ขอบเขตการบรรยาย • • • • การรับเงิน การเบิกจ่ ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การรายงานการเงิน วงจรการบริหารการคลัง แผนพัฒนา อปท. ผลต่ำง (รำยร ับมำกกว่ำรำยจ่ำย) • เงินสะสม 75% • เงินทุนสำรอง เงินสะสม 25% แผนประจาปี ี ละจัดทารายงานการเงินประจาปี ปิ ดบัญชแ งบประมำณ รำยจ่ำยประจำปี ประมำณกำรรำยร ับ • รายได ้จัดเก็บเอง • ภาษี จัดสรร • เงินอุดหนุนทั่วไป • ประมำณกำรรำยร ับ ี ละจ.

Download Report

Transcript ขอบเขตการบรรยาย • • • • การรับเงิน การเบิกจ่ ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การรายงานการเงิน วงจรการบริหารการคลัง แผนพัฒนา อปท. ผลต่ำง (รำยร ับมำกกว่ำรำยจ่ำย) • เงินสะสม 75% • เงินทุนสำรอง เงินสะสม 25% แผนประจาปี ี ละจัดทารายงานการเงินประจาปี ปิ ดบัญชแ งบประมำณ รำยจ่ำยประจำปี ประมำณกำรรำยร ับ • รายได ้จัดเก็บเอง • ภาษี จัดสรร • เงินอุดหนุนทั่วไป • ประมำณกำรรำยร ับ ี ละจ.

ขอบเขตการบรรยาย
•
•
•
•
การรับเงิน
การเบิกจ่ ายเงิน
การเก็บรักษาเงิน
การรายงานการเงิน
วงจรการบริหารการคลัง
แผนพัฒนา อปท.
ผลต่ำง
(รำยร ับมำกกว่ำรำยจ่ำย)
• เงินสะสม 75%
• เงินทุนสำรอง
เงินสะสม 25%
แผนประจาปี
ี ละจัดทารายงานการเงินประจาปี
ปิ ดบัญชแ
งบประมำณ
รำยจ่ำยประจำปี
ประมำณกำรรำยร ับ
• รายได ้จัดเก็บเอง
• ภาษี จัดสรร
• เงินอุดหนุนทั่วไป
• ประมำณกำรรำยร ับ
ี ละจ ัดทำรำยงำนกำรเงิน
บ ันทึกบ ัญชแ
• รายงานสถานะการเงินประจาวัน
• รายงานรับ-จ่ายเงินสด งบกระแสเงินสด
งบทดลอง
• กระดาษทาการ งบประมาณ
• งบประมำณรำยจ่ำย
• ภาษี อากร
• ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ ใบอนุญาต
• รายได ้จากสาธารณูปโภค
ิ
• รายได ้จากทรัพย์สน
• รายได ้เบ็ดเตล็ด
.
งบประมำณรำยจ่ำย
ภาระหน ้าที่ 4 ด ้าน 12 แผนงาน 36 งาน
• งบบุคลากร
• งบดาเนินงาน
• งบลงทุน
• งบเงินอุดหนุน
• งบรายจ่ายอืน
่
• งบกลาง
ระเบียบเบิกจ่าย
•
•
•
•
พัสดุ
ิ ธิประโยชน์ตา่ ง ๆ
สท
ค่าเชา่ บ ้าน
อืน
่ ๆ
ตรวจสอบ
ภายใน
สถ.,จังหวัด
ภายนอก
สตง.
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่ าด้ วยการรับเงิน การเบิก
จ่ ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงิน
ขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น พ.ศ. 2547
มีผลใช้บงั คับ วันที่ 1 กุมภาพันธ์
2548บที่ 2) พ.ศ. 2548
แก้ ไขเพิม่ เติม (ฉบั
มีผลใช้ บังคับ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2549
ข้อ 4
กำหนดวำ่
1. ในกรณีทอี่ ปท.ไมสำมำรถปฏิ
บต
ั ิ
่
ตำมระเบียบได้
2. ให้ขอทำ
ควำมตกลงกับปลัดกระทรวงมหำดไทย
กอนกำรปฏิ
บต
ั ิ (โดยปลัดกระทรวงมหาดไทย มอบ
่
อานาจให้ผวู ้ า่ ราชการจังหวัด )
คาสังกระทรวงมหาดไทย
่
ที่ 181/2548 ลว. 29 มี.ค. 2548
ปลัดกระทรวงมหาดไทยได้มอบ
อานาจ ตามระเบียบฯ ข้อ 4 ให้
ผวจ.
ข้ อหารือ : อบต.ขอทาความตกลงยกเว้นการปฏิบตั ิตาม
ระเบียบฯ เป็ นกรณี พิเศษ เนื่องจากได้นาเงินสะสมไปใช้
ก่อนได้รับอนุมตั ิจากสภาท้องถิ่นตามระเบียบฯ ข้อ 89
การใช้จ่ายเงินฯ เป็ นไปตามอานาจหน้าที่ ซึ่งประชาชนได้รับ
ประโยชน์ และมิใช่การกระทาโดยทุจริ ต ทางราชการไม่เสี ย
ประโยชน์ฯ
-โดยจังหวัดเห็นว่า ตามระเบียบฯ ข้อ 4 ปมท.มอบอานาจให้
ผวจ.พิจารณาทาความตกลงได้เฉพาะกรณี ก่อนการปฏิบตั ิ
ตามระเบียบ
1. ตามระเบียบมท.ว่าด้วยวิธีการงบประมาณของ อปท.
พ.ศ. 2541 ข้อ 33 กาหนดให้คณะผูบ้ ริ หารท้องถิ่น เจ้าหน้าที่
งบประมาณและหัวหน้าหน่วยงานคลัง ร่ วมกันรับผิดชอบในการ
ควบคุมงบประมาณ ควบคุมการรับ การเบิกจ่ายเงิน การควบคุม
บัญชี รายงานและเอกสารอื่นที่เกี่ยวกับการรับจ่ายเงิน
2. ตามระเบียบเบิกจ่ายฯ ข้อ 4 ให้ อปท.ที่ไม่สามารถปฏิบตั ิ
ตามระเบียบนี้ได้ ให้ขอทาความตกลงกับ ปมท.ก่อนการปฏิบัติ
(มอบให้ ผวจ.แล้ว)
ข้ อเท็จจริง
อบต.ได้เบิกจ่ายเงินล่วงล้ าเงินสะสม โดยมิได้รับอนุมตั ิจาก
สภาท้องถิ่น และต่อมาตรวจสอบพบในภายหลัง จึงขอทาความ ตก
ลงยกเว้นการปฏิบตั ิตามระเบียบ ซึ่งกรณี ดงั กล่าวไม่สามารถ ขอทา
ความตกลงได้ ดังนั้น ให้จงั หวัดดาเนินการ ดังนี้
1.แต่งตั้งกรรมการตรวจสอบเพื่อหาผูร้ ับผิดทางละเมิดของ
เจ้าหน้าที่ผเู ้ กี่ยวข้อง
2.แจ้ง อบต. ดาเนินการทางวินยั กับเจ้าหน้าที่ผเู ้ กี่ยวข้องที่มิได้
ปฏิบตั ิตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ
คานิยาม
หน่ วยงาน หมายถึง สานัก กอง ส่ วน ฝ่ าย ตาม
โครงสร้ างของ อปท.
ผู้เบิก หมายถึง หน่ วยงานที่ ได้ รับงบประมาณ
ทั้งทั่วไป และ งบเฉพาะการ
• เจ้ าหน้ าที่ หมายความว่า ผูม้ ีหน้าที่รับ จ่ายเงิน และ
ให้รวมถึงผูไ้ ด้รับมอบหมาย
• หลักฐานการจ่ าย หมายความว่า หลักฐานแสดงว่าได้มี
การจ่ายเงินให้แก่ผรู ้ ับหรื อเจ้าหนี้
• ใบสาคัญคู่จ่าย หมายความว่า หลักฐานการจ่ายที่เป็ น
ใบเสร็ จรับเงิน
• เงินรายรับ เงินที่ อปท. จัดเก็บ หรื อ รับไว้ตาม
กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ หรื อ นิติกรรม
• เงินนอกงบประมาณ เงินที่อยูใ่ นความรับผิดชอบของ อปท.
เว้ นแต่ เงินที่ปรากฏตามงบประมาณ และเงินที่รัฐบาล
อุดหนุนโดยวัตถุประสงค์
• รายงานสถานะการเงินประจาวัน ยอดเงินรับและจ่าย
ในแต่ละวัน รวมถึงยอดเงินฝากธนาคารด้วย
• แผนการใช้ จ่ายเงิน แผนแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายของ
หน่วยงานผูเ้ บิก (จะเป็ นเครื่ องมือในการกากับควบคุม
การใช้จ่ายเงินฯ )
• เงินสะสม เงินที่เหลือจ่ายประจาปี และ ได้หกั ทุนสารองเงิน
สะสมไว้แล้ว
• ทุนสารองเงินสะสม 25% ของยอดเงินสะสมประจาทุกสิ้ นปี
• เงินสะสม เงินที่เหลือจ่ายประจาปี และ ได้หกั ทุนสารอง
เงินสะสมไว้แล้ว
รายรับทั้งสิ้ น
เงินสะสมประจาปี
หัก
รายจ่ายทั้งสิ้ น
หัก
ทุนสารองเงินสะสม 25%
หลักการรับเงิน
1. เงินที่ได้ รับไว้ เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ให้
นาส่ งเป็ นเงินรายได้ แผ่ นดินทั้งสิ้น
2. การรับเงินให้ ออกใบเสร็จรับเงินทุก ครั้ง
3. เมื่อรับเงินแล้ วให้ บันทึกในสมุดเงินสดภายในวันที่
รับเงินหากรับเงินภายหลังปิ ดบัญชี ให้ บันทึกรั บในวันนั้น
เก็บเงินสดไว้ ในตู้นิรภัย
• ข้ อ 7 เงินที่ได้ รับไว้ เป็ นกรรมสิ ทธิ์ให้ นาส่ ง เป็ นเงินรายได้
เว้ นแต่
- มีระเบียบ กาหนดไว้ เป็ นอย่ างอืน่
- เงินทีม่ ีผ้ ูอุทศิ ให้
- จัดหารายได้ ขนึ้ เป็ นครั้งคราว
** เงินรายได้ ที่ อปท. จัดหาเป็ นครั้งคราวถ้ าไม่ ได้ กาหนดไว้ เป็ น
อย่ างอืน่ หากมีเงินเหลือจ่ าย หรือ หมดความจาเป็ นให้ นาส่ งเป็ น
รายได้ ของอปท.**
Ex.
