 คาถาม
 จาเลยที่เป็ นอาชญากรควรมีสิทธิในการต่อสู้คดีด้วยหรื อ ?
 แนวคิด




กระบวนการยุติธรรมของรัฐมีไว้ สาหรับมนุษยชาติ
ในสายตาของกฎหมาย จาเลยยังไม่ผิดจนกว่าศาลจะพิพากษาว่าผิด
จาเลยพึงได้ รับการปกป้องสิทธิที่มีอยูต่ ามกฎหมาย
หน้ าที่ทนายความคือทาหน้ าที่แก้ ตา่ งให้ ดีที่สดุ
การทาหน้ าที่ของบุคคลในกระบวนยุติธรรม
หลักการ ทุกฝ่ ายต้ องเรียนรู้งานและทาหน้ าที่อย่ างดีท่ สี ุด
ทนายความ
แสวงหาข้ อเท็จจริง ร่างฟ้องหรื อคาให้ การ ถามความ
พนักงานอัยการ ตรวจสานวน ร่างฟ้อง คาให้ การ ถามความ
ผู้พพ
ิ ากษา
เข้ าใจประเด็นคดี แม่นยากฎหมาย เขียนคาวินิจฉัย
หลักในการเตรี ยมคดี
การรวบรวมข้ อเท็จจริ ง
ร่างฟ้อง
รู้กระบวนการพิจารณา
การเตรี ยมพยานหลักฐาน
การยื่นบัญชีพยาน
การสืบพยาน การเตรี ยมการเกี่ยวกับการซักถาม ถามค้ าน และถามติง
เขียนแถลงการณ์ปิดคดี
เขียนอุทธรณ์หรื อฎีกา
การบังคับคดี
การเจรจา และการประนีประนอมยอมความ
ปฏิบตั ิและดารงตนตามหลักจริ ยธรรมหรื อมรรยาททนายความ
การเตรี ยมคดีอาญา
คดีอาญา เกิดจากการกระทาผิดกฎหมาย
จึงมีบคุ คลที่เกี่ยวข้ อง
ผู้กระทาผิด
ผู้ต้องหา หรื อจาเลย
ผู้เสียหาย
ผู้จบั กุม และผู้สอบสวน
ผู้ฟ้องคดี
พนักงานอัยการ
ผู้เสียหายเป็ นโจทก์ร่วมในคดีอาญา
ผู้เสียหายเป็ นโจทก์ฟ้องคดี
พนักงานสอบสวน
การทาสานวนสอบสวน
ส่วนประกอบของสานวนสอบสวน
คาให้ การของผู้เสียหาย
คาให้ การของพยาน เช่น ประจักษ์ พยาน พยานแวดล้ อม พยานผู้เชี่ยวชาญ
แพทย์ และบุคคลอื่น ๆ ตามรูปการแห่งคดี
คาให้ การของผู้ต้องหา (อาจรับหรื อปฏิเสธ หรื อภาคเสธ)
คาให้ การสรุปของพนักงานสอบสวน
สานวนสอบสวนต้ องมีคาให้ การของพยานผู้ต้องหาหรื อไม่ ?
การไม่สอบพยานของผู้ต้องหาไว้ เลย เป็ นการขัดต่อหลักนิติธรรม
หรื อไม่ ?