1 ข้ อหารือ: เทศบาลดาเนินการโครงการมหกรรมแข่ งขันนกเขาชวา
อาเซียนประจาปี ประกอบด้ วย
- งบประมาณประจาปี ของเทศบาลที่ต้งั ไว้
- จากรายได้ การจาหน่ ายบัตรเสารอกนก
- งบประมาณจากการท่ องเที่ยวแห่ งประเทศไทย
เงินรายได้ ท้งั หมดจะจ่ ายเป็ นค่ าดาเนินงาน และเมื่อหักค่ าใช้ จ่าย
แล้วจะมีเงินเหลือ เทศบาลสามารถนาเงินเหลือจ่ ายไปดาเนินการ
สาธารณกุศลตามวัตถุประสงค์ ของโครงการทีก่ าหนดไว้ ได้ หรือไม่
หรือจะต้ องนาส่ งเป็ นรายได้ ของเทศบาล
ตามทีเ่ ทศบาลมีการดาเนินโครงการ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ
นาเงินรายได้ส่วนหนึ่งเป็ นกองทุนสาธารณกุศล จะถือเป็ นการจัดหา
รายได้เป็ นครั้งคราว เฉพาะเงินรายได้ ที่เกิดขึ้นจากการจาหน่ายบัตรเสา
รอกนกเท่านั้น และต้องดาเนินการตามอานาจหน้าที่ตาม กม.
ส่ วนเงินที่เหลือจ่ายจากเงินงบประมาณของเทศบาลให้นาส่ งเป็ นรายได้
ของเทศบาล และเงินที่เหลือจ่ายจากงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุน
จากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยนั้น ให้ข้ ึนอยูก่ บั ข้อตกลงระหว่าง
เทศบาลและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยที่กาหนดไว้
2. ข้ อหารือ : เทศบาลได้จดั งานโครงการหนึ่ง โดยตั้งงบประมาณ
ค่าใช้จ่ายไว้เป็ นเงิน 400,000 บาท และในการจัดงาน ได้มีการ
ให้เช่าเต็นท์และจาหน่ายอาหาร เป็ นเงิน 309,118 บาท แต่ไม่ได้
นาเงินรายได้ท้ งั หมดนาส่ งเป็ นเงินรายได้ของเทศบาล นาส่ งเพียง
63,002 บาท ทาให้เงินขาดไปจานวน 246,116 บาท โดยเทศบาล
ชี้แจงว่างบประมาณในโครงการไม่เพียงพอ จึงต้องนารายได้ที่
จัดหาเป็ นครั้งคราว (ค่าเช่าเต็นท์และจาหน่ายอาหาร) มาหักเป็ น
ค่าใช้จ่าย เมื่อเงินเหลือจ่ายแล้วจึงส่ งเป็ นรายได้ของเทศบาล
ถูกต้องหรื อไม่
ตามทีเ่ ทศบาลได้ต้ งั งบประมาณในการจัดงานไว้ หากตั้ง งบประมาณ
ไว้ไม่เพียงพอต่อการดาเนินการตามโครงการ เทศบาลอาจจัดหารายได้
ขึ้นเป็ นครั้งคราวภายในขอบเขตอานาจหน้าที่ตามโครงการ เพื่อใช้จ่าย
ในกิจการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ โดยเงินรายได้ที่จดั หาเป็ นครั้ง
คราว ต้องนาฝากเข้าบัญชีเงินฝากของเทศบาลและเบิกจ่ายเงินนอก
งบประมาณตามวัตถุประสงค์ของการจัดหารายได้ตามโครงการ และ
หากมีเงินเหลือจ่ายให้นาส่ งเป็ นรายได้ของเทศบาล และต้องเป็ น
รายจ่ายที่ไม่ซ้ าซ้อนกับรายจ่ายที่ได้รับอนุมตั ิ
งบประมาณ
ใบเสร็จรับเงิน
สาระสาคัญของใบเสร็จรับเงินตามระเบียบ ฯ ข้ อ 13
มี 9 ข้ อ (1.ตรา/เครื่ องหมาย อปท. 2.เล่มที่ + เลขที่ 3.ที่ทาการ/
สานักงาน ที่ออกใบเสร็ จ 4.วัน เดือน ปี ที่รับเงิน 5.ชื่อ + ชื่อสกุล
ผูร้ ับชาระเงิน 6.รายการรับเงิน/ระบุชาระค่าอะไร 7.จานวนเงิน
ตัวเลข + ตัวอักษร 8.ข้อความระบุวา่ ได้มีการรับเงินไว้เป็ นการ
ถูกต้องแล้ว 9. ลายมือชื่อ + ชื่อในวงเล็บและตาแหน่งผูร้ ับเงิน)
และสาเนาติดเล่ ม 1 ฉบับ
- หากพิมพ์ใบเสร็ จรับเงินด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ ต้อง มีสาเนา
อย่างน้อย หนึ่ง ฉบับ และให้มีสาระสาคัญทั้ง 9 ข้อ พร้อมกาหนด
วิธีการควบคุมให้รัดกุม
ใบเสร็จรับเงินทีใ่ ช้ ต้ องเป็ น
1. ตามแบบที่กาหนดหรือทีไ่ ด้ รับความตกลง
- นส.ที่ มท 0808.4 /ว 762 ลว. 21 เม.ย. 2552 ที่
กาหนดให้ อปท.ประสงค์ จะจัดส่ งบุคคลกรเข้ ารับการฝึ กอบรม
ในหลักสู ตรต่ าง ๆ สามารถใช้ “ใบรับชาระค่ าสาธารณูปโภคและ
ค่ าบริการ” เป็ นหลักฐานการรับเงินค่ าลงทะเบียน และเป็ น
หลักฐานการจ่ ายตามระเบียบฯ ได้
2. จัดทาทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน
3. ใช้เฉพาะภายในปี งบประมาณ
4. รายงานภายในวันที่ 31 ตุลาคม
ของปี งบประมาณถัดไป
5. เก็บรักษาไว้ในที่ ปลอดภัย
กรณี ใบเสร็จรับเงินที่ยงั มิได้ใช้สญ
ู
หาย
1. แจ้งความนับแต่ทราบว่าหาย
2. ติดประกาศยกเลิกไว้ในที่ พบเห็น
และตรวจสอบได้ง่าย
3. ทาหนังสือแจ้งเวียนการยกเลิกให้
การเก็บรักษาเงิน
• ให้นาเงินที่ได้รับฝากธนาคารทั้ง จานวน หากฝาก
ไม่ทนั ให้เก็บเงิน ในตูน้ ิรภัย วันรุ่ งขึ้นให้นาฝากทั้งจานวน
• หาก อปท. อยูไ่ กลไม่สามารถฝากได้ทุกวัน ให้ฝากใน
วันสุดท้ ายของสัปดาห์
การรับส่ งเงิน
• กรณี มีการรับเงินนอกสถานที่ต้ งั ให้ ผูบ้ ริ หารท้องถิ่น
แต่งตั้งพนักงานระดับ 3 หรื อเทียบเท่าอย่างน้อย 2 คน
เป็ นกรรมการรับผิดชอบร่ วมกัน
การถอนเงินฝากธนาคาร
• แจ้งเงื่อนไขกับธนาคารลงนามสัง่ จ่ายร่ วมกัน อย่างน้อย 3 คน
• โดยมี ผูบ้ ริ หารท้องถิ่น และปลัด อปท. ลงนามทุกครั้ง
• ผูบ้ ริ หารท้องถิ่นมอบหมายให้ ผูช้ ่วยผูบ้ ริ หารท้องถิ่น หรื อ
ผูด้ ารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าหัวหน้าหน่วยงาน กรณี ที่ผบู้ ริ หาร
ท้องถิ่น หรื อ ปลัด อปท.ไม่สามารถปฏิบตั ิราชการได้ หรื อ
ไปราชการนอกสถานที่
หลักการ
1. ผูม
้ ีอานาจถอนเงิน มี 3 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1 คือ ผูบ้ ริหารท้องถิ่น หรือผู้รกั ษา
ราชการแทน
กลุ่มที่ 2 คือ ปลัด อปท. หรือผู้รกั ษา
ราชการแทน
กลุ่มที่ 3 คือ บุคคลที่ผบ้ ู ริหารท้องถิ่น
มอบหมาย (ผช.ผู้บริหาร /หัวหน้ างาน)ให้ ลงนามสั่ งจ่ ายเงินร่ วมกับ
ผู้บริหาร และปลัด อปท.
2. การลงลายมือชื่อร่ วมกันทั้ง 3 กลุ่ม จึงสามารถถอนเงินได้
3. ส่ งรายชื่อผู้มีอานาจถอนเงินให้ ธนาคาร
ข้ อหารือ: กรณี ที่นายกเทศมนตรี ได้แต่งตั้งเจ้าพนักงานอื่น
ทาการแทน ปลัด อบต. และเปลี่ยนแปลงลายมือชื่อผูถ้ อนเงิน
ให้ผทู ้ าการแทนมีอานาจถอนเงินได้ ต่อมาปลัด อบต.ได้ทา
หนังสื อถึงธนาคารว่าการลงนามถอนเงินฯ ดังกล่าวขัดต่อ
ระเบียบฯ ให้ธนาคารระงับการถอนเงิน
ธนาคารหารื อว่า ธนาคารสามารถระงับการถอนเงินกรณี
ดังกล่าวได้หรื อไม่ อานาจการถอนเงินตามระเบียบฯ เป็ นอย่างไร
และควรยึดถือระเบียบหรื อกฎหมายใด
• ดังนั้น ธนาคารต้องยึดระเบียบฯ ข้อ 37 ประกอบกับ พ.ร.บ.สภาตาบล
และองค์การบริ หารส่ วนตาบล พ.ศ. 2537 และประกาศคณะกรรมการ
พนักงานส่ วนตาบล เรื่ อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการ
บริ หารงานบุคคลของ อบต.กรณี รกท.มาเป็ นหลักในการพิจารณา
ซึ่งกรณี ที่นายก แต่งตั้งผูร้ ักษาราชการแทน ปลัด อบต.ได้ จะต้องเป็ น
กรณี ที่ไม่มีปลัด อบต. หรื อมีแต่ไม่สามารถปฏิบตั ิราชการได้
ก็ให้แต่งตั้งผูซ้ ่ ึงดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่า ผอ./หัวหน้าหน่วยงาน
แต่ขอ้ เท็จจริ ง ปลัด อบต.ยังมาปฏิบตั ิงาน จึงไม่อยูใ่ นเงื่อนไขที่จะ
แต่งตั้งบุคคลอื่นเป็ นผูร้ ักษาราชการแทนปลัด อบต.โดยมีวตั ถุประสงค์
เพื่อลงนามถอนเงินแทนปลัด อบต.เป็ นการเฉพาะได้
หลักการเบิกเงิน
• การเบิกจ่ ายเงินงบประมาณรายจ่ ายประจาปี หรือ
เพิม่ เติม ให้ หน่ วยงานผู้เบิกยืน่ แผนการใช้ จ่ายเงิน
ทุก สาม เดือน
• การขอเบิกเงินตามงบประมาณรายจ่ ายประจาปี ใด ให้ เบิก
ได้ แต่ เฉพาะปี งบประมาณนั้น รวมทั้งเงินอุดหนุน ทีร่ ัฐบาลให้
โดยระบุวตั ถุประสงค์(ข้ อ 39) เว้ นแต่
- เงินทีไ่ ด้ ขออนุมัตกิ นั เงินไว้ แล้ ว
- เงินทีไ่ ด้ ก่อหนีผ้ ูกพันไว้ ก่อนสิ้นปี และได้ รับอนุมัติ
ให้ กนั เงิน
- เงินอุดหนุนทีร่ ะบุวตั ถุประสงค์ เบิกจ่ ายไม่ ทนั และ
ได้ บันทึกบัญชีไว้ แล้ ว
Ex.
• ข้ อหารือ : เทศบาลจัดซื้ออาหารเสริม(นม) จาก บริษัท
คันทรีเฟรชแดรี่ จากัด ในปี 2549 ซึ่งบริษทั ได้ ส่ งมอบและ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุไว้ เรียบร้ อยแล้ ว แต่ เทศบาลยัง
ไม่ ได้ ชาระเงินให้ กบั ผู้ขาย ผู้ขายขอให้ เทศบาลชาระเงิน
ดังกล่ าว แต่ เนื่องจากเป็ นค่ าใช้ จ่ายตั้งแต่ ปี 2549
เทศบาลหารือว่ าสามารถเบิกจ่ ายเงินฯ ปี 2552 ได้ หรือไม่
• ตามที่เทศบาลได้ดาเนินการจัดซื้ออาหารเสริ ม(นม) จากผูข้ าย
โดยได้มีการส่ งมอบและตรวจรับเรี ยบร้อยแล้ว ถือเป็ นรายจ่ายที่
ต้องจ่ายในปี งบประมาณ 2549 จึงไม่สามารถเบิกจ่ายเงินดังกล่าว
ในปี 2552 ได้
• เทศบาลควรดาเนินการ ดังนี้
1. แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริ ง
2. ขอทาความตกลงกับ ผวจ.ตามระเบียบฯ ข้อ 4 ประกอบ
คาสัง่ มท.ที่ 181/2548 ลว.29 มี.ค.2548 เพื่อยกเว้นการปฏิบตั ิตาม
ระเบียบฯ ข้อ 39 โดยนาค่าใช้จ่ายอาหารเสริ ม(นม)
มาเบิกจ่ายงบประมาณปี 2552
เอกสารประกอบฎีกาขอเบิกเงิน
การเบิกเงินเพือ่ จ่ ายเป็ นค่ าซื้อทรัพย์ สิน หรือจ้ างทา
ของให้ มีเอกสารประกอบฎีกา ดังนี้
- สั ญญาหรือ เอกสารอืน่ อันเป็ นหลักฐานแห่ งหนี้
เช่ น หลักฐานการสั่ งซื้อ/จ้ าง
- ใบแจ้ งหนี/้ ใบส่ งมอบ/มอบงาน
- เอกสารการตรวจรับ
Ex.
ข้ อหารือ : อบต.ได้ทาเอกสารจัดซื้อจัดจ้างอาหารเสริ ม(นม) ที่
ซื้อขายระหว่าง อบต.และศูนย์รวมนมฯ สูญหาย อบต.จะสามารถ
ดาเนินการ ดังนี้
1. จัดทาเอกสารการเบิกจ่ายให้เป็ นปัจจุบนั เพื่อเบิกจ่าย ได้หรื อไม่
เนื่องจากมีเงินงบประมาณที่ได้กนั ไว้ โดยลงบัญชีคา้ งจ่ายไว้
2. จากข้อ 1 ผวจ.สามารถยกเว้นการปฏิบตั ิตามระเบียบฯ ข้อ 4
ได้หรื อไม่
ตามที่ อบต.จัดซื้ออาหารเสริ ม(นม)จะต้องมีเอกสารประกอบฎีกา
ตามระเบียบฯ ข้อ 48 ได้แก่
1. หลักฐานการสัง่ ซื้อ/สัง่ จ้าง ได้แก่ สัญญา
2. ใบแจ้งหนี้ หรื อใบส่ งมอบทรัพย์สิน หรื อมอบงาน
3. เอกสารแสดงการตรวจรับทรัพย์สิน หรื อตรวจรับงาน
ซึ่งในวรรคท้ายของข้อ 48 กาหนดว่า เอกสารหลักฐานข้างต้น
จะใช้ภาพถ่ายหรื อสาเนา ซึ่งผูเ้ บิกลงลายมือชื่อรับรองได้
ดังนั้น อบต.จะต้องขอคัดสาเนาเอกสารตามข้อ1 - 2
(สัญญา+ใบแจ้งหนี้+ใบส่ งมอบฯ) จากศูนย์รวมนมฯ
ส่ วนเอกสารแสดงการตรวจรับฯ จะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการ
ตรวจสอบข้อเท็จจริ ง ว่ามีการตรวจรับทรัพย์สินครบถ้วนและ
บันทึกรายงานผูบ้ ริ หารท้องถิ่น พร้อมชี้แจงว่าได้มีการตรวจรับ
ทรัพย์สินจริ งแต่เอกสารสูญหาย เพื่อนามาใช้เป็ นเอกสารประกอบ
ฎีกาแทนต้นฉบับที่สูญหาย
ส่ วนเจ้าหน้าที่ให้ดาเนินการทางวินยั ฯ
• การเบิกเงินลักษณะค่าใช้จ่ายประจาและมีการเรี ยกเก็บเป็ น
งวดๆให้ถือว่าค่ าใช้ จ่ายนั้นเกิดขึน้ เมื่อ อปท.ได้ รับแจ้ งให้
ชาระหนี ้ (ข้ อ 45 )
• สาระ:ตามระเบียบ ข้ อ 45 + รายจ่ ายที่เกิดขึน้ เมื่อ อปท.
ได้ รับแจ้ งให้ ชาระหนี ้ ไม่ ถือเป็ นค่ าใช้ จ่ายค้ างเบิกข้ ามปี
ได้ แก่ ค่ าเช่ าบ้ าน ค่ านา้ ค่ าไฟฟ้ า ค่ าโทรศัพท์ เป็ นต้ น
(นส.มท.0313.4/ว 1696 ลว. 5 ส.ค. 2541 เรื่อง ซักซ้ อมความเข้ าใจ
การเบิกจ่ ายค่ าใช้ จ่ายทีถ่ ือว่ าเป็ นรายจ่ าย เมื่อได้ รับแจ้ งให้ ชาระหนี)้
สาระสาคัญ
ให้ เบิกจากงบประมาณปี ที่ได้ รับแจ้ งหนี้
1. ไม่ ว่าเดือนใด เช่ น ค่ าเช่ าบ้ าน (ถือเป็ นรายจ่ ายที่
เกิดขึน้ เมื่อ อปท.ได้ รับแบบ 6006 และให้ เบิกจ่ ายจากงบประมาณ
รายจ่ ายประจาปี งปบระมาณทีไ่ ด้ รับแบบ ตามนส.ที่ มท 0808.2 /
ว 296 ลว.25 ม.ค.2550 ข้ อ 7) ค่ าขอรับสิ่ งพิมพ์ ค่ าขนส่ งฯ
2. เฉพาะเดือน ก.ย. เช่ น ค่ านา้ มันเชื้อเพลิง
3. เฉพาะเดือน ส.ค.+ ก.ย. เช่ น ค่ านา้ ค่ าไฟฟ้า ค่ าโทรศัพท์
ค่ าเช่ าคู่สายโทรศัพท์ ค่ าติดตั้งสายโทรศัพท์ ค่ าไปรษณีย์ ฯ
• การเบิกเงินเดือน ค่ าจ้ าง บาเหน็จ บานาญและเงินลักษณะ
เดียวกัน (ข้ อ 46 )
• ต้องเป็ นไปตาม กฎหมาย ระเบียบ หรื อ หนังสื อสัง่ การ
ของกระทรวงมหาดไทย
ประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล
เรื่อง มาตรฐานทัว่ ไปเกีย่ วกับอัตรา เงินเดือนและวิธีการจ่ าย
เงินเดือนและประโยชน์ ตอบแทนอืน่
- กาหนดอัตราเงินเดือน เงินประจาตาแหน่ง และการรับ
เงินประจาตาแหน่งของพนักงานเทศบาล ให้นา กม.ว่าด้วย
เงินเดือนและเงินประจาตาแหน่งที่กาหนดไว้สาหรับข้าราชการ
พลเรื อน มาใช้บงั คับโดยอนุโลม และการจ่ายเงินเดือน ฯ ก็
เช่นเดียวกัน
ระเบียบกระทรวงการคลังว่ าด้ วยการเบิกจ่ ายเงินเดือน
เงินปี บาเหน็จบานาญ เงินประจาตาแหน่ ง เงินเพิม่ และ
เงินอืน่ ในลักษณะเดียวกัน พ.ศ. 2550
- เงินเดือน หมายความว่า เงินเดือนและเงินอื่นที่มีกาหนดจ่ายเป็ น
รายเดือนจากเงินงบประมาณรายจ่ายงบบุคลากรหรื องบอื่นทีม่ ี
ลักษณะเงินเดือน
- เงินประจาตาแหน่ง หมายความว่า เงินประจาตาแหน่งตาม กม.