 สานวนสอบสวนควรมุง่ แสวงหา ความจริ ง หรื อ
 ควรมุง่ เอาผิดผู้ต้องหา
พนักงานอัยการ
 การตรวจสานวนสอบสวน
 แนวทางการตรวจสานวนสอบสวน
1. พิจารณาความถูกต้ องแท้ จริ งของพยานหลักฐาน
- ดูข้อพิรุธ หรื อข้ อบกพร่อง
2. พิจารณาความเพียงพอของพยานหลักฐาน
- หลักฐานแท้ จริ ง แต่เพียงพอหรื อไม่
- มีแต่ประจักษ์ พยาน ไม่มีพยานแวดล้ อม ควรสอบเพิ่มหรื อไม่
- พนักงานสอบสวนเอง เป็ นเพียงพยานบอกเล่า
3. พิจารณาสัง่ ฟ้ องหรื อสัง่ ไม่ฟ้อง
- เป็ นดุลพินิจที่ต้องใช้ อย่างระวัง และควรมีกรอบ
- สัง่ ฟ้อง อาจเป็ นการฟ้องผู้บริ สทุ ธิ์
- สัง่ ไม่ฟ้อง อาจไม่เป็ นธรรมแก่ผ้ เู สียหาย
- ไม่ควรตามกระแส
ผู้เสียหายเป็ นโจทก์ร่วมในคดีอาญา
ป. วิอาญา มาตรา 30
คดีรัฐเป็ นผู้เสียหายโดยตรง เข้ าร่วมเป็ นโจทก์ไม่ได้
คดีทวั่ ไปที่ราษฎรเสียหายโดยตรงด้ วย แม้ เป็ นคดีอาญาแผ่นดิน ก็เข้ า
ร่วมเป็ นโจทก์ได้
ข้ อพิจารณาของทนายความ
มีสิทธิซกั ถามพยานของอัยการ นาพยานผู้เสียหายเข้ าสืบ และซักถามพยาน
จาเลยได้
ควรเข้ าร่วมเป็ นโจทก์ในตอนใดของกระบวนพิจารณา
สิทธิในการอุทธรณ์ฎีกา
ฟ้องของอัยการมีข้อบกพร่องหรื อไม่
การบรรยายคาร้ องขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์
คาร้ องควร
ประกอบด้ วย
คดีอยูข่ นตอนใด
ั้
ผู้ร้องเป็ นใคร
ต้ องการเพียงใด
ต้ องการอะไร
ผู้เสียหายเป็ นโจทก์ฟ้องคดีเอง
• หลักในการพิจารณา
– เป็ นผู้เสียหายโดยตรงหรื อไม่
– ไม่ใช่ความผิดที่รัฐเป็ นผู้เสียหายโดยตรงเท่านัน้
– มีพยานพร้ อม หรื อหาได้ ไม่ยาก
• ปั ญหาทางปฏิบตั ิของทนายความ
– ผู้เสียหายและทนายความไม่มีอานาจเรี ยกพยานมาสอบ
– ต้ องเตรี ยมคดีมากกว่า กรณีการขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์กบั อัยการ
• คดีที่ควรฟ้องเอง
– เป็ นคดีความผิดส่วนตัว
– ไม่ได้ รับความเป็ นธรรมจากพนักงานสอบสวน หรื อสานวนอ่อน
– คาดหวังว่าจะประนีประนอมยอมความหรื อถอนฟ้อง
การเตรี ยมคดีฝ่ายผู้ต้องหาหรื อจาเลย
• ต้ องทราบถึงสิทธิของผู้ต้องหา ตาม ป. วิอาญา มาตรา 7/1 (แก้ ไขเพิ่มเติมตาม พรบ.
แก้ ไข ป.วิอ. ฉบับที่ 22 ลว. 23/12/47) และสิทธิตาม มาตราอื่น ๆ เช่น
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
สิทธิขอให้ แจ้ งญาติวา่ ถูกจับ ม. 7/1 วรรคแรก
สิทธิพบและปรึกษาทนายความ ตาม ม. 7/1 (1)
สิทธิขอให้ ทนายความฟั งการสอบปากคาชันสอบสวน
้
ม. 7/1 (2) และ 134/3
สิทธิได้ รับการเยี่ยม ตาม ม. 7/1 (3)
สิทธิได้ รับการรักษาพยาบาล ตาม ม. 7/1 (4)
สิทธิให้ การหรื อไม่ให้ การ ในชันจั
้ บกุม ตาม ม. 83 วรรคสอง
สิทธิได้ รับแจ้ งข้ อหา และเหตุแห่งการจับ ตาม ม. 84 (1)
สิทธิแต่งทนายเพื่อคัดค้ าน หมายขังพนักงานสอบสวน ตาม ม. 87 วรรค 8
สิทธิร้องขอให้ ปล่อย ตาม ม. 90
สิทธิได้ รับการสอบสวนรวดเร็ ว ต่อเนื่องและเป็ นธรรม ตาม ม. 134
สิทธิขอทราบสรุปพยานหลักฐาน ตาม ม. 146
สิทธิยื่นขอประกันตัว ตาม ม. 106
การประกันตัวผู้ต้องหา
 พิจารณาตามหลักเกณฑ์ใน ป.วิ อ. ม. 87 และ 106




ตารวจควบคุมตัว ได้ 48 ชัว่ โมง จากนันต้
้ องขอฝากขังต่อศาล
การประกันตัว อาจกระทาได้ ทงชั
ั ้ นต
้ ารวจและชันศาล
้
หากศาลไม่ให้ ประกันตัว
ถ้ าฝากขังครบ 48 วันแล้ ว และโทษไม่เกิน 10 ปี การขอฝากขังต่อไป ศาลต้ อง
ไต่สวนตาม ม. 87 วรรค 7
 ชันนี
้ ้ ทนายความผู้ต้องหา อาจยื่นคาร้ องคัดค้ านการขอฝากขัง และซักค้ าน
พยานพนักงานสอบสวน ตาม มาตรา 87 วรรค 8
การใช้ สทิ ธิทางศาลก่อนฟ้องคดีของผู้ต้องหา
กระทาได้ ใน 4 กรณี คือ
ตาม ม. 87 คัดค้ านการฝากขัง
ตาม ม. 90 ร้ องขอให้ ปล่อย
ตาม ม. 150 ไต่สวนคดีวิสามัญฆาตกรรม
ตาม ม. 237 ทวิ วรรคแรก และวรรค 6 พนักงานอัยการหรื อผู้ต้องหา ขอสืบพยานก่อน
คดีมาสูศ่ าลได้
ตัวอย่างคาร้ องคัดค้ านการฝากขัง
1. คดีนี ้ พนักงานสอบสวนได้ นาตัวผู้ต้องหามาฝากขังต่อศาลเป้นครัง้ ที่ 5
แล้ ว ต้ องหาจึงขอคัดค้ านการขอฝากขังด้ วยเหตุผลดังจะกราบเรี ยนต่อไปนี ้ คือ
ผู้ต้องหาไม่เคยมีพฤติการณ์ดงั ที่พนักงานสอบสวนกล่าวอ้ าง ที่พนักงานสอบสวน
อ้ างว่าผู้ต้องหาเป็ นผู้ทีอิทธิพลและได้ ใช้ อิทธิพลข่มขู่พยานจนพยานไม่กล้ ามาเบิก
ความต่อพนักงานสอบสวนนันไม่
้ เป็ นความจริง และไม่มีมลู แต่อย่างใด ในความ
เป็ นจริง ผู้ต้องไม่เคยมีประวัติในทางเสื่อมเสียเกี่ยวกับความประพฤติ และมีการ
งานทาเป็ นหลักแหล่ง ทังไม่
้ เคยรู้จกั หรื อพบปะกับพยานของพนักงานสอบสวนมา
ก่อน จึงขอศาลได้ โปรดยกคาร้ องขอฝากขังของพนักงานสอบสวนด้ วย
2. อนึง่ ผู้ต้องได้ มอบหมายให้ ทนายความทาการซักถ้ านพยานของพนักงาน
สอบสวนด้ วย เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม จึงขอศาลได้ โปรดอนุญาต
ตัวอย่างคาร้ องขอให้ ปล่อยตาม มาตรา 90
1. ผู้ร้องเป็ นภริยาโดยชอบด้ วยกฎหมายของนายแดง ปรากฏว่า
นายแดง สามีของผู้ร้อง ได้ ถกู ร.ต.อ. เขียว ซึง่ เป็ นเจ้ าหน้ าที่ตารวจ จับไป
ขังไว้ ที่สถานีตารวจนครบาล......ตังแต่
้ เมื่อวันที่ 15 ก.พ. 2557 โดยมิได้ แจ้ ง
ข้ อหาแต่อย่างใด และขณะนี ้ก็ยงั มิได้ รับการปล่อยตัว
2. พฤติการณ์การจับกุมคุมขังดังกล่าวของ ร.ต.อ. เขียว จึงไม่ชอบ
ด้ วยกฎหมาย ผู้ร้องซึง่ เป็ นภริยาโดยชอบด้ วยกฎหมายของนายแดง จึงขอ
ศาลได้ โปรดไต่สวนและพิจารณาสัง่ ปล่อยนายแดง ให้ พ้นจากการคุมขัง
ต่อไปด้ วย
ตัวอย่างคาร้ องคัดค้ านเรื่ องชันสูตรพลิกศพตาม ม. 150
1. คดีนี ้ ศาลนัดไต่สวนชันสูตรพลิกศพกรณีที่ ส.ต.อ. แดง ได้ ใช้
อาวุธปื นยิงผู้ต้องหาถึงแก่ความตาย โดยอ้ างว่าผู้ตายได้ ต่อสู้การปฏิบตั ิ
หน้ าที่ของเจ้ าพนักงานตารวจในวันนี ้
2. ผู้ร้องเป็ น ภริยาโดยชอบด้ วยกฎหมายของผู้ตาย ขอยื่นคาร้ อง
คัดค้ านคาร้ องของพนักงานอัยการและขอใช้ สทิ ธิที่จะนาพยานหลักฐานมา