ว่าด้วยเงินเดือนและเงินประจาตาแหน่ง
- การจ่ายเงิน มิให้ผเู้ บิกหักเงินไว้เพื่อการได้ ๆ เว้นแต่ จะมี
หนังสื อยินยอมจากข้าราชการ เพื่อชาระเงินให้แก่สหกรณ์
ที่จดั ตั้งโดยส่ วนราชการและค่าสวัสดิการต่าง ๆ ตามระเบียบ
หรื อชาระตามข้อผูกพันกับทางราชการเท่านั้น
- ให้ส่วนราชการและข้าราชการในสังกัด จะตกลงกันโดยทาเป็ น
หนังสื อให้ความยินยอมการจัดลาดับการหักเงินเพื่อชาระเงิน
แต่จะต้องจัดลาดับการชาระเงินให้แก่ส่วนราชการไว้ในลาดับ
ต้น
- หนังสื อยินยอมให้หกั เงินและจัดลาดับ มีผลผูกพันตลอด
จนกว่าจะชาระหนี้หมด
....
• ค่ าใช้ จ่ายที่เป็ นรายจ่ ายประจาเกิดขึน้ ปี ใดให้ เบิกจาก
งบประมาณรายจ่ ายปี นั้นไปจ่ าย(ข้ อ 56)
– ถ้าการยืมเงินงบประมาณสาหรับรายการที่ได้ต้ งั ไว้แล้ว
ถ้าจะต้องจ่ายติดต่อคาบเกี่ยวถึงปี งบประมาณใหม่ให้ยมื เงินไป
ทดรองจ่ายสาหรับระยะเวลาปี ใหม่ โดยให้ถือเป็ นรายจ่ายของ
ปี ที่ยมื เงิน สาหรับรายการต่อไปนี้
- ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการไม่เกิน 60 วัน
- ปฏิบตั ิราชการอื่นๆไม่เกิน 15 วัน
การตรวจและการอนุมตั ิฎีกา
• เมื่อผูม้ ีอานาจอนุมตั ิในฎีกาแล้ว
ให้บนั ทึกบัญชีสมุดเงินสดตามที่ สถ.กาหนด
• การเบิกจ่ายเงิน ที่มีลกั ษณะจะต้องจ่ายประจาเดือน
ในวันสิ้ นเดือนให้วางฎีกาภายในวันที่ 25 ของเดือนนั้น
ข้ อกาหนดการจ่ ายเงิน
• อปท.จะจ่ายเงิน หรื อ ก่อหนี้ผกู พัน ได้แต่เฉพาะที่ กฎหมาย
ระเบียบ ข้อบังคับ หรื อ หนังสื อสัง่ การของกระทรวงมหาดไทย
- การจ่ายเงินจะต้องมีงบประมาณ
- กรณี ที่ อปท.ใช้ขอ้ บัญญัติ/เทศบัญญัติของปี ที่ผา่ นมา ให้
เบิกจ่ายได้เฉพาะรายจ่ายหมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจา ค่าจ้าง
ชัว่ คราว ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค
และจะต้องเป็ นรายการ และ จานวนเงินที่ปรากฏในงบประมาณ
ของปี ที่ผา่ นมาเท่านั้น (ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย
วิธีการงบประมาณฯ ข้อ 7)
Ex.
1. ข้ อหารือ : เทศบาลเป็ นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬา
นักเรี ยน ซึ่งมีคณะกรรมการและเจ้าหน้าที่จดั การแข่งขันฯ
จานวน 760 คน เทศบาลมีความจาเป็ นต้องจัดซื้อวัสดุ
เครื่ องแต่งกาย มอบให้คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ฯ
ได้แก่ ชุดสู ทหรื อชุดซาฟารี พร้อมตราสัญลักษณ์ จานวน
160 ตัว เป็ นเงิน 320,000 บาท และเสื้ อบาติกพร้อม
สัญลักษณ์ จานวน 600 ตัว เป็ นเงิน 33,000 บาท แต่
ระเบียบไม่ได้กาหนดไว้ จึงขออนุมตั ิยกเว้นระเบียบ ฯ
ข้อ 67 ได้หรื อไม่
กรณีนีเ้ ทศบาลไม่สามารถขออนุมตั ิยกเว้นระเบียบฯ ข้อ 67
ได้ เพราะระเบียบฯไม่ได้กาหนดเกี่ยวกับการเบิกจ่าย ค่า
จัดซื้อเครื่ องแต่งกายไว้
และนส.สัง่ การของ มท.กาหนดเครื่ องแต่งกาย ที่ไม่สามารถ
เบิกจ่ายได้ คือ เครื่ องแบบ แบบฟอร์ม ชุดฟาติก และชุด
ประจาท้องถิ่น
2. ข้ อหารือ สตง.ได้ทกั ท้วงเทศบาลเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินค่าจัดซื้อ
เครื่ องหมายประจาตาแหน่งนายกเทศมนตรี (สร้อยสังวาล) 1 เส้น
จานวน 39,000 บาท ว่าไม่มีระเบียบหรื อคาสัง่ เบิกจ่ายได้
เทศบาลชี้แจงว่า ได้เบิกจ่ายเงินตามเทศบาลบัญญัติงบประมาณ
ประจาปี และมีการลงทะเบียนคุมตามระเบียบพัสดุของหน่วยงาน
- จัดซื้อตามกฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2547)
ออกตาม พรบ.เครื่ องแบบเจ้าหน้าที่ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2509
ซึ่งจังหวัดเห็นว่า ตามระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับฯ ข้อ 67 กาหนด ว่า
อปท.จะจ่ายเงินหรื อก่อหนี้ผกู พันได้เฉพาะที่ กม. ระเบียบ ข้อง
บังคับ หรื อหนังสื อ มท.กาหนด
- จึงไม่สามารถเบิกจ่ายได้ ถึงแม้วา่ จะเป็ นการเบิกจ่ายตามเทศ
บัญญัติฯ ที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว
- เป็ นการจัดซื้อเพื่อใช้เฉพาะนายกเทศมนตรี ไม่ก่อให้เกิด
ประโยชน์ต่อส่ วนรวมและหน่วยงาน
ตามกฎกระทรวงฯ กาหนดให้ใช้เครื่ องหมายแสดงประเภท
เช่นเดียวกับเครื่ องแบบปฏิบตั ิราชการ โดยนายกเทศมนตรี เทศบาล
ตาบล ให้มีสายสร้อยสี ทองลงยา ฯ พร้อมดวงตราเครื่ องหมาย
ประจาเทศบาลคล้องคอ ตาม พรบ. เครื่ องแบบเจ้าหน้าที่ส่วน
ท้องถิ่น พ.ศ. 2509 กาหนดว่า “ เครื่ องแบบ ” หมายความว่า
เครื่ องแต่งกายทั้งหลายรวมทั้งเครื่ องหมายต่าง ๆ ตลอดจนสิ่ ง
ประกอบเครื่ องแต่งกายอย่างอื่น ที่กาหนดให้เจ้าหน้าที่ส่วนท้องถิ่น
แต่ง
- ดังนั้น เครื่ องหมายสายสร้อยสี ทองลงยา(สร้อยสังวาล) จึงเป็ น
เครื่ องแบบตาม พรบ.เครื่ องแบบฯ ตาม
1) หนังสื อ มท.ที่ มท 0307/ว 384 ลว. 16 ก.พ. 2536
มีขอ้ ห้ามไม่ให้เบิกจ่ายในกรณี ที่เป็ นเครื่ องแบบฯ
2) ระเบียบ มท.ว่าด้วยวิธีการงบประมาณฯ ข้อ 16 กาหนดว่า
การตั้งงบประมาณให้ทาได้ตามที่มี กม. ระเบียบ ข้อบังคับ คาสัง่
หรื อหนังสื อกระทรวงมหาดไทย กาหนด
3) ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ ข้อ 67 กาหนดว่า อปท.