หักล้ างพยานหลักฐานของพนักงานสอบสวน ในกรณีที่พนักงานอัยการนา
สืบด้ วย เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ขอศาลได้ โปรดอนุญาต
ตัวอย่างคาร้ องขอสืบพยานก่อนฟ้องคดี ตาม ม. 237
ข้ อ 1 เนื่องจาก นายบราวน์ ผู้เสียหายในคดีนี ้ซึง่ ถูกชิงทรัพย์ เมื่อวันที่ 20
ก.พ. 2557 ในขณะเดินซื ้อของอยูบ่ ริเวณตลาดจัตจุ กั ร เป็ นชาวต่างชาติ สัญชาติ
สหรัฐอเมริกา มีความจาเป็ นต้ องเดินทางกลับประเทศสหรัฐอเมริกาภายในวันที่ 27
ก.พ. 2557 นี ้ เนื่องจากครบกาหนดวันลา จาต้ องกลับไปปฏิบตั ิงาน และขณะนี ้
พนักงานสอบสวนยังทาการสอบสวนและรวบรวมพยานหลักฐานต่าง ๆ ในคดีไม่แล้ ว
เสร็จ
ข้ อ 2 การให้ ผ้ เู สียหายเดินทางกลับมาประเทศไทยเพื่อเป็ นพยานในศาลนัน้
ไม่สะดวกอย่างมากเนื่องจากระยะทางห่างไกลและจาเป็ นต้ องขาดการงานอีกหลาย
วัน ทังมี
้ คา่ ใช่จ่ายสูง จึงเป็ นการยากที่จะนาผู้เสียหายซึง่ เป็ นประจักษ์ พยานมาสืบใน
ภายหน้ า จึงขอศาลได้ โปรดอนุญาตให้ สืบพยานผู้เสียหายรายนี ้ล่วงหน้ าก่อนฟ้องคดี
ตามมาตรา 237 วรรคแรกแห่งประมวลกฎหมายวิอาญาด้ วย เพื่อประโยชน์แห่ง
ความยุติธรรม ขอศาลได้ โปรดอนุญาต
ตัวอย่างคาร้ องขอสืบพยานล่วงหน้ าก่อนฟ้องคดี
ตาม ม. 237 วรรค 6
ข้ อ 1. คดีนี ้ ผู้ร้องได้ รับแจ้ งข้ อกล่าวหาและถูกจับกุมตัวโดยเจ้ าพนักงานตารวจว่า
กระทาความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ของนายแดนนี่ ซึง่ เป็ นชาวอังกฤษ เมื่อวันที่ 20 ก.พ. 2557
ขณะนี ้ ผู้ร้องได้ รับการประกันตัวในชันสอบสวน
้
และคดีอยูร่ ะหว่างการสอบสวนของ
พนักงานสอบสวน
ข้ อ 2. ผู้ร้องทราบจากนายแดนนี่วา่ มีความจาเป็ นต้ องเดินทางกลับไปประเทศอังกฤษ
เพราะครบกาหนดวันลา และเนื่องจากของนายแดนนี่ทาหน้ าที่เป็ นกับตันเดินเรื อทะเลขนส่ง
สินค้ า นายแดนนี่จงึ ไม่มีที่อยูเ่ ป็ นหลักแหล่ง การที่นายแดนนี่จะเดินทางกลับมาเบิกความ
เป็ นพยานในคดีนี ้ เป็ นเรื่ องยากและไม่อาจคาดเดาได้ ทังสิ
้ ้นเปลืองค่าใช้ จ่ายมาก และโดยที่
นายแดนนี่ ซึง่ เป็ นผู้เสียหายในคดีวิ่งราวทรัพย์นี ้ได้ ยืนยันต่อพนักงานสอบสวนว่าผู้ร้องมิใช่
ผู้กระทาผิด เนื่องจากผู้ร้องทาหน้ าที่เป็ นมัคคุเทศน์ของนายแดนนี่ในวันเกิดเหตุนนเอง
ั้
การ
จับกุมผู้ร้องน่าจะเป็ นการจับกุมผิดตัว นายแดนนี่จงึ เป็ นประจักษ์ พยานสาคัญในคดีนี ้ หาก
ภายหลังจากฟ้องคดีแล้ ว มิได้ ตวั นายแดนนี่มาเบิกความเป็ นพยาน ผลแห่งคดีอาจเป็ น
ผลร้ ายแก่ผ้ รู ้ องได้ ผู้ร้องจึงขอศาลได้ โปรดอนุญาตให้ ผ้ รู ้ องนาสืบนายแดนนี่เป็ นพยานของผู้
ร้ องก่อนฟ้องคดี ตามมาตรา 237 วรรค 6 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาคดีอาญาด้ วย
เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ขอศาลได้ โปรดอนุญาต
จบการบรรยาย ตอนที่ 1
สวัสดี