จะจ่ายเงินหรื อก่อหนี้ผกู พันได้เฉพาะที่ กม. ระเบียบ ข้อบังคับ
คาสัง่ หรื อหนังสื อ มท. กาหนด
•
•
•
•
การจ่ ายเงิน
การจ่ ายเงินให้ แก่ เจ้ าหนีห้ รือผู้มีสิทธิทุกรายการต้ องมีหลักฐาน
การจ่ าย
การจ่ายเงินให้แก่เจ้าหนี้หรื อผูม้ ีสิทธิให้จ่ายเป็ น เช็ค หรื อจัดทา
ใบถอนเงินฝากธนาคาร เพื่อให้ธนาคารออกตัว๋ แลกเงิน
การเขียนเช็คสัง่ จ่ายหัวหน้าหน่วยงานคลัง กรณี ที่มีค่าใช้จ่าย
ที่รวมกันแล้วไม่เกิน สองพันบาท เช่น ค่าใช้จ่ายที่เป็ นค่าน้ า
ค่าไฟ เป็ นต้น
ถ้ าผู้มีสิทธิไม่ สามารถรับเงินด้ วยตนเองได้ ให้ มอบผู้อนื่ รับเงิน
แทน
การเขียนเช็ค
1. กรณีซื้อ/เช่ าทรัพย์ สิน/จ้ างทาของ/อืน่ ๆ
- สั่ งจ่ ายในนามเจ้ าหนี้
- ขีดฆ่ าคาว่ า “หรือตามคาสั่ ง”หรือ “หรือผู้ถือ” ออก
- ขีดคร่ อม
2. กรณีรับเงินสด มาจ่ าย
- สั่ งจ่ ายในนามหัวหน้ าหน่ วยงานคลัง
- ขีดฆ่ าคาว่ า “หรือตามคาสั่ ง” หรือ “หรือผู้ถอื ” ออก
- ห้ ามออกเช็คสั่ งจ่ ายเงินสด
• หากมีการวางฎีกาเพือ่ เบิกจ่ ายให้ กบั ผู้มสี ิ ทธิรับเงินมากกว่ า
หนึ่งคน ให้ มอบฉันทะให้ ผู้ใดผู้หนึ่งรับเงิน
• การมอบฉันทะในการรับเงินฯ ตามหนังสื อกรมการปกครอง
ที่ มท 0313.4 /ว 2131 ลว. 17 กันยายน 2541
กรณีที่ ผู้มีสิทธิรับเงินไม่ สามารถรับเงินด้ วยตนเองได้
มอบให้ ผ้ ูอนื่ เป็ นผู้รับแทน ดังนี้
1. กรณีคณะผู้บริหารท้ องถิน่ ผู้บริหารท้ องถิน่ สมาชิก
สภาท้ องถิน่ พนักงานและลูกจ้ างของ อปท. ผู้รับบานาญหรือ
ข้ าราชการ พนักงานอืน่ ช่ วยปฏิบัตงิ าน มอบฉันทะให้ ผ้อู นื่
เป็ นผู้รับเงินแทน ให้ ออกเช็คในนามของผู้มอบฉันทะ หรือ
ผู้รับมอบฉันทะก็ได้ โดยแสดงเจตนาไว้ ในใบมอบฉันทะ
2. การจ่ ายเงินในกรณีอนื่ นอกจาก 1 หากมีการมอบฉันทะ
ให้ บุคคลอืน่ รับเงินแทน ต้ องเขียนเช็คสั่ งจ่ ายในนาม
ผู้มอบฉันทะ เท่ านั้น
3. ใบมอบฉันทะใช้ ตามแบบที่กาหนด
หลักฐานการจ่าย
หมายถึง หลักฐานซึ่งแสดงว่าได้มี
การจ่ายเงินให้แก่เจ้าหนีีี้หรือผูร้ บั
ตามข้อผูกพันแล้ว
- ใบเสร็จรับเงิน
- ใบสาคัญรับเงิน
- ใบรับรองการจ่ายเงิน
หลักฐานการจ่ ายเงิน
• การจ่ ายเงินทุกรายการ จะต้ องมีหลักฐานการจ่ ายเพือ่
ตรวจสอบ
• กรณีใบสาคัญคู่จ่ายสู ญหาย
- ใบเสร็จรับเงินสู ญหาย ให้ ใช้ สาเนาซึ่งผู้รับเงินรับรอง
แทนได้
- ไม่ อาจขอสาเนาได้ ให้ ผู้จ่ายเงินทาใบรับรองการ
จ่ ายเงิน พร้ อมชี้แจงเหตุผลและใบแจ้ งความ
เสนอผู้บังคับบัญชาอนุมตั ิ
การจ่ ายเงินยืม
การจ่ ายเงินยืม
นายกฯ อนุมัติ
- มีงบประมาณเพื่อการนั้นแล้ว
- ผูย้ มื ได้ทาสัญญา โดยไม่มีการค้างเงินยืมเก่า
ตัวอย่าง ตั้งงบประมาณเพื่อดาเนินโครงการจัดงานลอยกระทง
มีค่าใช้จ่าย ดังนี้
- ค่าตอบแทน เช่น ค่าวิทยากร ฯลฯ เป็ นต้น
- ค่าใช้สอย เช่น ค่าจ้างจัดทาอาหาร ค่าจ้างจัดมหรสพ เป็ นต้น
- ค่าวัสดุ เช่น แผ่นโฟม กระดาษตกแต่งเวที เป็ นต้น
• กรณี โครงการดังกล่าว ให้ผรู้ ับผิดชอบจัดทา
ประมาณการค่าใช้จ่ายที่จาเป็ นเพื่อทาสัญญายืมเงิน
จากโครงการ
• สาหรับค่าใช้จ่ายที่มีการจัดซื้ อหรื อจัดจ้าง ให้ปฏิบตั ิ
ตามระเบียบพัสดุฯ
Ex.
ข้ อหารือ: เทศบาลหารื อแนวทางปฏิบตั ิกรณี การจ้างดนตรี
หรื อจัดให้มีมหรสพในงานประเพณี ต่างๆ ที่เทศบาลจัดขึ้น
หรื อการจ้างเหมายานพาหนะเพื่อทัศนศึกษาดูงาน ถือเป็ น
การปฏิบตั ิราชการอื่นใดตามนัยข้อ 56(2) แห่งระเบียบ
เบิกจ่ายฯ ใช่หรื อไม่ สามารถยืมเงินทดรองจ่ายเพื่อนาไป
เป็ นค่าจ้างให้แก่ผรู ้ ับจ้างหลังเสร็ จสิ้ นงาน ได้หรื อไม่
ความเห็น : หากเทศบาลมีความจาเป็ นจะยืมเงินเพื่อนาไป
ทดรองจ่าย ซึ่ งตามระเบียบฯ ข้อ 84 และ 86 เทศบาล
สามารถยืมเงินทดรองจ่ายได้เฉพาะรายการที่จาเป็ น และ
มีวงเงินงบประมาณเพื่อการนั้นแล้ว และให้นาหลักฐานการ
จ่ายเงินที่ถูกต้องรวมทั้งเงินเหลือจ่าย(ถ้ามี) ส่ งคืนภายใน
ระยะเวลาที่กาหนดเมื่อดาเนินการแล้วเสร็ จ
แต่ตอ้ งไม่ใช่กรณี ที่ตอ้ งมีการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ มท.
ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2535
การกันเงินกรณีก่อหนี้
• ก่ อหนีผ้ ูกพันไว้ก่อนสิ้ นปี โดย สัง่ ซื้อ สัง่ จ้าง หรื อการเช่า
ทรัพย์สิน หมายถึงรายการที่มีคู่สญ
ั ญา สามารถกันเงินได้ทุก
หมวด
- เบิกเงินไม่ทนั ขอกันเงินต่อผู้บริหารท้ องถิน่ ให้เบิกได้อีก
ภายในปี งบประมาณถัดไป
- ขอขยายเวลาต่อสภาท้ องถิ่นได้ อกี หก เดือน
Ex.
ข้ อหารือ : อบต.ได้ทาสัญญาจ้างก่อสร้างประปาหมู่บา้ น
เป็ นเงิน 890,000 บาท ในปี งบประมาณ 2551 และได้กนั เงิน
ไว้เบิกจ่ายในปี ถัดไป ต่อมาได้ตรวจสอบพบว่า หนังสื อ
รับรองผลงานเป็ นฉบับปลอม จึงบอกเลิกสัญญาจ้างและ
ริ บหลักประกันสัญญา หารื อว่า
- งบประมาณดังกล่าวจะตกเป็ นเงินสะสมหรื อไม่
- หาก อบต.มีความจาเป็ นต้องจัดจ้างตามโครงการ
ดังกล่าวอีกในปี งบประมาณ 2552 จะดาเนินอย่างไร
ความเห็น : รายจ่ายดังกล่าวได้มีการกันเงินไว้เบิกจ่ายในปี
ถัดไปตามระเบียบ ฯ ข้อ 57 แล้ว แม้จะบอกเลิกสัญญาจ้าง
ดังกล่าว โดยมิได้เบิกจ่ายงบประมาณตามวัตถุประสงค์เดิม
งบประมาณดังกล่าวก็ยงั ไม่ตกเป็ นเงินสะสม และหาก อบต.
มีความจาเป็ นต้องจัดจ้างตามโครงการดังกล่าวอีกใน
ปี งบประมาณ 2552 ก็สามารถดาเนินการต่อไปได้
การกันเงินกรณีไม่ ก่อหนี้
• เฉพาะรายจ่ ายหมวดค่ าครุภณ
ั ฑ์ ทดี่ นิ และสิ่ งก่ อสร้ าง
ตั้งงบประมาณแล้ วยังไม่ ได้ ก่อหนีผ้ ูกพัน และมีความจาเป็ นต้ อง
ใช้ จ่ายต่ อไปให้ ขออนุมัตกิ นั เงินต่ อสภาท้ องถิน่
- หากยังไม่ได้ดาเนินการให้ขอขยายเวลาเบิกจ่ายต่อสภาท้ องถิ่นได้
อีก 1 ปี งบประมาณ
- ต้องการจะเปลี่ยนแปลงรายการที่ทาให้ ลักษณะ ปริ มาณ คุณภาพ
เปลี่ยน หรื อ เปลี่ยนแปลงสถานที่ให้ขออนุมตั ิต่อสภาท้ องถิน่ โดยให้ขอ
อนุมตั ิท้ งั เปลี่ยนแปลงและขยายเวลา
รายการทีข่ อกันจะมีกาหนดระยะเวลาทั้งสิ้น ดังนี้
- ปี ที่ต้ งั งบประมาณแล้วไม่ได้ดาเนินการ
- ปี ที่ สอง ขอขยายเวลา และหรื อขอเปลี่ยนแปลง
- เมื่อขอเปลี่ยนแปลงแล้วได้รับให้ดาเนินการอีก หนึ่งปี
**เมื่อครบระยะเวลาแล้ วยังไม่ ได้ ดาเนินการเงินตกเป็ นเงิน
สะสม หรือ ดาเนินการแล้ วมีเงินเหลือเงินดังกล่ าว
ตกเป็ นเงินสะสม
Ex.
ข้ อหารือ : เทศบาลได้ขออนุมตั ิยกเว้นการปฏิบตั ิตาม
ระเบียบฯ ข้อ 59 โดยเทศบาลได้ต้ งั งบประมาณปี 2549
โครงการก่อสร้างอาคารสานักงานเทศบาล และได้กนั เงิน
กรณี ไม่ได้ก่อหนี้ผกู พันไว้ 1 ปี ต่อมาได้ทาสัญญาในปี 2550
สัญญาสิ้ นสุ ดวันที่ 1 เม.ย. 2551 และได้ขยายระยะเวลา
เบิกจ่ายอีก 1 ปี เนื่องจากโครงการดังกล่าวยังดาเนินการไม่
แล้วเสร็ จและขอขยายสัญญาไปอีก 180 วัน สิ้ นสุ ดสัญญาจ้าง
28 ก.ย. 2551 เทศบาลหารื อว่าจะขอยกเว้นการปฏิบตั ิตาม
ระเบียบฯ ไปอีก 1 ปี งบประมาณ ได้หรื อไม่
1. ตามระเบียบฯ ข้อ 59 กาหนดการกันเงินกรณี
ไม่ก่อหนี้ผกู พัน เฉพาะหมวดค่าครุ ภณ
ั ฑ์ที่ดินและ
สิ่ งก่อสร้าง หากมีความจาเป็ นจะต้องใช้เงินนั้นต่อไป
ก็ขออนุมตั ิจากสภาท้องถิ่น ให้ขยายได้อีกไม่เกิน 1
ปี งบประมาณ เพื่อให้ อปท.รี บดาเนินการหาผูร้ ับจ้าง
2. เมื่อเทศบาลได้ก่อหนี้ผกู พันในปี งบประมาณ 2550
เทศบาลมีหน้าที่ตอ้ งผูกพันตามสัญญาจนกว่าจะแล้วเสร็ จ
โดยไม่จาเป็ นต้องกันเงินต่อสภาท้องถิ่นอีกครั้ง หากเบิกจ่าย
เงินไม่ทนั ภายในปี งบประมาณอีก เทศบาลจะต้องกันเงินไป
จ่ายในปี ถัดไป โดยได้รับอนุมตั ิจากผูบ้ ริ หารท้องถิ่นตาม
ระเบียบฯ ข้อ 39
เงินสะสม
• ทุกสิ้ นปี เมื่อปิ ดบัญชีรายรับ รายจ่าย แล้ว ให้กนั เงิน 25 %
เพื่อเป็ นทุนสารองเงินสะสม (ข้อ 87)
• อปท.สามารถใช้จ่ายเงินทุนสารองเงินสะสมได้ ดังนี้
1.กรณี ที่ยอดเงินสะสม มีเหลือไม่เพียงพอต่อการบริ หาร
ต้องขอความเห็นชอบจากสภาท้องถิ่นและขออนุมตั ิจาก
ผวจ.
2 .ปี ใดมียอดเงินทุนสารองเงินสะสมเกินร้อยละ 25 ของ
งบประมาณประจาปี นั้น สามารถใช้ได้ตามเงื่อนไข ข้อ 89
Ex.
ข้ อหารือ : เทศบาลขอใช้ จ่ายเงินทุนสารองเงินสะสม เพือ่
จ่ ายเป็ นค่ าเบีย้ ยังชีพให้ แก่ ผู้สูงอายุ ผู้พกิ าร ผู้ป่วยเอดส์ ฯ
ซึ่งเป็ นรายการทีต่ ้งั จ่ ายไว้ ในเทศบัญญัตงิ บประมาณปี 2551
เนื่องจากเทศบาลมีรายได้ ไม่ เป็ นไปตามทีป่ ระมาณการไว้
ไม่ มีเงินเพียงพอทีจ่ ะจ่ ายให้ แก่ ผู้สูงอายุฯ จึงไม่ ได้ เบิกจ่ าย
รายจ่ ายดังกล่ าวจึงพับไป เทศบาลสามารถขอใช้ เงินทุน
สารองเงินสะสมตามระเบียบฯ ได้ หรือไม่
ความเห็น :
1. รายการดังกล่ าวตั้งจ่ าย โดยตราไว้ ในเทศบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ ายประจาปี 2551 แต่ รายได้ ไม่ เข้ า ทาให้ ไม่ มี
เงินเพียงพอทีจ่ ะจ่ ายเป็ นเบีย้ ยังชีพให้ แก่ ผู้สูงอายุฯ
รายการดังกล่ าวจึงเป็ นอันพับไป
2. เนื่องจากล่ วงเลยเข้ าปี งบประมาณ 2552 แล้ ว แต่ จาเป็ น
ต้ องจ่ ายเงินเบีย้ ยังชีพผู้สูงอายุฯ เนื่องจากกระทบสิ ทธิของ
บุคคลภายนอก
ดังนั้น เทศบาลสามารถขอทาความตกลงกับ ผวจ. ตาม
ระเบียบฯ ข้ อ 4 ประกอบคาสั่ ง มท.ที่ 181/2548 ลว.29 มี.ค. 2548
เพือ่ ยกเว้ นการปฏิบัติตามระเบียบฯ ข้ อ 39 โดยขอนาค่ าใช้ จ่าย
ดังกล่ าวมาเบิกจ่ ายจากงบประมาณปี 2552 รายจ่ าย งบกลาง
ประเภทรายจ่ ายตามข้ อผูกพัน
3.หรืออาจใช้ จ่ายจากเงินสะสม หรือเงินทุนสารองเงินสะสม
ทั้งนี้ กรณีการใช้ เงินทุนสารองเงินสะสม จะต้ องใช้ จ่ายกรณีที่มี
ความจาเป็ นและมีเงินสะสมไม่ เพียงพอต่ อการบริหาร โดยขอทา
ความตกลงกับ ผวจ.ตามระเบียบฯ ข้ อ 4 ประกอบคาสั่ ง มท.
ข้ างต้ น เพือ่ ใช้ จ่ายเงินทุนสารองเงินสะสม ข้ อ 87
• ข้ อ 88 งบประมาณประจาปี มีผลบังคับใช้ แล้ ว ในระยะ 3 เดือนแรก
รายได้ ยงั ไม่ ได้ เข้ ามาหรือมีไม่ เพียงพอ
- สามารถเบิกจ่ ายได้ ทุกหมวด ทุกรายการ โดยเบิกจ่ ายล่ วงลา้
เงินสะสมได้ และบันทึกบัญชีเป็ นค่ าใช้ จ่ายปกติ
- กรณีทเี่ ป็ นรายจ่ ายทีจ่ ่ ายจากเงินอุดหนุนทีร่ ัฐบาลระบุ
วัตถุประสงค์ ได้ รับแจ้ งยอดจัดสรรแล้ ว ยังไม่ ได้ รับโอนเงิน ให้ ยมื
เงินสะสมทดรองจ่ ายไปก่ อน
ปัญหา
1. กรณีงบประมาณรายจ่ ายประจาปี ยังไม่ ได้ รับอนุมัติ
ให้ ใช้ งบประมาณปี ทีล่ ่ วงมาแล้ วไปพลางก่ อน + งบประมาณ
เพิม่ เติมทีม่ ีการโอนเพิม่ และลดรวมเข้ าด้ วยกัน ใช้ ได้ เฉพาะ
หมวดเงินเดือน+ค่ าจ้ างประจา หมวดค่ าจ้ างชั่วคราว หมวด
ค่ าตอบแทน ใช้ สอยและวัสดุ และหมวดค่ าสาธารณูปโภค
(ระเบียบมท.ว่ าด้ วยการงบประมาณฯ ข้ อ 7)
2. กรณีระยะเวลาสามเดือนแรกของปี งบประมาณ จัดเก็บ
รายได้ ไม่ เพียงพอทีจ่ ะดาเนินการ
รายได้ ดงั กล่ าวรวมเงินอุดหนุนทัว่ ไปหรือไม่
เงื่อนไขการจ่ ายขาดเงินสะสม โดยขออนุมัติจากสภาท้ องถิ่น
(ข้ อ 89) ดังต่ อไปนี้
(1) เฉพาะกิจการที่อยูใ่ นอานาจหน้าที่ของ อปท. เกี่ยวกับ
- ด้านการบริ การชุมชนและสังคม
- กิจการที่เป็ นการเพิ่มพูนรายได้ของ อปท.
- กิจการที่จดั ทาเพื่อบาบัดความเดือดร้อนของประชาชน
ทั้งนี้ ต้องอยูใ่ นแผนพัฒนาของ อปท.
(2) สมทบกองทุนส่ งเสริ มกิจการของ อปท. แต่ละประเภทตามระเบียบ
(3) ต้องดาเนินการก่อหนี้ผกู พันให้เสร็ จสิ้ นภายในหนึ่งปี ถัดไป หาก
ไม่ดาเนินการตามระยะเวลาที่กาหนดเงินสะสมจานวน
ดังกล่าวนั้น ต้องพับไป
Ex.
1.ข้ อหารือ : เทศบาลได้ ทาสั ญญาก่ อสร้ างปรับปรุงถนน
จานวน 7,498,000 บาท แต่ ขออนุมัตกิ นั เงินไว้ เพียง จานวน
7,335,000 บาท ซึ่งต่ากว่ าเงินที่จะต้ องจ่ ายให้ กับผู้รับจ้ าง
ตามสั ญญา จานวน 163,000 บาท จึงขอคืนเงินรายรับใน
ลักษณะทีเ่ ป็ นเงินค่ าจ้ างตามสั ญญาจ้ างดังกล่ าวตามระเบียบ
มท.ว่ าด้ วยการรับเงินฯ ข้ อ 94 ได้ หรือไม่
ความเห็น : การขอกันเงินไว้ ต่ากว่ าจานวน เงินตามสั ญญาจ้ าง
ทาให้ เงินตกเป็ นสะสม จึงไม่ สามารถเบิกจ่ ายเงินให้ กับผู้รับจ้ าง
ได้ ซึ่งรายจ่ ายดังกล่ าวมิใช่ เงินรายรับของเทศบาลที่จะสามารถ
ขอคืนเงินตามระเบียบฯ ข้ อ 94 ได้ แต่ กรณีดงั กล่ าว มีผลกระทบ
กับผู้รับจ้ างซึ่งเป็ นบุคคลภายนอก เทศบาลสามารถขอทาความ
ตกลงกับ ผวจ.ตามระเบียบฯ ข้ อ 4 ประกอบคาสั่ ง มท 181/2548
ลว.29 มี.ค.2548 เพือ่ ยกเว้ นการปฏิบัตติ ามระเบียบฯ ข้ อ 89
นาเงินสะสมมาเบิกจ่ ายให้ กบั ผู้รับจ้ างให้ ครบตามสั ญญา
2. ข้อหารือ: เทศบาลมีความประสงค์
จะจ่ายขาดเงินสะสมตามระเบียบ มท.
ว่าด้วยการรับเงิน ฯ ข้อ 89(1) เพื่อ
ก่อสร้างสานักงานเทศบาล ซึ่งอยู่ใน
แผนพัฒนาท้องถิ่นสามปี และสภา
เทศบาลมีมติเห็นชอบแล้ว โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อให้บริการประชาชน
ความเห็น :
- ตัง้ เป็ นรายจ่ายในเทศบัญญัติ
ประจาปี
- หากตัง้ งบประมาณไว้ไม่เพียงพอก็
อาจใช้จ่ายเงินสะสมตามระเบียบได้
และต้องอยู่ในแผนพัฒนา อปท.ด้วย
3. ข้อหารือ : เทศบาลได้ดาเนินการ
ก่อสร้างศูนย์ส่งเสริมสุขภาพผูส้ งู อายุ
งบประมาณ 1,988,700 บาท โดยตัง้
งบประมาณปี 2551 จานวน 1,100,000 บาท
และขออนุมตั ิ ใช้จ่ายเงินสะสม จานวน
888,700 บาท ซึ่งได้รบ
ั อนุมตั ิ จากสภา
ท้องถิ่นแล้ว แต่มีผรู้ ้องเรียนว่าการใช้
จ่ายเงินสะสมไม่ชอบด้วยระเบียบฯ
ความเห็น : กรณีทเี่ ทศบำลไดรั้ บอนุมตั ใิ ห้ใช้
จำยเงิ
นสะสมตำมระเบียบ มท.วำด
่
่ วยกำร
้
ำง
รับเงินฯ ขอ
่ สมทบเป็ นคำก
่
้ 89(1) เพือ
่ อสร
้
ศูนยส
์ ่ งเสริมสุขภำพผูสู
้ งอำยุ จำนวน
888,700 บำท โดยสมทบกับเงินงบประมำณ
ั จ
ิ ำกสภำท้องถิน
่ ไดรั
ทีต
่ ง้ั ไว้ เมือ
่ แลว
้ บอนุ มต
้
ก็สำมำรถใช้เงินสะสมไดโดยไม
ตรำเป็
น
้
่
งบประมำณรำยจำย
ทัง้ นี้ เป็ นไปตามระเบียบ
่
มท.ว่าด้วยวิธีการงบประมาณของ อปท. พ.ศ. 2541 ข้อ 36 วรรค
สอง ที่กาหนดการใช้จ่ายเงิน ที่จ่ายจากเงินสะสม ที่มีลกั ษณะให้
อปท.ดาเนินการตามที่ระบุไว้เป็ นการเฉพาะโดยไม่มีเงื่อนไข ให้
ดาเนินการตามที่ได้ระบุไว้ โดยไม่ตอ้ งตราเป็ นเงินงบประมาณฯ
4.ข้อหารือ : อบต.ได้มีมติอนุมต
ั ิ ให้จ่าย
ขาดเงินสะสม จานวน 800,000 บาทตาม
ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ ข้อ
89(1) และระเบียบ มท.ว่าด้วยการพัสดุ
ของ อบต. พ.ศ. 2538 ข้อ 18 เพื่อ
ดาเนินการจ้างเหมาจัดทาแผนที่ภาษี
โดยวิธีพิเศษ ได้หรือไม่
ความเห็น :
1.กรณีสภำทองถิ
น
่ ไดมี
ั ใิ ห้จำย
้
้ มติอนุ มต
่
ขำดเงินสะสมตำม ระเบียบฯ ขอ
้ 89(1)
จะตองเป็
นกรณีทอ
ี่ ยูในอ
ำนำจหน้ำทีข
่ อง
้
่
อบต.ตำมเงือ
่ นไขของระเบียบและตองอยู
ใน
้
่
แผนพัฒนำ อบต.
ดังนั้น กำรจำยขำดเงิ
นสะสมจ้ำงเหมำ
่
จัดทำแผนทีภ
่ ำษีและทะเบียนทรัพยสิ์ น ก็
สำมำรถดำเนินกำรได้
2. สาหรับกรณีจด
ั หำพัสดุโดยวิธพ
ี เิ ศษตำม
ระเบียบ มท. วำด
สดุฯ พ.ศ. 2538
่ วยกำรพั
้
และทีแ
่ กไขเพิ
ม
่ เติม ขอ
น
้
้ 18(1) จะตองเป็
้
5.ข้อหารือ : ปปท. ไดมี
่ งรองเรี
ยน
้ มติส่งเรือ
้
นำยกเทศมนตรีวำกระท
ำควำมผิดฐำนทุจริต
่
ในหน้ำที่ กระทำผิดตอต
่ ำแหน่งหน้ำที่
โดยกำรใช้จำยเงิ
นสะสม จำนวน 6,000,000
่
บำท นำไปซือ
้ สลำกออมทรัพยทวี
์ สิน โดย
ไมได
น
่ ทรำบ
่ แจ
้ ้งให้ฝ่ำยสภำทองถิ
้
โดยผูถู
ยน อำงว
ทไี่ มได
้ กรองเรี
้
้ ำเหตุ
่
่ แจ
้ ้ง
ขอควำมเห็ นชอบและขออนุ มต
ั จ
ิ ำกสภำ
ทองถิ
น
่ เนื่องจำกเชือ
่ วำไม
ได
้
่
่ เป็
้ นกำรจำย
่
ขำดเงินสะสม แตเป็
่ นกำรถอนเงินจำก
ธนำคำรแหงหนึ
่งไปฝำกทีธ่ นาคารอีกแห่งหนึ่ง
่
จำนวนเงินยังอยูครบถ
วน
จึงหารื อว่าเทศบำล
่
้
ความเห็น :
นสะสมนั้น เป็ น
กำรใช้จำยเงิ
่
กำรนำเงินสะสมออก จำกบัญชี เพือ
่ ไปใช้
จำยตำมวั
ตถุประสงค/ตำมเงื
อ
่ นไขทีก
่ ำหนด
่
์
ไวตามระเบี
ยบ สำหรับกรณีที่เทศบำลได้
้
ดำเนินกำรนำเงินจำกบัญชีออมทรัพย ์ ซึง่
เป็ นบัญชีเงินสะสมของเทศบาลไปฝำกในบัญชี
ออมทรัพยประเภทมี
รางวัล(สลากออมทรัพย์ทวีสิน) เป็ น
์
เพียงเปลีย
่ นแปลงแหลงกำรฝำกเงิ
น และ
่
ประเภทบัญชีเงินฝำก ไมได
่ เป็
้ นกำรใช้
จำยเงิ
นสะสมตำมระเบียบ แตมี
่
่ ขอสั
้ งเกตวำ่
กำรฝำกเงินบัญชีออมทรัพย ์ ประเภทมี
รำงวัล ซี่งมีระยะเวลำฝำก 3 ปี อัตรำ
ดอกเบีย
้ และผลตอบแทนทีไ่ ดรั
้ บจะน้อยกวำ่
อัตรำดอกเบีย
้ เงินฝำกประจำ 3 ปี โดยปกติ
• ข้ อ 90 งบประมาณประกาศใช้ บังคับแล้ ว มีงบประมาณ
ไม่ เพียงพอให้ จ่ายขาดเงินสะสมได้ กรณีดงั นี้
1.รับ โอน เลื่อนระดับ เลื่อนขั้นเงินเดือนนั้น
2.เบิกเงินให้ผบู้ ริ หารท้องถิ่น พนักงานท้องถิ่น
(รวมลูกจ้างด้วย) ที่มีสิทธิ ในระหว่างปี งบประมาณ
3.ค่าใช้จ่ายตาม (1) และหรื อ (2) ให้ถือเป็ นรายจ่ายใน
ปี งบประมาณนั้น
สาธารณภัยเกิดขึน้
• ในกรณี ฉุกเฉิ นที่สาธารณภัยเกิดขึ้น (บรรเทาเหตุการณ์ที่เกิด
ขึ้นในขณะนั้น) อปท.สามารถจ่ายขาดเงินสะสมได้
- อานาจของผูบ้ ริ หารท้องถิ่นตามความจาเป็ นในขณะนั้น
- ให้คานึงถึงฐานะการคลังของ อปท.
(ฉุกเฉิ น หมายความว่า เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยปั จจุบนั
ทันด่วน และจาเป็ นต้องแก้ไขโดยฉับพลัน)
เงินสะสมตามบัญชี ประกอบด้ วย
- ลูกหนีค้ ่ าภาษีต่าง ๆ
- ลูกหนีเ้ งินยืมเงินสะสม
- ทรัพย์สินต่ าง ๆ
ปี ก่ อน ๆ
ประจาปี
เงินสะสม
เงินสะสมพิสูจน์ ยอดแล้ ว
ทุนสารองเงินสะสม 60
100
เงินสะสม
(ข้ อ 88)
กองคลัง
20
25%
(บริหาร)
บริหารเงิน
75%
- สามเดือนแรก
- อุดหนุนยังไม่ ได้ รับเงิน
45
รับ – จ่ าย
200 - 120
75%
25%
80
หากเงินสะสม 75% ไม่ พอ
(ข้ อ 89)
135
สภาอนุมัติ
บริหารตามอานาจหน้ าที่
ใช้ จ่ายภายในปี งบประมาณถัดไป
ผู้บริหารท้ องถิ่น(อนุมัต)ิ
เกิน 25% งบประมาณประจาปี
(ข้ อ 90) สิทธิประโยชน์
(ข้ อ 91) ฉุกเฉิน
ส่ วนทีเ่ กินจ่ ายเงินสะสมเพิม่ ได้
สภาเห็นชอบ
อนุมตั ิ
ผู้ว่าราชการจังหวัด
การถอนคืนเงิน รายรับ
- การรับชาระภาษีโดยไม่ถูกต้อง
- ค่าขายเอกสารกรณี มีการยกเลิกการประกวดราคาและไม่มี
การพิจารณาใหม่
- เงินที่ได้รับชดใช้ไว้เกินความรับผิดให้ขอคืนในกาหนดอายุ
ความ
วิธีปฏิบัติเกีย่ วกับการถอนคืนเงินรายรับ
• ขอคืนภายในปี งบประมาณ
- จัดทาฎีกาเงินนอกงบประมาณ-ลดยอดเงินในทะเบียน
รายรับ
เดบิท บัญชีรายรับ
XXX
เครดิต บัญชีเงินฝากธนาคาร
XXX
• ขอเงินคืนภายหลังปี งบประมาณ
- ตรวจสอบ และขออนุมตั ิสภาท้องถิ่นเพื่อจ่ายจากเงินสะสม
- จัดทาฎีกาเงินนอกงบประมาณ
เดบิท บัญชีเงินสะสม XXX
เครดิต บัญชีเงินฝากธนาคาร XXX
Ex.
ข้ อหารือ : มติ ครม.เมื่อวันที่ 17 มิ.ย. 2551 เห็นชอบมาตรการ
ช่ วยเหลือผู้ประกอบอาชีพงานก่ อสร้ างฯ ให้ ผู้ประกอบการยืน่ คา
ขอคืนเงินค่ าปรับภายใน 6 เดือนนับแต่ วันที่ ครม.มีมติ แต่
เนื่องจากระเบียบ มท.ว่ าด้ วยการรับเงินฯ และหนังสื อสั่ งการ
ไม่ ได้ กาหนดแนวทางการคืนเงินค่ าปรับตามมติ ครม. จึงขอ
ทราบว่ ามีแนวทางกาหนดอย่ างไร
ความเห็น: ระเบียบดังกล่ าว ข้ อ 94 มิได้ กาหนดการถอนคืน
เงินรายรับ กรณีเงินค่ าปรับไว้ หากเทศบาลต้ องการขอคืนเงิน
ค่ าปรับทีร่ ับเป็ นรายรับให้ กบั ผู้รับจ้ าง จะต้ องขอทาความตกลง
กับ ผวจ.ยกเว้ นการปฏิบัตติ ามระเบียบฯ ข้ อ 4 ประกอบคาสั่ ง
มท.ที่ 181/2548 ลว.29 มี.ค. 2548 ตามข้ อ 94 โดยขอคืนเงิน
รายรับในลักษณะเป็ นเงินค่ าปรับดังกล่าวให้ ปฏิบัตติ าม ข้ อ 95
และ 96 ให้ ตรวจสอบเหตุผลความจาเป็ นในการถอนคืนเงิน
รายรับทีน่ าส่ งเป็ นเงินรายรับทีน่ าส่ งแล้ ว
การจาหน่ายหนี้สูญ
หลักการพิจารณา ต้องเป็ นไปตามเงื่อนไข ดังนี้
- เกิน 10 ปี
- เร่ งรัดติดตาม และเป็ นบุคคลล้มละลาย
- สาบสูญ
- ผูบ้ ริ หารเห็นชอบ
- สภาท้องถิ่นอนุมตั ิ
หลักเกณฑ์ การจาหน่ ายหนีส้ ู ญ การลดยอดลูกหนีค้ ้ างชาระ
และวิธีการบันทึกบัญชีของอปท.(มท 0808.4/ว 4772 ลว. 23 ธ.ค.52)
1. การจาหน่ ายหนีส้ ู ญ
1.1 จาหน่ายหนี้สูญจากบัญชีหนี้สูญ ได้รับความเห็นชอบจาก
ผูบ้ ริ หารท้องถิ่นและได้รับอนุมตั ิจากสภาท้องถิ่น
1.2 หลักเกณฑ์
- สารวจลูกหนี้คา้ งชาระฯ พร้อมจัดทาทะเบียนลูกหนี้ฯ
- ได้เร่ งรัดการชาระหนี้แล้ว ไม่สามารถจัดเก็บได้ (ล้มลาย
ยากจน ไม่มีทรัพย์สินฯ หรื อด้วยเหตุอื่น)
- ภาษีบารุงท้ องที่ ที่คา้ งชาระเกินกว่า 10 ปี ผวจ.มีอานาจ
จาหน่าย ในเขตเทศบาลและอบต.ได้ตามหนังสื อกระทรวงมหาดไทย
ที่ มท 0310.3/ว 2306 ลว14 ก.ค. 49 และ มท 0310.3/ว 33167 ลว.11
ก.ย. 49
2. การลดยอดลูกหนีค้ ้ างชาระ (จัดเก็บข้ อมูลผิดพลาดฯ)
- เก็บข้อมูลลูกหนี้คา้ งชาระโดยไม่มีมูลหนี้หรื อจัดเก็บข้อมูล
ผิดพลาด และบันทึกบัญชีไว้แล้ว ให้ปรับตามความเป็ นจริ งได้ โดย
เสนอผูบ้ ริ หารท้องถิ่นอนุมตั ิ และแจ้งสภาท้องถิ่นทราบ
3. วิธีการบันทึกบัญชี เมื่อได้รับอนุมตั ิให้จาหน่ายหนี้สูญ/ลดยอด
ลูกหนี้คา้ งชาระแล้ว
3.1 ปรับลดยอดลูกหนี้ โดยจัดทาใบผ่านรายการบัญชีทวั่ ไป
เดบิท บัญชีสะสม
XXX บาท
เครดิต บัญชีลูกหนี้คา้ งชาระ(ประเภทที่ได้รับอนุมตั ิ XXX บาท
3.2 ลงทะเบียนให้ตรงกับที่ได้รับอนุมตั ิแล้วแต่กรณี ด้วยหมึกสี แดง
ข้อหารื อ : เทศบาลได้นาพื้นที่ตลาด ที่เป็ นทรัพย์สินของเทศบาล
เปิ ดให้ประชาชนขายสิ นค้า มีสญ
ั ญาเช่า 3 ปี ปรากฏว่ามีผเู ้ ช่าค้าง
ชาระค่าเช่า เทศบาลจึงบอกเลิกสัญญาเช่ากับผูค้ า้ งชาระทุกราย
แต่กลุ่มผูเ้ ช่าได้ร้องขอความเป็ นธรรมต่อเทศบาล
เทศบาลจะขอดาเนินการ ดังนี้
- ยกเลิกสัญญาเช่ากับผูค้ า้ งชาระค่าเช่า ได้หรื อไม่
- สามารถจาหน่ายหนี้สูญได้หรื อไม่
ตามระเบียบฯ ข้อ 97 กาหนดกรณี ที่มิอาจเก็บหนี้จากลูกหนี้ที่คา้ ง
ชาระเกินกว่า 10 ปี ขึ้นไป ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่งและได้เร่ งรัดติดตามแล้ว/
ลูกหนี้ตาย/สาบสูญฯ ให้จาหน่ายได้ โดยความเห็นชอบจากผูบ้ ริ หารฯ
และขออนุมตั ิสภาท้องถิ่น
ความเห็น :
1. เทศบาลมีสิทธิที่จะทาการตกลงกับผูเ้ ช่าตามประมวล
กม.แพ่งและพาณิ ชย์ โดยไม่ทาให้เทศบาลเสี ยประโยชน์ เช่น ทาการ
ตกลงผ่อนชาระ เนื่องจากค่าเช่าดังกล่าวเกิดจาการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพย์สินของเทศบาลที่ผเู ้ ช่าได้ทาสัญญาเช่าตามระเบียบ มท.ว่าด้วย
การจัดหาประโยชน์ในทรัพย์สินของ อปท. พ.ศ. 2543 ข้อ 15 เมื่อ
ผูเ้ ช่าผิดสัญญาเช่า เทศบาลจึงมีสิทธิเรี ยกร้องตามสัญญาเช่าที่กาหนด
ไว้ได้
2. เทศบาลไม่สามารถจาหน่ายหนี้สูญได้ เนื่องจากไม่เข้า
หลักเกณฑ์การจาหน่ายหนี้สูญฯ ตามระเบียบฯ ข้อ 97
การจัดทารายงาน
•
•
•
•
•
รายงานการเงิน เป็ นการประมวลตัวเลขการรับ-จ่าย
จัดทาเพื่อให้ทราบถึงการรับ - จ่ายเงินของส่ วนราชการ
ควบคุมมิให้มีการจ่ายเงินเกินงบประมาณรายจ่าย
สามารถพิจารณาผลการปฏิบตั ิงาน
ประเมินประสิ ทธิภาพและสมรรถภาพในการปฏิบตั ิงานของ
เจ้าหน้าที่
การตรวจเงิน
• กาหนดให้ อปท.ต้ อง
จัดทาบัญชีและทะเบียนรายรับ-รายจ่าย
• ให้ หัวหน้ าหน่ วยงานคลัง
ทารายงานแสดงรายรับ –รายจ่าย
- ผู้บริหารเพือ่ ทราบ และส่ งสาเนา ผวจ.
- กรณี อบต.ให้ ส่งสาเนา นอ.
• จัดทางบแสดงฐานะการเงิน และงบอืน่ ๆ
• หาก อปท.ได้ รับการทักท้ วงจาก สตง.ให้ ปฏิบัตติ ามคา
ทักท้ วงโดยเร็ว อย่ างช้ าไม่ เกิน 45 วัน นับจากวันที่ได้ รับแจ้ ง
ข้ อทักท้ วงนั้น
• ในกรณีที่ อปท.ชี้แจงข้ อทักท้ วงไปยัง สตง.แล้ ว แต่ สตง.
ยืนยัน ว่ ายังไม่ มีเหตุผลทีจ่ ะล้ างข้ อทักท้ วงและยังยืนยันข้ อ
ทักท้ วงเดิม ให้ อปท.ชี้แจงเหตุผลและรายงานให้ ผวจ.
วินิจฉัยภายใน 15 วันนับจากวันที่ได้ รับคายืนยันจาก สตง.
และให้ ผวจ.แจ้ งผลการวินิจฉัยภายใน 30 วันนับจากวันที่
ได้ รับรายงานจาก อปท.
จบ...
ั
ตอบข้อซกถำม
สว ัสดีคะ่ !
สานักบริหารการคลังท้ องถิน่
กรมส่ งเสริมการปกครองท้ องถิน่
โทร. 0-2241-9000 ต่ อ 1607